๑ บทที่ ๑ ข้อมูลท่ัวไป ช่อื สถาบัน วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท (Boromarajonani College of Nursing, Chainat) สังกดั สถาบนั พระบรมราชชนก (Praboromarajchanok Institute for Health Work force Development: PIHWD) ความหมายของตราสญั ลักษณส์ ถาบันพระบรมราชชก ตราสญั ลกั ษณเ์ ครอ่ื งหมายของสถาบันพระบรมราชชนก เป็นรูปทรงดอกบวั ดา๎ นบน เป็นพระมหามงกุฎสีทอง มอี ักษรยํอ “ม”สีฟาู ขลบิ ทอง อนั หมายถงึ พระนามาภิไธยของสมเด็จ พระมหติ ลาธเิ บศรอดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก ต้งั อยํูบนดอกบัวรปู ทรงกลมสีชมพู ภายในมีตราสัญลักษณข์ องกระทรวงสาธารณสุขสที องอยํูบนพื้นสฟี าู ซง่ึ เปน็ สีประจาวัน พระราชสมภพหมายถงึ การศึกษา การพฒั นาบคุ ลากร ด๎านลาํ งมีแพรแถบสีฟูาโดยมีชื่อสถาบนั พระบรมราชชนกอยูํในแพรแถบ
๒ ตราสัญลักษณข์ องวิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชยั นาท เครอื่ งหมาย พระนามาภิไธยยอ่ สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี (ส.ว.) สภาพทางกายภาพ ทตี่ ัง้ เลขท่ี ๒๔๘ หมูํท่ี ๖ ถนนชยั นาท-สงิ หบ์ รุ ี ตาบลชยั นาท อาเภอเมอื ง จงั หวัดชยั นาท ๑๗๐๐๐ โทรศพั ท์ (๐๕๖) ๔๐๕๕๘๙ โทรสาร (๐๕๖) ๔๐๕๕๙๙ E–mail address: www.bcnchainat.ac.th อาณาเขต พืน้ ท่ปี ระมาณ 67 ไรํ มเี ขตติดตํอดังนี้ ทศิ เหนอื ถงึ คนั ถนนหนวํ ยงานชลประทานบรมธาตุ ทศิ ใต๎ ถงึ ทสี่ าธารณประโยชน์ ทศิ ตะวนั ออก ถงึ วดั สํองคบ ทศิ ตะวันตก ถงึ ถนนสายชยั นาท-สิงห์บุรี ประวัตวิ ทิ ยาลัย วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท เรมิ่ เปดิ ดาเนนิ การเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ เดิมช่อื โรงเรยี นผู้ชว่ ยพยาบาลและผดุงครรภ์ ตั้งอยู่บรเิ วณโรงพยาบาลชัยนาท ตาบลบ้านกลว้ ย อาเภอเมือง จงั หวัดชยั นาท มเี นือ้ ที่ ๙ ไรเ่ ศษ เปิดสอนนกั ศกึ ษาหลักสตู รผชู้ ่วยพยาบาลและ ผดงุ ครรภ์ ปี พ .ศ. ๒๕๒๓ ได้รบั การยกระดับเปน็ วทิ ยาลัยพยาบาล และเปล่ยี นชื่อเปน็ วทิ ยาลัย พยาบาลชัยนาท สงั กัดกองงานวทิ ยาลยั พยาบาล เปิดสอนนกั ศึกษาหลักสูตรการพยาบาลและ ผดุงครรภ์ ระดับต้น และหลกั สูตรการพยาบาลและผดงุ ครรภ์ (เฉพาะกาล)
๓ ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ เปิดสอน หลกั สตู รประกาศนียบัตพรยาบาลศาสตร์ ซง่ึ มคี ณุ วฒุ เิ ทยี บเทา่ ปริญญาตรใี ชร้ ะยะเวลาในการศึกษา ๔ ปี ต่อมาวิทยาลัยได้รบั นกั ศึกษาจานวนเพม่ิ ขึน้ ประกอบกบั บริเวณวิทยาลยั เดมิ มีสถานทค่ี บั แคบจึงได้ขอใชท้ ่ีดนิ ราชพัสดุบริเวณหวั งานโครงการ ส่งนา้ และบารุงรักษาบรมธาตุ กรมชลประทเาพนื่อจดั สร้างวทิ ยาลัยแหง่ ใหม่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๗ สมเดจ็ พระศรนี ครินทราบรมราชชนนี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานช่อื วิทยาลัยพยาบาลในสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ ว่า วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราช ชนนี ดงั นั้นวิทยาลัยพยาบาลชยั นาท จึงเปล่ียนช่ือเป็น “วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชยั นาท” ปี พ.ศ.๒๕๓๙ มีการปรบั ปรุงหลักสตู รประกาศนยี บัตรพยาบาลศาสตร์เปน็ หลักสตู ร พยาบาลศาสตรบัณฑิตและได้ยา้ ยวทิ ยาลยั จากสถานที่เดมิ มาอย่ทู ีส่ ถานท่ีแห่งใหม่ในปัจจบุ ัน ปี พ.ศ. ๒๕๔๐วทิ ยาลัยไดส้ มทบกบั ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล(ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาฉบับประกาศทว่ั ไป เล่ม ท๑ี่ ๑๔ ตอนพเิ ศษ๕๔ ลงวันที่ ๓๐ มถิ นุ ายน ๒๕๔๐) นกั ศึกษาของวิทยาลยั ไดร้ ับพระราชทาน ปรญิ ญาบตั รร่วมกบั มหาวิทยาลยั มหดิ ล ตั้งแตป่ กี ารศึกษา ๒๕๓๙ และเปล่ียนช่อื หลักสตู รจาก หลกั สูตรประกาศนียบตั รพยาบาลศาสตร์ เปน็ หลักสตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑิตจนถงึ ปัจจุบัน พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ โสมสวลี พระวรราชาทินดั ดามาตุ เสด็จมาทรงเปิด พระราชานสุ าวรีย์ สมเด็จพระศรนี ครินทราบรมราชชนนี และทรงเปิด “อาคาร 100 ปี สมเด็จ พระศรนี ครนิ ทร์” ในวันพฤหัสบดีท่ี 20 มถิ ุนายน พ.ศ. 2545 วทิ ยาลยั ฯ จงึ กาหนดให้วนั ท่ี 20 มถิ นุ ายน ของทกุ ปี เป็นวนั สถาปนาวิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท สีประจาวทิ ยาลัย สปี ระจาวทิ ยาลยั “สีเหลอื ง - เขยี ว” ดอกไมป้ ระจาวิทยาลยั ดอกไมป๎ ระจาวทิ ยาลยั “ดอกทรงบาดาล” ดอกทรงบาดาล เป็นพันธ์ไุ ม๎ที่ออกดอกตลอดปี ชอบแดด รากมีประโยชน์ รับประทาน เป็นยาถอนพษิ ไข๎ ดอกสเี หลอื งออกเป็นกลํมุ ชอํ ตามซอกใบและปลายกง่ิ กลีบดอก 5 กลบี กลบี เลย้ี ง 5 กลีบ สัญลักษณ์ “ดอกทรงบาดาล” หมายถงึ คุณลกั ษณะ 5 ดา๎ นของนกั ศึกษาพยาบาลดงั น้ี อยรู่ วมกนั เป็นกลุ่มชอ่ ทุกซอกใบ นักศึกษาพยาบาลจะต๎องร๎ูรักร๎ูสามัคคี มคี วามกลม เกลียวกันในกลุํมพวก และรวํ มใจกันสรา๎ งเกยี รตยิ ศ ชื่อเสยี งให๎แกํสถาบนั และวชิ าชพี พยาบาล
๔ ความงามของสีเหลืองสเี หลืองแสดงถงึ ความเจรญิ รงํุ เรือง สดใส เปน็ สีแหงํ การยึดม่ันใน หลักคุณธรรม นกั ศกึ ษาพยาบาลจะต๎องมคี วามดี ความงามทัง้ กาย วาจา ใจ ทีส่ ังคมประจกั ษ์ และยอมรับ ออกดอกตลอดปีและสวยงาม นักศึกษาพยาบาลจะต๎องมคี วามพยายามมานะ ตลอดเวลาปรบั ตัวได๎ในทกุ สถานการณ์ ทนตอ่ แสงแดด นักศกึ ษาพยาบาลจะต๎องมสี ุขภาพราํ งกายและจิตใจท่เี ข๎มแข็ง มีความ อดทน พร๎อมท่ีจะเผชญิ ตํอความเหน่อื ยยากดว๎ ยความยมิ้ แย๎มแจํมใส ให้คุณประโยชนแ์ ละทรงคุณคา่ นกั ศึกษาพยาบาลจะต๎องรู๎จักพฒั นาตนใหเ๎ กดิ ประโยชน์ ตํอสังคม และประเทศชาตดิ ว๎ ยปณิธานอนั สูงสงํ ปรัชญา ผลติ บณั ฑติ พยาบาลที่มีความเป็นเลศิ ทางวิชาการและมคี วามเออ้ื อาทรดว๎ ยการจัด การศึกษาทีไ่ ดต๎ ามเกณฑม์ าตรฐานรวมทง้ั เปน็ แหลํงเรยี นรทู๎ างด๎านวชิ าการทางดา๎ นสขุ ภาพแกํ ชมุ ชน ปณิธาน มงุํ มน่ั วิชาการ เช่ียวชาญวชิ าชีพ เป็นคนดีมีคุณธรรม สร๎างแกนนาสุขภาพสํชู มุ ชน วิสัยทศั น์ เป็นสถาบันการศกึ ษาพยาบาลท่มี คี ณุ ภาพ ผลิตบัณฑิตใหเ๎ ปน็ นักปฏบิ ัติการพยาบาล สร๎างเสรมิ สขุ ภาพและเปน็ แหลงํ เรยี นร๎ูด๎านการใช๎ภมู ิปญั ญาในการดูแลสขุ ภาพ พันธกจิ 1. ผลิตบัณฑิตพยาบาลตามความตอ๎ งการของกระทรวงสาธารณสขุ 2. วิจัยและพัฒนาผลงานวชิ าการดา๎ นสขุ ภาพ 3. บริการวชิ าการแกํสงั คม 4. ทานุบารงุ ศลิ ปวัฒนธรรมและภมู ิปัญญา 5. พฒั นาการบรหิ ารองคก์ รเพ่ือความเป็นเลิศ วตั ถปุ ระสงค์ของวิทยาลัย ๑. ผลติ บณั ฑติ พยาบาลและพฒั นาศักยภาพบุคลากรให๎มคี ณุ ภาพ คณุ ธรรมจริยธรรม บนพน้ื ฐานความเอือ้ อาทร เพื่อตอบสนองความต๎องการของชุมชนและสงั คม ๒. สรา๎ งผลงานวิจยั ผลงานวชิ าการและงานสรา๎ งสรรคเ์ พือ่ พฒั นาระบบสุขภาพและ เปน็ ทย่ี อมรับในระดบั ประเทศ
๕ 3. ใหบ๎ รกิ ารวิชาการด๎านสุขภาพท่ตี อบสนองความต๎องการของชมุ ชน สังคม และ ประเทศชาติ 4. สงํ เสริมทานบุ ารุงศลิ ปะและวัฒนธรรมภมู ิปัญญาท๎องถน่ิ เพ่ือดารงเอกลักษณ์ไทย 5. สงํ เสรมิ ใหว๎ ทิ ยาลัยเปน็ องค์กรแหงํ การเรยี นรู๎ นโยบายของวิทยาลยั เพอ่ื ให๎เกิดผลลพั ธต์ ามวิสยั ทัศนอ์ ยํางมคี ณุ ภาพ จงึ กาหนดนโยบายการบรหิ ารงาน ดงั น้ี 1. นอ๎ มนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักธรรมาภิบาล มาใชใ๎ นการบริหารจดั การ 2. พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การขอ๎ มูล สารสนเทศ ( MIS) เพอื่ การตดั สินใจในการ บรหิ ารทม่ี ปี ระสิทธิภาพ 3. นาระบบประกันคุณภาพการศึกษา มาเปน็ สวํ นหน่ึงของกระบวนการบริหาร การศกึ ษา 4. สร๎างวฒั นธรรมและบรรยากาศการเรียนร๎ู ความยดึ ม่นั ผกู พันตํอองค์กร 5. สํงเสริมสนบั สนุนบุคลากรทุกระดบั ใหม๎ ศี กั ยภาพและความสามารถสงู ขนึ้ เพ่ือนา องคก์ รสคู๎ วามสาเรจ็ นโยบายประกันคณุ ภาพการศกึ ษา วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท มีหน้าทีห่ ลักในการผลิตบณั ฑิตพยาบาลทมี่ ี คณุ ภาพให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานและสอดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ จงึ ไดม้ กี ารนาระบบประกันคุณภาพ การศกึ ษามาดาเนินการอย่างต่อเนอ่ื ง โดยกาหนดแนวทางการดาเนินงาน ดังน้ี ๑. พัฒนาระบบและกลไกการดาเนินงานประกันคณุ ภาพการศึกษาอย่างตอ่ เน่อื ง โดยให้ บคุ ลากรและนกั ศกึ ษาทกุ คนมสี ่วนรว่ มและดาเนินการประกันคณุ ภาพการศึกษาให้บรรลุ เป้าหมายที่วางไว้ ๒. เสรมิ สร้างและพฒั นาระบบควบคมุ คณุ ภาพการศกึ ษา (Quality Control) ตาม องคป์ ระกอบคุณภาพ รวมทง้ั จดั ใหม้ กี ารสรา้ งและพัฒนาระบบการประเมินคุณภาพการศึกษา (Quality Assessment) และมีการดาเนนิ งานอยา่ งตอ่ เน่ือง เพ่ือให้เปน็ ทเ่ี ช่อื ถือได้วา่ การจัด การศึกษาของวทิ ยาลัยเป็นไปอยา่ งมคี ุณภาพ ๓. สนบั สนุนการดาเนนิ งานประกนั คุณภาพการศกึ ษาของทุกฝา่ ย /งานใหเ้ ป็นไปตาม เกณฑก์ ารประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ๔. สนับสนนุ ใหม้ กี ารนาผลการประเมนิ คุณภาพการศึกษามาพัฒนาระบบการจัด การศึกษาของ วทิ ยาลัยให้มีประสทิ ธภิ าพยิง่ ข้ึน รวมท้ังมกี ารเผยแพร่ข้อมลู เกี่ยวกบั ผลการ ประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาให้บคุ ลากร นกั ศกึ ษาของวิทยาลัย และหน่วยงานภายนอกได้ รับทราบ
๖ ๕. ประสานงานและใหค้ วามร่วมมือกับหนว่ ยงานภายนอกเกี่ยวกบั การดาเนนิ งาน ประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ๖. พฒั นาระบบสารสนเทศใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ ทันสมยั และครอบคลุมตามเกณฑ์ มาตรฐานการประกนั คณุ ภาพการศึกษา คา่ นยิ ม-วัฒนธรรมองคก์ รของวทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท “C H A I N A T” C = Caring เออ้ื อาทร H = Harmony สามัคคี A = Attachment ผูกพนั ในองค์กร I = Integrity ซอ่ื สัตย์สุจรติ N = New technology ใชเ๎ ทคโนโลยีในการปฏบิ ัติงาน A = Achievement มงุํ ผลสัมฤทธิ์ T = Team ทางานเป็นทมี เอกลกั ษณ์ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชยั นาท เอกลักษณ์ทกี่ าหนดไว้ คอื สรา้ งคนจากชุมชนเพอ่ื ตอบสนองระบบสขุ ภาพชุมชน หมายถงึ การผลิตและพฒั นาบุคลากรด้านสขุ ภาพเพือ่ ให้ปฏิบัติงานอยใู่ นหน่วยงานบริการ สขุ ภาพสังกดั กระทรวงสาธารณสขุ ทีเ่ กย่ี วข้องกบั การดูแล รกั ษา สง่ เสริม และปอ้ งกันสขุ ภาพ ของประชาชน ระบบบรกิ ารสขุ ภาพชุมชนหมายถึงการจดั บรกิ ารสุขภาพในระดับทอ้ งถ่นิ ชนบท และ ชุมชนเมอื ง ทัง้ ในสถานบริการสุขภาพทุกระดับปฐมภูมิ ทุติยภมู ติ ติยภมู ิ และสถาบนั การศึกษา ในสงั กัดกระทรวงสาธารณสขุ อตั ลักษณบ์ ัณฑิตของวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชยั นาท ตามท่ีสถาบนั พระบรมราชชนกได้กาหนดอัตลกั ษณ์บณั ฑติ ในสงั กดั สถาบนั พระบรม ราช ชนกไว้ คือ บรกิ ารสุขภาพด้วยหวั ใจ ความเป็นมนุษย์ และวิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชยั นาท กาหนดอตั ลกั ษณข์ องบณั ฑิต คอื บรกิ ารสขุ ภาพดว้ ยหัวใจ ความเป็นมนษุ ย์ และเปน็ นกั ปฏบิ ตั ิการพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพด้านการใชภ้ ูมปิ ัญญา ซึง่ หมายถงึ การใหบ้ ริการที่ เป็นมิตร มีความรัก ความเมตตา ใส่ใจในปัญหาและความทกุ ข์ของผรู้ ับบริการและผเู้ ก่ียวขอ้ ง ใหบ้ รกิ ารตามปัญหาและความตอ้ งการของผ้รู ับบริการทเ่ี ปน็ จรงิ โดยรบั ฟังความคิดเหน็ ของ ผู้รบั บรกิ ารเป็นหลกั และเป็นนักปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลสรา้ งเสริมสขุ ภาพด้านการใช้ภมู ิปญั ญาโดย
๗ มสี มรรถนะบัณฑิตที่ตอบสนองอตั ลักษณ์ บณั ฑติ ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท คือ SAPWE ดงั นี้ S = Service mind หมายถงึ จติ บริการ จติ อาสา และมีเมตตา A = Analytical thinking หมายถงึ คิดวเิ คราะหจ์ าแนกแจกแจงความเป็นเหตุ เปน็ ผล P = Participation หมายถึงการให๎ผ๎รู บั บรกิ ารมสี วํ นรวํ ม ดว๎ ยความ เคารพในศักดศิ์ รีความเป็นมนษุ ย์ W = Wisdom หมายถึง การนาความร๎ู ความสามารถ ความเชื่อ แบบแผนการดาเนนิ ชวี ติ ที่มีคณุ คาํ ท่ีสงั่ สมมาใช๎ แกป๎ ัญหา และพัฒนาวิถชี ีวติ ใหส๎ มดุลกบั สภาพแวดลอ๎ มและยุคสมยั E = (Health) Enhancer หมายถึง การเป็นนกั ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลสรา๎ ง เสริมสขุ ภาพ มุงํ สํงเสริมพฤติกรรมของบุคคล สงั คม และส่งิ แวดลอ๎ ม เพือ่ ใหบ๎ ุคคลมสี ุขภาวะ ทางกาย จติ สังคมและจติ วญิ ญาณท่ดี ี คณุ ธรรม 4 ประการของนักศกึ ษาวิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชยั นาท “เมตตา กรณุ า รบั ผิดชอบ ตรงตอ่ เวลา และซ่อื สตั ย์”
๘ โครงสรา้ งการบรหิ ารงาน วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท มกี ารบรหิ ารภายในวทิ ยาลยั ประกอบด๎วย5 ฝาุ ย(ดงั แสดงในแผนภมู ิท่ี ๑) คือ 1. ฝา่ ยอานวยการประกอบด๎วย 4 งาน คือ 1) งานบรหิ ารทวั่ ไป - งานพสั ดุ - งานสารบรรณ - งานบุคคล - งานการเงินและบญั ชี - งานภมู ทิ ศั น์และส่งิ แวดลอ๎ ม - งานอาคารสถานท่ี ซอํ มแซม และยานพาหนะ 2) งานเทคโนโลยแี ละสารสนเทศ 3) งานประชาสมั พันธ์ วิเทศสัมพนั ธ์ งานจัดการความรูแ๎ ละควบคุมภายใน 4) งานพัฒนาบุคลากร 2. ฝา่ ยยุทธศาสตรแ์ ละประกันคณุ ภาพประกอบดว๎ ย 2 งาน คอื 1) งานนโยบายและแผนงาน ๒) งานประกันคุณภาพการศึกษา 3. ฝา่ ยวชิ าการ ประกอบด๎วย ๑) อาจารย์ผรู๎ ับผิดชอบหลกั สูตร ๒) งานจดั การศึกษา - ห๎องสมุด - ห๎องปฏิบัติการ - อาจารยป์ ระจาชั้น 3) งานทะเบยี นวดั และประเมนิ ผล 4) ภาควิชาการพยาบาลบุคคลทกุ ชวํ งวยั 5) ภาควชิ าการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์ 6) ภาควชิ าการพยาบาลอนามยั ชุมชน 7) ภาควิชาการพยาบาลสขุ ภาพจิตและจิตเวช 4. ฝ่ายกจิ การนกั ศกึ ษาประกอบด๎วย2 งาน คือ 1)งานกิจกรรมพฒั นานกั ศกึ ษา และทานบุ ารงุ ศลิ ปวัฒนธรรมแบงํ ออกเป็น 3 งาน คือ - งานวินัยและปกครอง - งานกิจกรรมพฒั นานักศกึ ษา - งานทานบุ ารุงศิลปวฒั นธรรม
๙ 2) งานแนะแนวใหค๎ าปรกึ ษาสวสั ดิการทนุ การศกึ ษาและศษิ ย์เกาํ สมั พันธ์ แบํงออกเปน็ 2 งาน คือ - งานแนะแนวใหค๎ าปรกึ ษาสวสั ดิการและทนุ การศกึ ษา - งานศิษยเ์ กาํ สมั พันธ์ 5. ฝ่ายวิจยั และบริการวชิ าการประกอบด๎วย 3 งาน คอื 1) งานวิจัย นวตั กรรม และผลงานวชิ าการ ๒) งานบริการวชิ าการ ๓) งานศูนยศ์ กึ ษา - ศนู ย์เรยี นรก๎ู ารดแู ลสขุ ภาพผส๎ู งู อายุ - ศนู ย์พัฒนาเดก็ กอํ นวัยเรียน บุคลากรสายอาจารย์ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชยั นาทมีอาจารย์ทม่ี ปี ระสบการณค์ วามเชี่ยวชาญใน สาขาวิชา จานวน ๔ ภาควิชา ประกอบดว๎ ย - อาจารยป์ ระจาภาควิชาการพยาบาลบคุ คลทกุ ชวํ งวัย - อาจารยป์ ระจาภาควิชาการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์ - อาจารย์ประจาภาควิชาการพยาบาลอนามยั ชุมชน - อาจารย์ประจาภาควชิ าการพยาบาลสุขภาพจิตและจติ เวช
โครงสรา้ งการบริหารงานของวิทยาลัยพ ผูอ้ านวยกา วิทยาลยั พยาบาลบรมรา คณะกรรมการบริหารสถานศึกษา ฝ่ายอานวยการ ฝ่ายยทุ ธศาสตรแ์ ละประกนั คุณภาพ ฝ่ายว ๑. งานบริหารทั่วไป ๑.งานนโยบายและ ๑. งานบรหิ ารหลักสูตรแ - งานภมู ทิ ัศนแ์ ละส่งิ แวดลอ้ ม แผนงาน - หอ้ งสมุด - งานอาคารสถานท่ี ๒. งานประกนั คณุ ภาพ - ห้องปฏบิ ตั ิการ - งานยานพาหนะและซ่อมบารงุ การศกึ ษา - อาจารยป์ ระจาชนั้ - งานการเงินและบัญชี - งานพสั ดุ ๒. งานกลมุ่ วิชา - งานสารบรรณ - กลมุ่ วิชาการพยาบา - กล่มุ วชิ าการพยาบา ๒. งานทรพั ยากรบคุ คล การผดุงครรภ์ - งานพัฒนาบุคลกร - กลุ่มวิชาการพยาบา - กลมุ่ วิชาการพยาบา - งานบุคคล ๓. งานเทคโนโลยีและสารสนเทศ จิตเวช ๓. งานทะเบียนวดั และป ๔. งานวิเทศสัมพันธ์และพัฒนาองคก์ ร
๑๐ พยาบาลบรมราชชนนี ชยั นาท าร าชชนนี ชัยนาท คณะกรรมการสถานศึกษา สถานศึกษา วิชาการ ฝา่ ยกิจการนกั ศึกษา ฝ่ายวิจัยและบรกิ ารวิชาการ และการจัดการศกึ ษา ๑.งานกจิ กรรมพฒั นานกั ศึกษา ๑. งานวจิ ยั นวตั กรรมและผลงาน - งานวินัยและปกครอง วิชาการ าลบคุ คลทกุ ช่วงวยั -งานบริการนกั ศึกษา ๒. งานบริการวิชาการแก่สงั คม าลมารดาทารกและ -งานศิษยเ์ กา่ สมั พนั ธ์ าลอนามัยชมุ ชน าลสขุ ภาพจติ และ ๒. งานทานบุ ารุงศลิ ปะและ ประเมินผล วัฒนธรรม
๔๖ บทที่ 2 การจัดการศกึ ษา วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท รบั ผิดชอบในการจัดการเรยี นการสอน หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตซ่ึงผสู๎ าเร็จการศกึ ษาจะไดร๎ บั วุฒกิ ารศกึ ษาพยาบาลศาสตรบัณฑติ และสามารถประกอบวิชาชพี การพยาบาลและการผดุงครรภ์ช้นั หนึง่ เม่อื สอบผํานการข้นึ ทะเบียนเพ่ือรบั ใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี จากสภาการพยาบาลแล๎ว นโยบายการจัดการศึกษา วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนชี ยั นาท มีนโยบายการจัดการศกึ ษามํงุ เน๎นผเู๎ รยี นเป็น สาคัญเพือ่ ใหส๎ อดคลอ๎ งกับเกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตรระดับปรญิ ญาตรี พ.ศ. ๒๕๕8โดยมีแนวทาง ดงั ตอํ ไปนี้ ๑. พัฒนาหลกั สูตรและการเรียนการสอนใหไ๎ ดม๎ าตรฐานสอดคลอ๎ งกบั กรอบมาตรฐาน คณุ วฒุ ริ ะดับปริญญาตรี สาขาพยาบาลศาสตร์ ระบบประกันคณุ ภาพการศกึ ษาและเกณฑ์ สภาการพยาบาล ๒. พัฒนาระบบการจดั การศึกษาที่สอดคล๎องกบั ความตอ๎ งการของผ๎เู รยี น ผ๎ูใชบ๎ ณั ฑติ และผม๎ู สี วํ นได๎สํวนเสยี เป็นสาคญั ๓. จดั การเรยี นการสอนที่หลากหลายมํงุ เนน๎ สรา๎ งคนจากชมุ ชน เรยี นร๎ูจากสภาพจรงิ ตามการเปล่ียนแปลงของสังคม เพ่อื ให๎ได๎บณั ฑิตทีม่ ีคณุ ลกั ษณะตามอัตลกั ษณบ์ ัณฑิตของ สถาบันพระบรมราชชนก และอตั ลักษณ์บัณฑติ ของวทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนชี ัยนาท ๔. จดั หาเทคโนโลยีสารสนเทศและสิ่งแวดลอ๎ มให๎เออื้ ตํอการเรียนร๎ขู องผู๎เรียน ๕. เรํงผลติ ผลงานวจิ ัยและผลงานวิชาการเพ่ือพัฒนาหลกั สตู รและการเรยี นการสอนให๎ มีคุณภาพ ๖. พัฒนาความรํวมมอื กับมหาวิทยาลัยมหดิ ลในการพัฒนาบุคลากร วิจยั และการเรียน การสอน นโยบายการพัฒนานกั ศึกษา 1. สงํ เสริมใหน๎ กั ศกึ ษามีสุขภาพด๎านราํ งกาย จิตใจสมบูรณ์และสามารถดารงชีวติ อยูํ ในสังคมไดอ๎ ยาํ งมีความสุข 2. จดั กิจกรรมท่ีเออ้ื ตํอการพัฒนาและสํงเสรมิ ให๎นกั ศกึ ษานาความร๎ูทางวชิ าชพี ไป ปฏิบตั ิในสถานการณจ์ รงิ 3. พัฒนาศักยภาพของนกั ศึกษาดา๎ นการคดิ อยํางมวี จิ ารณญาณ การใฝุรูแ๎ ละพัฒนา ตนเองอยํางตํอเนื่อง 4. พัฒนาศกั ยภาพของนกั ศกึ ษาด๎านภาวะผน๎ู า การบรหิ ารจัดการ การทางานเป็นทีม
๔๗ บุคลกิ ภาพและวุฒภิ าวะท่ีเหมาะสม 5. สํงเสริมใหน๎ ักศึกษาเขา๎ ถึงเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. พัฒนาทักษะการใช๎ภาษาไทยและภาษาสากลเพอื่ นามาใชใ๎ นการสอ่ื สารได๎ 7. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชพี 8. สํงเสรมิ และทานุบารงุ ศิลปวัฒนธรรมไทยใหน๎ ักศกึ ษารกั ความเป็นไทย มคี วาม ภาคภมู ใิ จในเอกลักษณ์ของท๎องถนิ่ และชาติไทย 9. สงํ เสริมให๎นกั ศึกษามีสํวนรวํ มกับชุมชนในการสรา๎ งเสริมสขุ ภาพชุมชน นโยบายงานทานบุ ารงุ ศิลปะและวัฒนธรรม ๑. สงํ เสริมใหน๎ กั ศึกษามีคุณธรรม และจรยิ ธรรมทดี่ ีงาม ๒. ปลกู ฝงั เจคตทิ ่ดี แี ละมีจรรยาบรรณวชิ าชีพ ๓. มงุํ เนน๎ ให๎นกั ศึกษามีอัตลักษณบ์ ณั ฑติ และคณุ ลักษณะบณั ฑิตท่ีพงึ ประสงค์ ๔. สงํ เสริมและทานบุ ารุงศิลปวัฒนธรรมไทย ใหน๎ กั ศกึ ษารักความเป็นไทย มีความภาคภูมิใจในเอกลักษณข์ องทอ๎ งถ่ิน และชาติไทย สงํ เสรมิ ใหน๎ กั ศึกษา มีสํวนรวํ มกับ ชมุ ชนในการสรา๎ งเสริมสุขภาพชุมชน หลกั สตู ร หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑติ ภาษาไทย Bachelor of Nursing Science Programme ภาษาองั กฤษ ปริญญา ภาษาไทย ชอื่ เตม็ : พยาบาลศาสตรบณั ฑิต ชือ่ เตม็ : พย.บ . ภาษาองั กฤษ ชอื่ เต็ม: Bachelor of Nursing Science ชือ่ ยอํ : B.N.S. ปรัชญาหลักสูตร วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาทเชอ่ื วําบณั ฑิตพยาบาลเปน็ ผท๎ู ต่ี ๎องมีองค์ความรู๎ ทง้ั ศาสตรท์ างการพยาบาลและศาสตรท์ ี่เกีย่ วข๎อง สามารถประยุกตใ์ ชอ๎ งคค์ วามรใู๎ นการใหก๎ าร พยาบาลแบบองคร์ วมดว๎ ยหวั ใจความเป็นมนษุ ย์บนพนื้ ฐานความเอื้ออาทร การจดั การศึกษา หลักสูตรพยาบาลศาสตรเ์ น๎น การเรยี นรเ๎ู พือ่ การเปลยี่ นแปลง การเรียนรู๎แบบมสี วํ นรวํ ม และ การเรยี นรจู๎ ากสถานการณ์จริงในการผลิตบัณฑิตเพือ่ ตอบสนองความตอ๎ งการของระบบบริการ สุขภาพ
๔๘ วตั ถุประสงค์ของหลกั สตู ร เพอื่ จดั ประสบการณก์ ารเรียนร๎ใู ห๎กับนกั ศกึ ษาหลกั สตู รพยาบาลศาสตรบณั ฑิต ท่ี ครอบคลุมความร๎ู ทักษะ และเจตคติ ดังตํอไปนี้ ๑. มีความรอบรใู๎ นศาสตร์ทางการพยาบาล การผดุงครรภ์ และศาสตรท์ ่ีเกี่ยวขอ๎ ง และสามารถประยุกต์ได๎อยํางเหมาะสมในการปฏิบัตกิ ารพยาบาล ๒. สามารถปฏิบตั กิ ารพยาบาลองคร์ วม เน๎นความปลอดภยั ของผ๎ูรับบริการทกุ ชวํ งชวี ติ ทกุ ภาวะสุขภาพ ทุกระดบั ของสถานบรกิ ารสุขภาพ และในความแตกตํางทางวัฒนธรรม โดย ใชศ๎ าสตร์และศิลปท์ างการพยาบาล การผดุงครรภแ์ ละศาสตรท์ เี่ กี่ยวขอ๎ ง ภายใตก๎ ฎหมายและ จรรยาบรรณวิชาชีพ ๓. สอื่ สารดว๎ ยภาษาไทยและภาษาอังกฤษไดอ๎ ยํางมีประสิทธิภาพ ๔. คดิ อยาํ งเปน็ ระบบ คิดสรา๎ งสรรค์ คิดอยาํ งมีวิจารณญาณ ตดั สินใจและแกป๎ ญั หา อยาํ งสรา๎ งสรรค์ ๕. มคี วามร๎ูและสมรรถนะด๎านดิจิทัลในการศึกษาค๎นคว๎า การปฏบิ ัติงาน การส่ือสาร และการทางานรวํ มกับผอ๎ู ่นื ๖. สามารถใช๎กระบวนการวิจัย และกระบวนการสร๎างนวัตกรรมในการแกป๎ ัญหาทาง การพยาบาลและทางสขุ ภาพ ๗. แสดงภาวะผนู๎ าและสามารถบรหิ ารจัดการในการทางานรวํ มกับทีมสุขภาพ สห วิชาชพี และผ๎ทู เี่ กย่ี วข๎อง ๘. มีคณุ ธรรม จริยธรรม เคารพในศักด์ิศรขี องความเปน็ มนษุ ย์ มีความรบผิดชอบ และมี ความเออ้ื อาทร ๙. สามารถเรยี นรูด๎ ว๎ ยตนเอง และสนใจใฝรุ ูใ๎ นการพฒั นาตนเองอยาํ งตอํ เน่ือง ๑๐. สามารถใช๎การวเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข และใช๎สถิตอิ ยํางเหมาะสมในวชิ าชีพ ๑๑. แสดงออกถงึ การมที ัศนคติทดี่ ีตอํ วิชาชีพการพยาบาล ตระหนกั ในคุณคําวชิ าชีพ และสทิ ธขิ องพยาบาล ๑๒. เป็นพลเมอื งดีในระบอบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ประมขุ ตลอดจนเป็นพลเมืองดขี องชาติ ภูมภิ าค และประชาคมโลก ๑๓. มสี มรรถนะทางวฒั นธรรมสามารถปฏิบัตงิ านในสภาพการณข์ องความแตกตําง ทางวัฒนธรรม
๔๙ ระบบการจดั การศกึ ษา ระบบการจดั การศึกษาเปน็ ระบบทวิภาคโดยในแตํละปีการศึกษาแบงํ ออกเปน็ ๒ ภาคการศึกษาปกติ และ ๑ ภาคการศกึ ษาฤดูร๎อน ภาคการศึกษาภาคปกติใช๎เวลาศกึ ษาไมํ น๎อยกวํา ๑๕ สัปดาห์ ภาคการศกึ ษาฤดูรอ๎ นใชเ๎ วลาไมนํ ๎อยกวาํ ๘ สัปดาห์ และไมํเกิน ๑๐ สปั ดาหร์ ะยะเวลาการศึกษาเตม็ เวลา ๔ ปี และจะสาเรจ็ การศกึ ษาได๎ไมกํ อํ น ๘ ภาคการศึกษาปกติ ไมํเกนิ ๘ ปีการศกึ ษา โดยกาหนดเวลาการคิดหนํวยกติ เป็นดงั น้ี ภาคทฤษฎี ใชเ๎ วลาบรรยาย/อภิปรายปญั หาไมํนอ๎ ยกวํา ๑๕ ช่ัวโมง ตํอภาคการศึกษาปกติ มคี ําเทํากับ ๑ หนวํ ยกติ ภาคปฏบิ ตั ิ/ภาคทดลอง ใช๎เวลาฝึกปฏบิ ัตหิ รือทดลองไมํนอ๎ ยกวํา ๓๐ ช่ัวโมง ตํอภาคการศึกษาปกติ มคี ําเทํากบั ๑ หนวํ ยกิต การฝกึ งานหรือการฝึกภาคสนาใมช๎เวลาฝึกงานหรอื ฝกึ ภาคสนามหรอื ค๎นควา๎ อิสระ ไมนํ ๎อยกวํา๔๕ ช่วั โมงตํอภาคการศึกษาปกติ มคี าํ เทํากบั ๑ หนํวยกิต จานวนหนว่ ยกติ รวมตลอดหลักสตู ร ๑๓๔ หนว่ ยกิต โครงสร้างหลักสตู ร ๑. หมวดวชิ าศกึ ษาทัว่ ไป ๓๐ หน่วยกิต ๑ ) กลมํุ วิชาสังคมศาสตรแ์ ละมนษุ ยศาสตร์ 8 หนํวยกิต ๒) กลุํมวิชาภาษา ๑๕ หนวํ ยกิต ๓) กลมํุ วิชาวิทยาศาสตร์และคณติ ศาสตร์ 7 หนวํ ยกติ ๒. หมวดวิชาเฉพาะ ๙๘ หนว่ ยกิต ๑) กลุมํ วิชาพน้ื ฐานวชิ าชพี ๒๒ หนํวยกิต ๒) กลํุมวิชาชีพ ๗๖ หนวํ ยกติ ๓. หมวดวชิ าเลือกเสรี ๖ หนว่ ยกติ รายวิชาในหลักสตู ร
๕๐ บทท่ี 3 ระเบียบปฏิบัติในการศกึ ษา ระบบการจัดการศกึ ษา ระบบการจดั การศกึ ษาเป็นระบบทวภิ าคโดยในแตํละปกี ารศึกษาแบงํ ออกเปน็ ๒ ภาค การศึกษาปกติ และ ๑ ภาคการศกึ ษาฤดรู อ๎ นภาคการศกึ ษาปกตใิ ชเ๎ วลาศกึ ษาไมนํ ๎อยกวํา ๑๕ สัปดาห์ ไมเํ กิน ๒๒ หนํวยกิต ภาคการศกึ ษาฤดูร๎อนใช๎เวลาไมํน๎อยกวาํ ๘ สัปดาห์ และ ไมํเกิน 10 สปั ดาห์ ๙ หนวํ ยกิต ระยะเวลาการศึกษาเตม็ เวลา ๔ ปี และจะสาเรจ็ การศกึ ษาได๎ไมกํ อํ น ๘ ภาคการศกึ ษาปกติ ไมเํ กนิ ๘ ปีการศกึ ษา โดยกาหนดเวลาการคดิ หนํวยกเปิตน็ ดงั นี้ ภาคทฤษฎี ใช๎เวลาบรรยาย/อภปิ รายปญั หาไมํนอ๎ ยกวํา ๑๕ ชวั่ โมงตอํ ภาคการศึกษาปกติ มีคําเทํากบั ๑ หนํวยกิต ภาคปฏบิ ตั ิ/ภาคทดลอง ใชเ๎ วลาฝึกปฏบิ ัตหิ รือทดลองไมํนอ๎ ยกวาํ ๓๐ ชวั่ โมงตอํ ภาคการศกึ ษาปกติ มคี ําเทาํ กับ ๑ หนวํ ย กิต การฝกึ งานหรอื การฝึกภาคสนาม ใชเ๎ วลาฝกึ งานหรือฝึกภาคสนามหรอื คน๎ คว๎าอสิ ระ ไมํน๎อยกวํา 45 ช่ัวโมงตํอภาคการศกึ ษาปกติ มคี าํ เทาํ กับ ๑ หนํวยกิต การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค ไมํมี ระเบยี บการศึกษา การจดั การศกึ ษาเพือ่ ผลติ พยาบาลในระดบั วิชาชีพให๎มีความร๎เู กยี่ วกับการพยาบาลและ สามารถนาความรู๎ไปใชใ๎ นการปฏิบัติการพยาบาลไดอ๎ ยาํ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ดงั นก้นั ารจดั การศึกษา พยาบาลจะมกี ารจัดการเรยี นการสอนเป็น2สํวนทีส่ าคญั คอื ๑. ภาคทฤษฎี จะเป็นการจัดการเรียนการสอนในช้นั เรียนเปน็ สวํ นใหญซํ ึง่ มุงํ เน๎นในการ จัดประสบการณ์เรียนร๎ูให๎ผ๎ูเรยี นมคี วามรู๎ความเข๎าใจอยํางแทจ๎ ริงเก่ียวกบั ศาสตรก์ ารพยาบาล (Scientific) และความตระหนกั ในความเปน็ มนุษยข์ องบคุ คล (Humanistic)ตลอดจนศาสตร์ อนื่ ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ๎ งกับการใหบ๎ ริการพยาบาล ๒. ภาคปฏิบตั จิ ะเปน็ การเรียนการสอนในสภาพการณจ์ ริง กลําวคอื การลงมอื ปฏิบัติใน สถานการณ์จรงิ ในแหลํงฝึกปฏิบัตติ ําง ๆ ทง้ั ในโรงพยาบาล ศนู ย์บรกิ ารสขุ ภาพชมุ ชน และ ชุมชนตาํ งๆ ทัง้ นี้มํงุ จดั ประสบการณก์ ารเรียนรู๎ให๎ผ๎เู รยี นไดพ๎ ัฒนาความสามารถในการ ปฏิบตั ิการพยาบาลตําง ๆ ใหเ๎ ช่ยี วชาญ
๕๑ ระเบยี บการศกึ ษาภาคทฤษฎี 1. มหี ัวหนา๎ ช้ันดแู ลใหก๎ ิจการในช้ันเรยี นเปน็ ไปโดยเรียบร๎อย 2. เขา๎ หอ๎ งเรียนตามตารางการเรียนกํอนเวลาอยาํ งน๎อย 5 นาที โดยพรอ๎ มเพรยี งกัน 3. ทาความสะอาดห๎องเรียนจัดเก๎าอใ้ี หเ๎ ป็นระเบียบไมรํ ับประทานอาหารในห๎องเรยี น พ้นื ห๎องเรียนไมมํ ีเศษสิ่งของกระดาษตาํ งๆ 4. ไมํใช๎โทรศัพท์มอื ถอื ขณะเรียน 5. ไมสํ งํ เสยี งดัง รบกวนชนั้ เรียนขา๎ งเคยี ง 6. จดั เตรียมอุปกรณ์เครอื่ งใชใ๎ นการสอนใหพ๎ ร๎อม เชํน เคร่อื งเสียง เคร่อื งฉายขา๎ มศรี ษะ ถา๎ เครื่องขดั ขอ๎ งใหแ๎ จ๎งอาจารยแ์ จ๎งหัวหนา๎ งานเทคโนโลยสี ารสนเทศและฐานขอ๎ มูล 7. ทางานทีอ่ าจารย์มอบหมายให๎สาเร็จเตม็ ความสามารถ สงํ ตามเวลาทก่ี าหนด 8. การสบั เปลยี่ นตารางเรยี น ตอ๎ งผํานอาจารย์ประจาช้นั ปี 9. อานวยความสะดวกแกอํ าจารยผ์ ๎ูสอน โดยการจดั โตะ๏ บรรยายของอาจารยใ์ ห๎สะอาด เรียบร๎อย 10. ในชั้นทม่ี ีการเรยี นทั้งภาคทฤษฎีและภาคทดลอง เมอ่ื งดการเรยี นในหอ๎ งเรียนตอ๎ ง ศกึ ษาค๎นคว๎าในห๎องสมุดยกเว๎นผู๎มกี จิ กรรมทอ่ี าจารยม์ อบหมายใหท๎ า (ห๎ามข้ึนไปนอนบน หอพกั ) 11. อาจารยผ์ ๎ูสอนรายวชิ าจะตรวจสอบรายชือ่ นกั ศึกษาทุกคร้งั ทเี่ ขา๎ สอน ถา๎ นกั ศกึ ษา เขา๎ หอ๎ งเรียนสายเกนิ 15 นาทใี นชั่วโมงนั้นถือเป็นขาดเรยี น 1 ชั่วโมง ระเบียบการศึกษาภาคปฏิบัติ ๑. การศกึ ษาภาคปฏบิ ัติ เปน็ การกระทาโดยตรงตํอชวี ิต ราํ งกาย และทรัพย์สนิ ของ มนษุ ย์เพื่อเปน็ หลักประกนั ความปลอดภัยและรกั ษามาตรฐานของวชิ าชีพ ดังนั้นในการฝึก ปฏบิ ัตงิ านนักศกึ ษาจะต๎องปฏบิ ตั ิดว๎ ยความรู๎ วจิ ารณญาณและความรอบคอบ มิให๎เกดิ ความ เสียหายแกํผูใ๎ ชบ๎ ริการโดยปฏิบตั ิดงั นี้ ๑.๑ ปฏิบัติงานตรงตามเวลาที่กาหนด ๑.๒ ปฏิบัติงานตามขอบเขตหนา๎ ท่ีท่ีรับผดิ ชอบภายใตก๎ ฎระเบียบของ วทิ ยาลัย และสถานทีฝ่ กึ ปฏบิ ัติงาน ๑.๓ เคารพในสิทธิของผใ๎ู ช๎บริการโดยเครํงครัด ๑.๔ รายงานอาจารย์นเิ ทศหรือผ๎ูดแู ลนักศึกษาทราบโดยทนั ทที ่ปี ฏิบตั ิงาน ผิดพลาดหรอื มีเหตุการณไ์ มํปกตเิ กดิ ขนึ้ ๑.๕ มมี นุษยสัมพนั ธ์ที่เหมาะสมตอํ ผใู๎ ช๎บรกิ าร ผูร๎ วํ มงานและผท๎ู เี่ กยี่ วข๎อง ๑.๖ มีความซื่อสัตย์ตอํ ผู๎ใชบ๎ รกิ าร ผูร๎ วํ มงานและผ๎ูทเี่ กีย่ วข๎อง ๑.๗ใหค๎ วามรํวมมอื ตอํ ผู๎รํวมงานตามความเหมาะสม
๕๒ ๑.๘ ไมปํ ฏบิ ตั ิกิจกรรมอ่ืนในเวลาปฏบิ ตั ิงานโดยมิได๎รบั อนญุ าตจากอาจารย์ นเิ ทศหรอื ผ๎ูดแู ลนักศึกษา ๑.๙ ในขณะปฏิบัติงาน ใหน๎ ักศึกษาวางตนและแสดงพฤตกิ รรมทเี่ หมาะสม ในบทบาทวชิ าชพี พยาบาล เมื่อมีกรณีจาเปน็ ใดกต็ ามทตี่ อ๎ งออกนอก สถานที่ฝกึ ปฏบิ ัติต๎องไดร๎ ับอนุญาตจากอาจารยน์ เิ ทศหรอื ผด๎ู แู ล นักศึกษากํอน ๑.๑๐ ในขณะปฏิบตั งิ านไมํนาของมคี าํ หรอื เงินจานวนมากติดตัวขึ้นไป เพื่อ ปูองกันการสญู หาย ๑.๑๑ กรณที ีน่ กั ศึกษาต๎องปฏบิ ตั งิ านนอกเหนือจากวนั เวลา ทีก่ าหนดต๎อง ไดร๎ บั ความเหน็ ชอบจากอาจารยน์ เิ ทศหรอื ผู๎ดูแลนกั ศึกษากอํ น ๒. นกั ศึกษาตอ๎ งปฏบิ ตั ติ ามหลกั ศีลธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมอันดีของสังคมไทย ในทกุ โอกาส ๓. นกั ศกึ ษาตอ๎ งรักษาไว๎ซ่ึงความสามัคคี ความเป็นระเบยี บ และชือ่ เสยี งเกียรตคิ ณุ ของ วิทยาลยั ๔. นักศกึ ษาต๎องประพฤติตนเป็นสภุ าพชน ไมปํ ระพฤติในส่งิ ที่อาจนามาซึ่งความ เสียหายแกตํ นเอง บิดามารดา ผป๎ู กครอง หรือวิทยาลัย ๕. นักศกึ ษาตอ๎ งเช่อื ฟังคาส่ังของอาจารย์หรือผูด๎ ูแลนกั ศกึ ษาโดยเครํงครัด ๖. นกั ศกึ ษาต๎องไมมํ แี ละ/หรือเสพสรุ าหรือเคร่อื งดม่ื ทีม่ สี วํ นผสมของแอลกอฮอล์ ๗. นกั ศกึ ษาต๎องไมํเสพยาเสพติด หรือมีสารเสพยต์ ดิ ไว๎ในครอบครองหรือจาหนําย ๘. นกั ศึกษาต๎องไมํเลํนหรือมีสํวนเก่ยี วข๎องหรอื สนับสนุนการพนันใดๆ ๙. นักศกึ ษาต๎องไมกํ ระทาตนให๎เปน็ ผ๎ูมีหนส้ี ินล๎นพน๎ ตัวจนมีเรือ่ งเสียหายถึงผอ๎ู ่ืนหรอื สถานศึกษา ๑๐. นกั ศึกษาต๎องไมํนาสงิ่ ผดิ กฎหมายเข๎ามาในบรเิ วณวิทยาลยั หรือมสี ง่ิ ผิดกฎหมายไว๎ ในครอบครอง ๑๑. นกั ศึกษาต๎องไมํมีหรอื พกพาอาวุธ หรือวตั ถุระเบดิ เมอื่ อยํใู นบริเวณวทิ ยาลัย ๑๒. นกั ศกึ ษาต๎องไมกํ ํอหรือมสี ํวนเกี่ยวข๎องในการทะเลาะววิ าทกับนกั ศกึ ษาด๎วยกนั หรือกับผ๎ูอน่ื ๑๓. นกั ศึกษาต๎องไมลํ กั ขโมย ยกั ยอกหรอื ทาลายทรัพย์สนิ ของผ๎อู ่นื หรือของวิทยาลยั ๑๔. นกั ศึกษาต๎องไมกํ ระทาการอนั ใดซึ่งไดช๎ อ่ื วําเป็นผ๎ปู ระพฤตชิ ัว่ เชนํ หมกมุํนมวั เมากบั เพศตรงข๎ามในทางชสู๎ าว กระทาการใดหรือยอมใหผ๎ ูอ๎ ื่นกระทาการใดซงึ่ อาจทาให๎เสอ่ื มเสยี ชือ่ เสยี งของตนเองหรือวทิ ยาลัย ๑๕. นักศกึ ษาตอ๎ งไมํทจุ ริตรายงานเทจ็ ปลอมแปลงลายมือชอื่ หรอื ปลอมแปลงเอกสาร
๕๓ การลงทะเบยี นเรียนและชาระค่าเล่าเรียน 1. การลงทะเบยี นเรียน (ก) การลงทะเบยี นปกติ ต๎องกระทากํอนวันเปดิ เรยี นของแตํละภาคการศกึ ษา (ข) การลงทะเบยี นลาํ ชา๎ ตอ๎ งกระทาภายในไมํเกนิ 3 สัปดาหห์ ลงั เปิดภาค การศกึ ษา หรือภายในสัปดาหแ์ รกของภาคฤดรู ๎อน (ค) วนั -เวลา และวธิ ีการลงทะเบยี นและลงทะเบียนลําชา๎ ใหเ๎ ป็นไปตามที่ สถานศึกษากาหนด 2. การชาระคาํ เลาํ เรียน (ก) การชาระคําเลําเรยี นปกติ ตอ๎ งกระทาภายในไมํเกิน 3 สัปดาห์หลงั เปดิ ภาค การศกึ ษา หรือภายในสปั ดาหแ์ รกของภาคฤดูรอ๎ น (ข) การชาระคําเลําเรยี นลําชา๎ ตอ๎ งกระทาภายในไมเํ กนิ 10 สัปดาหห์ ลงั เปิดภาค การศกึ ษา หรือภายในสัปดาห์แรกของภาคฤดูร๎อน พรอ๎ มคําปรับการชาระคาํ เลาํ เรียนลาํ ช๎าวันละ ๒๐ บาท (นบั เฉพาะวนั ทาการ) 3. การขอผํอนผันลงทะเบยี นเรยี น การชาระคาํ เลําเรียน ใหก๎ ระทาได๎ภายในกาหนด ระยะเวลาท่ีสถานศกึ ษากาหนดใหป๎ ฏิบัตดิ ังนี้ กรณีนักศึกษาไมํสามารถชาระคําเลาํ เรียนภายในกาหนดเวลาทีว่ ิทยาลัย กาหนด นักศกึ ษาสามารถยืน่ คาร๎องขอผํอนผันการชาระคําเลําเรียนของแตลํ ะภาค การศกึ ษา โดยนักศกึ ษายื่นคารอ๎ งขอผอํ นผันการชาระคําเลําเรียนบางสวํ นหรอื เต็มจานวน โดยต๎องได๎รับการตรวจสอบข๎อมูลจากอาจารย์ประจาช้ัน ผาํ นความเหน็ ชอบจากงาน ทะเบยี น วัดและประเมินผล และรองผอู๎ านวยการฝาุ ยวชิ าการ เพ่ือเสนอผูอ๎ านวยการ อนุมตั ิ และตอ๎ งกระทาภายในไมํเกนิ ๓ สปั ดาห์ หลังเปิดการศกึ ษา 4. นักศึกษาผ๎ูใดมไิ ด๎ลงทะเบยี นเรียน มิได๎ชาระคําเลาํ เรียน มิได๎ชาระคําปรับลงทะเบียน เรยี นลําชา๎ (หากม)ี หรอื มไิ ด๎ชาระคาํ ธรรมเนยี มการศึกษา (หากม)ี ใหแ๎ ล๎วเสรจ็ เมอื่ พน๎ กาหนดเวลาเกิน ๑๐ สัปดาห์หลังเปดิ ภาคการศึกษาหรือภายในสัปดาห์แรกของภาคฤดู ร๎อน โดยมไิ ดย๎ ื่นเร่ืองขอผอํ นผนั นักศกึ ษาผนู๎ ั้นยอํ มพ๎นสภาพการเปน็ นักศกึ ษา ในกรณพี น๎ สภาพการเป็นนักศกึ ษา นกั ศกึ ษาไมํมสี ิทธิไดร๎ ับคนื เงนิ ตาํ งๆทีไ่ ด๎ ชาระไวแ๎ ล๎วใหแ๎ กสํ ถานศึกษา (ถา๎ มี) 5. นกั ศกึ ษาผ๎ใู ดลงทะเบียนเรียน และชาระคาํ เลาํ เรียนแล๎ว หากตอํ มาไดย๎ ่ืนคารอ๎ งขอ ลาออกหรือลาพกั การศกึ ษากํอนวนั เปิดภาคการศกึ ษาปกตหิ รือวนั เปิดภาคฤดรู อ๎ น เมื่อมี การลาออกหรอื ลาพักการศึกษาไดร๎ บั อนุมตั จิ ากผ๎ูบรหิ ารสถานศกึ ษาแล๎ว ให๎ดาเนนิ การคนื เงนิ คาํ เลําเรยี นหรือคําธรรมเนยี มการศกึ ษาแล๎วแตกํ รณใี หแ๎ กํนกั ศึกษาผน๎ู ัน้ เว๎นแตเํ ปน็ กรณีท่ีมคี ําใช๎จํายเก่ียวกบั หลักสตู รเกิดขน้ึ กอํ นวันเปิดภาคการศกึ ษาให๎หักจานวนเงิน
๕๔ คําใช๎จํายดังกลําวออกจากเงินที่ต๎องคนื ใหแ๎ กนํ ักศึกษา ท้งั น้ตี ามอตั ราซึ่งกาหนดไว๎ตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ในกรณที น่ี ักศึกษายื่นคาร๎องขอลาออก หรือลาพกั การศึกษาภายหลงั วนั เปิดภาค การศึกษาหรือวันเปดิ ภาคฤดรู อ๎ น ยํอมไมํมีสิทธไิ ดร๎ บั คนื เงนิ ตํางๆ ดังกลําว ระเบียบการวดั และประเมนิ ผลการศึกษา ๑. การมีสิทธ์ใิ นการวดั ผลและประเมนิ ผลการศกึ ษา นกั ศึกษาตอ๎ งมเี วลาเรยี นไมตํ ่ากวาํ ร๎อยละ ๘๐ของเวลาเรยี นในแตํละวิชาและมีคะแนน ความประพฤตไิ มํน๎อยกวํารอ๎ ยละ ๘๐จงึ จะมสี ิทธเิ ข๎าสอบ นักศกึ ษามสี ทิ ธเิ ข๎าสอบจะต๎อง ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี ๑) นกั ศึกษาตอ๎ งแตงํ กายด๎วยชดุ นักศกึ ษาถกู ระเบยี บ ๒) นักศึกษาต๎องนาบตั รนกั ศึกษา/บตั รประชาชนวางบนโต๏ะทน่ี ่งั สอบ หรือแสดงตํอ กรรมการคุมสอบ หากไมมํ บี ตั รจะไมอํ นญุ าตให๎เข๎าห๎องสอบ ๓) นักศกึ ษาต๎องเข๎าสอบตามวนั เวลา และสถานท่ี ทว่ี ทิ ยาลัยกาหนด หากขาดสอบ โดยไมมํ เี หตุผลอันสมควรให๎ถอื วําไมมํ ีคําคะแนนในการสอบครงั้ นนั้ ๔) นกั ศึกษาทเ่ี ข๎าหอ๎ งสอบสายเกินกวาํ ๑๕ นาที ใหถ๎ ือวําหมดสทิ ธิเ์ ขา๎ หอ๎ งสอบ ครงั้ นัน้ ๕) เม่อื เขา๎ หอ๎ งสอบเรยี บร๎อยแลว๎ ใหน๎ กั ศกึ ษาเขียนชอื่ สกลุ และรหัสนักศกึ ษา ตลอดจนขอ๎ ความอน่ื ที่กาหนดบนกระดาษคาตอบให๎ครบถว๎ นและชดั เจนกํอนเริม่ ทาข๎อสอบ และให๎เริม่ ทาข๎อสอบเมอ่ื มสี ญั ญาณเรม่ิ การสอบหรอื ได๎รบั อนุญาตจาการคณะกรรมการ คุมสอบ ๖) การออกจากห๎องสอบชั่วคราว จะต๎องได๎รบั อนุญาตจากกรรมการคุมสอบ นักศกึ ษาตอ๎ งไมํนาเคร่อื งมือสือ่ สารติดตัวไปด๎วยและอยํูในความดแู ลของคณะกรรมคมุ สอบ ๗) หากมขี อ๎ สงสัยใดๆ เกีย่ วกับการสอบใหท๎ าตามท่ปี รากฏในชดุ ข๎อสอบหรือสอบถาม กรรมการคมุ สอบ ๘) เมื่อไดย๎ นิ เสียงประกาศจากคณะกรรมการคุมสอบวําหมดเวลาสอบให๎ยตุ กิ ารสอบ โดยทนั ที ๙) เมือ่ นักศึกษาออกจากหอ๎ งสอบแลว๎ ให๎ออกจากบริเวณหอ๎ งสอบทนั ทีและไมํให๎ทา การใดๆ อันเปน็ การรบกวนผูเ๎ ข๎าสอบคนอน่ื ทกี่ าลังสอบอยํู ๑๐) หา๎ มนาหนงั สอื ตารา เอกสาร เคร่อื งมือสอ่ื สารทุกชนิด และอปุ กรณอ์ เิ ล็กโทร นิกส์ท่สี ามารถจดั การขอ๎ มลู ได๎เขา๎ ห๎องสอบ เว๎นแตอํ าจารยผ์ ูส๎ อนได๎อนญุ าตไว๎ในรายวชิ านน้ั ๑๑) การกระทาตํอไปน้ีถือวําทจุ รติ ในการสอบ
๕๕ ๑๑.๑ พูด ถาม บอก ลอกคาตอบ แสดงอาณตั สิ ัญญาณหรือการกระทาใด ท่สี อํ ไปในทางทุจริต ๑๑.๒ นาเคร่ืองมือส่ือสาร อปุ กรณ์อิเลก็ โทรนกิ สท์ ีส่ ามารถจดั การข๎อมลู ได๎ อุปกรณ์อนื่ ทไ่ี มํจาเป็นในการสอบ ๑๒) หากผ๎ใู ดทจุ ริตหรอื สํอเจตนาทุจริตในการสอบด๎วยวธิ ีการใดๆ กต็ าม กรรมการผ๎ู คุมสอบมีอานาจส่งั ใหย๎ ุติการสอบและให๎ถอื วาํ ไมํมคี ําคะแนนในการสอนครง้ั นัน้ โดยกรรมการ คุมสอบเขยี นบันทกึ รายงานการทุจรติ ให๎ผอ๎ู านวยการทราบทกุ กรณี เพือ่ พิจารณาลงโทษทาง วินัยรํวมกับคณะกรรมการบรหิ ารวทิ ยาลัย ๒. การตัดเกรดแบบองิ เกณฑ์ การตัดเกรดแบบอิงเกณฑจ์ ะนาคะแนนของผ๎ูเรยี นไปเปรยี บเทียบกบั เกณฑ์ หรือ จุดประสงค์ทตี่ ้ังไว๎ ๓. ระบบการให้คะแนน การให๎คะแนนของแตํละรายวชิ า ให๎ใชร๎ ะบบตวั อกั ษร (Letter Grade) แสดงระดับ คะแนน (Grade) ซ่ึงมคี วามหมายและคาํ ระดบั ชั้นดังน้ี ระดบั ช้ัน ความหมาย คา่ ระดบั A ดเี ย่ยี ม (Excellent) ๔.๐๐ B+ ดมี าก ๓.๕๐ B ดี(Good) ๓.๐๐ C+ คํอนข๎างดี(Fairy Good) ๒.๕๐ C พอใช๎(Fair) ๒.๐๐ D+ ออํ น(Poor) ๑.๕๐ D อํอนมาก (Very Poor) ๑.๐๐ F ตก(Fail) ๐ สญั ลกั ษณ์ ความหมาย S พึงพอใจ (Satisfactory) คอื ผลการศึกษาเปน็ ที่พอใจของ อาจารยผ์ ๎สู อนใช๎สาหรบั วิชาทีไ่ มนํ บั หนวํ ยกิตเป็นหนวํ ยกิต U สะสม ไมพํ ึงพอใจ (Unsatisfactory) คือผลการศกึ ษาเปน็ ทไ่ี มํพึง I พอใจของอาจารย์ผูส๎ อนใชส๎ าหรบั วชิ าที่ไมํนบั หนํวยกติ เปน็ E หนํวยกติ สะสม ยังไมสํ มบรู ณ์(Incomplete) มเี ง่ือนไข (Condition) ใหแ๎ ก๎ตวั
๕๖ การสอบผํานรายวชิ า ผลการเรยี นหมวดวชิ าชีพไมตํ า่ กวําระดบั C และหมวดวชิ าอื่นๆ ไมตํ า่ กวําระดับD ๓.๑ การให๎คาํ ระดบั ข้นั F กระทาได๎ในกรณตี อํ ไปน้ี ๑) เขา๎ สอบและไดผ๎ ลการสอบตกและ /หรือมีผลงานท่ปี ระเมินผลวํา ไมผํ าํ น เกณฑ์ ๒) ขาดสอบโดยไมํไดร๎ ับอนญุ าตจากผูอ๎ านวยการหรอื ผ๎ทู ี่ได๎รับมอบหมาย โดยไมมํ เี หตผุ ลอนั ควรและมีผลงานทีป่ ระเมนิ วาํ ไมผํ าํ นเกณฑ์ ๓) ทาผิดระเบยี บการสอบและได๎รับการตดั สนิ ใหต๎ ก ๔) เปลีย่ นจากคําระดบั ขั้น I หรอื E ไมํได๎ ๓.๒ การให๎คําระดับขน้ั E กระทาไดใ๎ นกรณตี อํ ไปนี้ ๑) ผลการสอบของแตล่ ะวชิ าทอ่ี าจารยผ์ สู้ อนและหัวหนา้ ภาควิชา พิจารณา เห็นว่ายงั ไม่สมควรใหต้ ก ควรใหโ้ อกาสแก้ตวั ๒) การเปลี่ยนคาํ ระดบั ขน้ั Eใหไ๎ ด๎ไมเํ กินคาํ ระดับขนั้ C ในหมวดวชิ าชพี และไมํ เกินคําระดบั ขัน้ D ในหมวดวิชาอ่นื ๆ ทัง้ นจ้ี ะตอ๎ งกระทาใหเ๎ สร็จสน้ิ ภายใน ๔ สัปดาหแ์ รกของภาคเรียนถัดไป ๓.๓ การให๎คําระดบั ขั้น I กระทาได๎ในกรณีตอํ ไปนี้ ๑) ป่วยจนไม่สามารถเข้าสอบได้ และได้ปฏบิ ตั ิตามระเบยี บการลาปว่ ย ถกู ต้อง ๒) ขาดสอบโดยเหตสุ ุดวสิ ัย ซ่งึ มหี ลักฐานที่เชอื่ ถอื ได้ และได้รับอนุญาตจาก ผู้อานวยการ ๓) งานหรอื ปฏิบตั ิงานท่ีเป็นส่วนประกอบของการศกึ ษายงั ไมส่ มบรู ณ์ และ อาจารยผ์ ู้สอนเห็นสมควรให้รอผลการศึกษาโดยความเหน็ ชอบจาก ผอู้ านวยการหรือผทู้ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย ๔) การเปลยี่ นคา่ ระดบั ขัน้ I ใหเ้ ปลย่ี นเป็นระดับขนั้ ทเ่ี หมาะสมกับคณุ ภาพ ของการสอบและ /หรืองานทใ่ี ห้กระทา และได้ทาการสอบและ /หรือ ทางานครบถว้ นตามกาหนดแลว้ ทง้ั นี้จะต้องให้เสรจ็ ส้นิ ภายในเวลาท่ี อาจารยผ์ ูส้ อนจะสามารถรายงานผลการสอบไดใ้ น ๔สัปดาห์แรกของภาค การศึกษาถดั ไปเป็นอยา่ งชา้ หากพ๎นจากนี้แลว๎ ใหถ๎ อื วาํ ผลการสอบเป็นคาํ ระดับขน้ั F หรอื U ๓.๔ การใหค๎ าํ ระดบั ขนั้ S และคําระดบั ข้นั U กระทาได๎ในกรณีท่หี ลักสูตรกาหนดให๎ ประเมนิ ผลด๎วยคาํ ระดบั ขั้น S และคําระดับขั้น U ตอํ ไปนี้ ๑) ประเมนิ รายวิชาที่หลักสตู รกาหนดไว๎วาํ ไมมํ ีการประเมินผลเปน็ ระดับ คะแนน
๕๗ ๒) เปล่ียนจากคาํ ระดับข้ัน I ภายในเวลาที่กาหนด สาหรบั รายวชิ าที่ กาหนดการประเมินผลเป็นคําระดับขัน้ S และ U ๓.๕ การคานวณคะแนนเฉลีย่ (Grade Point Average ; G.P.A) กระทาเมือ่ ส้ินสดุ แตลํ ะภาคการศกึ ษาโดยมวี ธิ ีคดิ ดงั นี้ ๑) ใหเ๎ อาผลรวมทงั้ หมดของผลคณู ระหวํางคําระดบั ข้ันกับจานวนหนวํ ยกิ ตแตลํ ะรายวิชาเป็นตวั ตั้ง หารด๎วยผลรวมของจานวนหนวํ ยกติ ในแตํละ ภาคการศกึ ษา ๒) การคานวณคะแนนเฉลยี่ สะสมใหต๎ ง้ั หารถงึ ทศนิยม ๓ตาแหนํง และให๎ปัด เศษตง้ั แตํทศนยิ มท่ีมคี าํ มากกวํา ๕ข้ันขนึ้ ไป เพอื่ ใหเ๎ หลอื ทศนยิ ม ๒ ตาแหนงํ ๓.6 การคานวณคะแนนเฉลยี่ สะสม (Cumulative Grade PointAverage) กระทา เมือ่ เรยี นจบตลอดปกี ารศกึ ษาและตลอดหลักสตู ร โดยมวี ธิ คี ิดดงั นี้ ๑) ใหเ๎ อาผลรวมท้ังหมดของผลคณู ระหวาํ งคําคะแนนที่ ไดก๎ ับจานวนหนวํ ยกิ ตของแตลํ ะรายวิชาทมี่ กี ารประเมนิ ผลเป็นคาํ คะแนนเป็นตวั ตงั้ หารดว๎ ย จานวนหนวํ ยกิตสะสม ๒) การคานวณคะแนนเฉลีย่ สะสม ใหต๎ งั้ หารถงึ ทศนยิ ม ๓ตาแหนํง และให๎ ปัดเศษตง้ั แตํทศนิยมที่มคี าํ มากกวาํ ๕ข้ึนไปเพอื่ ใหเ๎ หลอื ทศนิยม ๒ ตาแหนงํ ๓) การนบั จานวนหนํวยกิตสะสมเพื่อให๎ครบหลักสตู ร ให๎นับเฉพาะหนํวยกิ ตของรายวิชาท่ีสอบไดเ๎ ทํานัน้ ๔) กรณที เี่ รยี นซ้าในรายวชิ าใด ให๎ใช๎ระดบั คะแนนทไ่ี ด๎ใหมมํ าคานวณ คะแนนเฉลี่ยสะสม ๓.๗ การเลื่อนชน้ั กระทาไดใ๎ นกรณตี ํอไปน้ี ๑) ตอ้ งสอบไดท้ กุ วิชาในปีการศึกษานนั้ ๆ ๒) คะแนนเฉล่ยี สะสมประจาปไี มต่ า่ กวา่ 2.00 ๓.๘ การทาเง่ือนไขในการเล่อื นช้นั มีหลกั เกณฑด์ งั ตอ่ ไปน้ี ๑) ผลการเรยี นหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวชิ าเลอื กเสรี และกลมุ่ วชิ า พน้ื ฐานวิชาชีพ ได้คะแนนระดบั ขนั้ F หรือกล่มุ วชิ าชพี ไดค้ ะแนนระดบั ขน้ั ตา่ กวา่ Cแต่คะแนนเฉล่ยี สะสมประจาปไี ม่ต่ากว่า ๒.๐๐ ๒) นกั ศกึ ษาพยาบาลช้นั ปีท่ี ๑ มีคะแนนเฉลี่ยสะสม ๒ ภาคการศึกษา มากกวา่ ๑.๗๕ และคะแนนเฉลี่ยสะสมประจาปมี ากกวํา ๑.๙๕ ๓.๙ การเรียนซ้าชั้นกระทาได๎ในกรณีตํอไปน้ี
๕๘ ๑) คะแนนเฉลยี่ สะสมประจาปตี า่ กวํา ๒.๐๐ ยกเว๎นในกรณีทใ่ี ห๎ทาเงื่อนไข ๒) การเรยี นซา้ ชน้ั ให๎เลือกเรียนซ้าเฉพาะในรายวชิ าท่ไี ด๎ระดบั ขัน้ ตา่ กวาํ B ในหมวดวชิ าชพี และต่ากวําระดับ C ในหมวดวชิ าอ่นื ๆ ๓) ในการซ้าชน้ั แตํละปี เรยี นได๎ไมเํ กิน ๑ ปีโดยต๎องไดร๎ ับความเหน็ ชอบจาก คณะกรรมการบรหิ ารวทิ ยาลัย ๓.๑๐ การลงทะเบียนเรียนซ้ารายวิชา แบํงเปน็ ๒ กรณี ๑) กรณีได๎คาํ ระดับขั้น F ใหล๎ งทะเบยี นเรียนใหมํ (Repeat) ได๎ไมเํ กนิ ๑ คร้งั ๒) กรณีปรับคาํ ระดับขัน้ ใหส๎ งู ข้นึ ( Re-grade) ให๎ลงทะเบียนเรียนไดใ๎ น รายวิชาท่ไี ดค๎ าํ คะแนนตง้ั แตคํ าํ ระดับขั้น C ลงมา กระทาไดไ๎ มเํ กิน ๑ ครั้ง ๓.๑๑ การเลือ่ นชน้ั การทาเง่ือนไข การเรยี นซา้ และการลงทะเบยี นเรียนเพ่อื ปรับ ระดับข้ัน ตอ๎ งได๎รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารวทิ ยาลัย ข้นั ตอนการลงทะเบียนเรียนซา้ รายวิชา นกั ศึกษาท่ีมผี ลการเรียนในหมวดวิชาชพี พยาบาลได๎คาํ ระดบั ขนั้ D, D+, F และในหมวด วชิ าอ่นื ๆไดค๎ ําระดับข้ันF หรอื U จะต๎องลงทะเบียนเรยี นซ้ารายวิชา ๑. การลงทะเบียนเรียนซ้ารายวชิ า ลงไดไ๎ มํเกนิ ๑ คร้งั และควรดาเนนิ การใหเ๎ สรจ็ ภายในภาคการศึกษาถัดไป ๒. ขนั้ ตอนการลงทะเบยี นซ้ารายวิชา ๒.๑ให๎นักศกึ ษาประสานงานในเร่อื งการจัดการเรียนการสอนกบั อาจารย์ผู๎ ประสานรายวิชา ๒.๒นกั ศึกษาย่นื คาร๎องลงทะเบียนเรียนซา้ รายวิชาคนละ ๒ แผนํ ผํานอาจารย์ผ๎ู ประสานรายวิชาหัวหน๎าภาควิชาเพ่อื ขออนุมัติ ๓. นักศกึ ษานาคาร๎องลงทะเบียนเรียนไปชาระเงินทีห่ ๎องการเงนิ ๔. นกั ศึกษานาสาเนาคารอ๎ งลงทะเบียนเรยี น สํงท่ีงานวัดและประเมินผลการศึกษา ๕. งานวดั และประเมินผลการศึกษา แจ๎งการลงทะเบยี นเรยี นใหอ๎ าจารย์ผู๎ ประสาน รายวชิ าทราบ ๖. อาจารยผ์ ๎ูประสานรายวชิ าจดั การสอนตามตารางท่ีกาหนด ๗. เม่ืออาจารย์ผู๎ ประสานรายวิชาดาเนินการเสร็จส้ินเรียบรอ๎ ย ใหอ๎ าจารยผ์ ๎ู ประสาน รายวชิ าดาเนนิ การแจ๎งผลการศกึ ษาทีง่ านวัดและประเมินผลการศกึ ษา การรายงานผลการเรียน ๑. นกั ศกึ ษาแตลํ ะคนสามารถดูผลการศึกษาผาํ นเวบ็ ไซ ต์งานทะเบียนและประเมินผล ของวิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท โดยใชร๎ หัสผํานคอื รหัสประจาตวั นกั ศึกษา
๕๙ ๒. งานวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษา แจ๎งผลการศึกษาแกํ อาจารย์ประจา ชน้ั ปแี ละ อาจารยท์ ีป่ รึกษา ๓. รายงานผลการศึกษาตลอดปกี ารศึกษาของนกั ศึกษาทุกชัน้ ปี ตํอผ๎ปู กครองและ เจ๎าของทุนภายในสัปดาหท์ ่ี ๘ของปกี ารศกึ ษาถดั ไป นักศกึ ษาทมี่ ีเงอ่ื นไขในการเล่อื นชนั้ ซา้ ช้ัน หรอื หมดสิทธกิ ารเป็นนักศกึ ษา ฝุายวชิ าการฯ จะเชญิ ผป๎ู กครองและนักศึกษามาพบเพ่ือชี้แจงและเซน็ ชือ่ รับทราบ และทาหนงั สือแจง๎ เจา๎ ของ ทุนและสถาบนั พระบรมราชชนก การสาเร็จการศึกษา การสาเรจ็ การศกึ ษา ผูส๎ าเร็จการศกึ ษาต๎องมีคณุ สมบัติ ดงั น้ี 1. คะแนนเฉล่ียสะสมตลอดหลักสตู รไมํตา่ กวาํ ๒.๐๐ 2. จานวนปที เ่ี รยี นไมํเกนิ ๒เทําของเวลาท่หี ลกั สตู รกาหนด 3. สอบไดจ๎ านวนหนํวยกิตครบตามหลกั สูตร 4. ผํานการสอบความรตู๎ ามเกณฑก์ ารวดั และประเมินผลการศกึ ษาของ สถาบัน พระบรมราชชนกและ/หรือมหาวทิ ยาลยั หรือสถาบันการศึกษาที่สถานศึกษาไปสมทบหรือรวํ ม ผลติ 5. ตอ๎ งชาระคําใช๎จาํ ยตาํ งๆ ในการศึกษาครบตามระเบยี บของวิทยาลัย 6. ไดร๎ บั การอนุมตั ิสาเร็จการศกึ ษาจากคณะกรรมการบรหิ ารวทิ ยาลยั และสภา มหาวทิ ยาลยั หรอื สถาบันการศึกษาทวี่ ทิ ยาลัยไปสมทบหรอื รํวมผลติ การให้ปรญิ ญาเกียรตนิ ิยม นักศึกษาหลกั สูตรปรญิ ญาตรที ่ีศึกษาในสถาบนั สมทบมหาวทิ ยาลยั มหิดล จะไดร๎ บั การ พจิ ารณาให๎ได๎รบั ปริญญาเกยี รตินิยมอันดบั ๑ เม่ือสอบได๎แตม๎ เฉล่ยี สะสมไมตํ า่ กวาํ ๓.๕๐ และได๎รบั ปริญญาเกยี รตินยิ มอันดบั ๒ เม่ือสอบได๎แตม๎ เฉลี่ยสะสมไมํต่ากวํา ๓.๒๕ และต๎องมี คณุ สมบัตดิ ังตอํ ไปนี้ ๑. มีเวลาเรียนไมํเกินภาคการศึกษาหรือจานวนปีการศึกษานอ๎ ยทีส่ ดุ ทกี่ าหนดไวใ๎ น หลกั สูตร ๒. มีคณุ สมบตั ิสอบไดป๎ รญิ ญาตรีตามทหี่ ลักสูตรกาหนด ๓. ไมํเคยลงทะเบียนเรยี นซา้ หรอื สอบแกต๎ วั หรอื ปฏบิ ตั ิงานแกต๎ ัวในรายวิชาใดเลย ตลอดหลกั สูตร
๖๐ การไดร้ บั รางวลั เหรียญทอง เหรยี ญเงิน นกั ศกึ ษาทจ่ี ะได๎รบั รางวัลเหรยี ญทอง ๑รางวัลและเหรยี ญเงิน ๑รางวัล โดยจะมอบแกํ บณั ฑติ ในพิธพี ระราชทานปรญิ ญาบตั รและต๎องอยูํในเกณฑ์ตอํ ไปน้ี ๑. มรี ะยะเวลาการศึกษาไมเํ กนิ ระยะเวลาปกตทิ กี่ าหนดไว๎ในหลกั สตู ร ยกเว๎นกรณที ่พี ัก การศกึ ษาเนือ่ งจากเหตจุ าเป็นทางสขุ ภาพหรอื ความจาเปน็ อืน่ ๆ ทีค่ ณะกรรมการบรหิ าร สถานศึกษา เห็นชอบ ๒. เป็นผทู๎ ี่ไมํเคยไดค๎ ําระดบั ข้ัน E, F, U หรือลงทะเบียนเรียนใหมํ ในรายวิชาใดวชิ าหนึ่ง ตลอดหลักสตู ร ๓. มคี วามประพฤตดิ แี ละไมํเคยถูกลงโทษทางวนิ ัย ตัง้ แตํความผิดระดบั ๒ข้ึนไป ๔. เป็นผู๎มีคะแนนเฉล่ยี สะสมตลอดหลักสตู รสงู สดุ ตามลาดับ ในกรณที ไ่ี ด๎คะแนน เทาํ กนั ให๎คณะกรรมการบริหารสถานศึกษาตัดสนิ ตามทเี่ หน็ ชอบ การไดร้ บั กระดุมทอง กระดมุ เงนิ รางวัลกระดุมทอง กระดุมเงิน จะให๎สาหรับนักศกึ ษาท่มี ีผลการเรยี นดแี ละมีความ ประพฤติดี มคี ะแนนเฉลีย่ สะสมสูงสดุ ๒ อนั ดบั แรก ชน้ั ปีละ ๒ รางวัล คอื กระดุมทอง ๑ รางวลั และกระดุมเงนิ ๑ รางวัล โดยจะมอบรางวัลสาหรับนกั ศึกษาชน้ั ปที ่ี ๒-๔ในพิธีไหวค๎ รู ระเบียบการลาและการให้พกั การศึกษา การลาปว่ ย ลากิจ ใหป๎ ฏิบตั ดิ งั น้ี 1.นักศกึ ษาลากจิ ลาปวุ ยได๎ไมํเกินร๎อยละ 20 ของเวลาเรยี นแตํละวิชา ๒.นักศกึ ษาต๎องย่นื ใบลาตอํ อาจารย์ประจาชนั้ ปี ผู๎ดูแลนักศกึ ษา หรอื ผค๎ู วบคุมการฝึก ปฏบิ ัติงานและเสนอตํอผ๎มู ีอานาจให๎ลา ๓. กรณีท่ลี ากจิ นกั ศกึ ษาจะต๎องยืน่ เอกสารการลาลวํ งหน๎าไมนํ ๎อยกวาํ ๓ วันทาการ และตอ๎ งได๎รบั อนญุ าตการลากจิ และลงชือ่ รับทราบการอนญุ าตให๎ลาเสียกอํ นจงึ จะลาได๎ ๔. การลาปวุ ยตัง้ แตํ ๓ วนั ขน้ึ ไปตอ๎ งมีใบรับรองแพทย์ ผูม้ ีอานาจอนุญาตให้นักศึกษาลาป่วยและลากจิ ได้ ดังน้ี ๑. รองผอู๎ านวยการฝุายวิชาการ อนุญาตใหล๎ าได๎ครัง้ ละไมํเกนิ 3 วัน กรณลี าปวุ ย จะตอ๎ งมใี บรบั รองแพทยแ์ นบมาพรอ๎ มด๎วย ๒. ผอ๎ู านวยการโรงพยาบาล หรือหัวหนา๎ หนวํ ยงานตําง ๆ ทีร่ บั ฝกึ ปฏิบัตงิ าน อนญุ าต ใหล๎ าไดค๎ รัง้ ละไมํเกิน3 วัน กรณลี าปวุ ย จะตอ๎ งมใี บรับรองแพทยแ์ นบมาพรอ๎ มด๎วย ๓. ผู๎อานวยการวิทยาลัยอนุญาตให๎ลาได๎นอกเหนอื จากขอ๎ 1, 2 หรอื 3 แตํไมํเกิน 1 ปกี ารศึกษา ๔. ผ๎อู านวยการสถาบันพระบรมราชชนก อนญุ าตให๎นักศึกษาลาไดเ๎ ฉพาะการลาที่
๖๑ เกินอานาจของผอ๎ู านวยการ วิทยาลัย ไดไ๎ มํเกิน 2 ปี ถ๎าเกินจากน้ใี หเ๎ สนอปลัดกระทรวง สาธารณสุขอนุมัติ การลาพกั การศึกษา ๑. นกั ศึกษายน่ื คารอ๎ งขออนุญาตลาพกั การศึกษา ในกรณีตอํ ไปน้ี ๑) ถกู เกณฑห์ รอื ระดมเขา๎ รับราชการทหารกองประจาการ ๒) ไดร๎ ับทุนแลกเปลยี่ นนักศกึ ษาระหวาํ งประเทศหรือได๎เข๎ารวํ มโครงการอนื่ ๆ ซึง่ วิทยาลัยเห็นชอบด๎วย ๓) เจบ็ ปวุ ยต๎องพักรกั ษาตวั เป็นเวลานานเกนิ ร๎อยละ๒๐ของเวลาเรยี นท้งั หมด โดยมใี บรับรองแพทย์จากสถานบริการสาธารณสขุ ของรัฐรับรอง ๔) เมือ่ นักศกึ ษามีความจาเป็นสํวนตัว อาจยนื่ คารอ๎ งขอลาพกั การศึกษาได๎ แตํ ตอ๎ งได๎รบั การศกึ ษาในวทิ ยาลัยแล๎วไมนํ ๎อยกวํา ๑ ภาคการศึกษาและมแี ตม๎ เฉลีย่ สะสมไมตํ า่ กวํา ๒.๐๐ การลาพักการศกึ ษาตามขอ๎ ๑ ให๎นักศกึ ษายน่ื คาร๎องตํอผูอ๎ านวยการเพอ่ื พิจาณาอนมุ ตั ิ ๒. การลาพกั การศึกษาตามขอ๎ ๑ ให๎คร้ังละไมเํ กนิ ๑ ปีการศึกษา ๓. ระหวาํ งทไี่ ด๎รบั อนุมตั ิใหล๎ าพกั การศกึ ษานกั ศกึ ษาจะต๎องรกั ษาสถานภาพการศกึ ษา โดยชาระคําธรรมเนียมการศกึ ษาตามระเบียบวทิ ยาลัยมิฉะนน้ั จะถูกจาหนาํ ยชอ่ื ออกจาก วทิ ยาลัย ๔. นักศึกษาที่ไดร๎ บั อนมุ ตั ใิ ห๎ลาพักการศกึ ษาเม่ือจะกลับเข๎าศึกษาต๎องยนื่ คารอ๎ งขอ กลบั เข๎าศกึ ษาตอํ ผอู๎ านวยการวทิ ยาลัยกํอนกาหนดวนั ชาระคําธรรมเนียมการศกึ ษาไมํน๎อยกวํา ๑ สัปดาห์ ๕. การอนุมตั ิหรอื ไมํอนุมตั ิให๎ลาพักการศึกษาตามความในวรรคกอํ นผ๎ูท่ไี ดร๎ บั มอบหมายจะต๎องระบเุ หตผุ ลในการพจิ ารณาด๎วย ผู้มอี านาจอนุญาตใหน้ ักศึกษาลาพักการศกึ ษาได้ ดังน้ี ๑. ผูอ๎ านวยการวทิ ยาลยั อนญุ าตให๎ลาได๎ไมเํ กิน 1 ปีการศึกษา ๒. ผูอ๎ านวยการสถาบนั พระบรมราชชนกอนุญาตใหล๎ าไดเ๎ ฉพาะการทล่ี าเกนิ อานาจ ของผูอ๎ านวยการวทิ ยาลยั ได๎ไมเํ กิน 2 ปี ถ๎าเกินจากนใี้ ห๎เสนอปลัดกระทรวงสาธารณสุขอนมุ ตั ิ การให้พกั การศึกษา จะกระทาไดใ๎ นกรณีตอํ ไปนี้ ๑. ตั้งครรภ์ หรือคลอดบตุ ร ใหผ๎ ู๎อานวยการวทิ ยาลัยอนุมตั ใิ ห๎พักการศกึ ษาได๎ตาม ระยะเวลาทีค่ ณะกรรมการบริหารวทิ ยาลยั เห็นชอบ ๒. กระทาความผิดทางวนิ ยั และได๎รบั โทษให๎พักการศกึ ษา การลาออกใหป๎ ฏิบตั ิดังน้ี
๖๒ ๑. ใหน๎ ักศกึ ษาย่ืนใบลาออกตอํ ผอู๎ านวยการ วิทยาลยั โดยความยนิ ยอมของบดิ า มารดา หรือผป๎ู กครอง ยกเวน๎ ในกรณที ่ีเปน็ ข๎าราชการลาศกึ ษาตอํ ไมํตอ๎ งใหบ๎ ดิ า มารดาหรือ ผ๎ูปกครองให๎ความยนิ ยอมกไ็ ด๎ ๒. ผอู๎ านวยการ วิทยาลยั มอี านาจในการอนุมตั ิใหน๎ กั ศึก ษาลาออกและให๎มผี ล นับตัง้ แตวํ นั ท่ีผอู๎ านวยการวทิ ยาลยั อนมุ ัติให๎ลาออก การพ้นสภาพการเปน็ นักศึกษา 1. การพน๎ สภาพการเปน็ นกั ศกึ ษากระทาได๎ในกรณีตอํ ไปนี้ 1) สาเรจ็ การศึกษาตามหลกั สตู ร 2) ไดร๎ บั อนมุ ัตใิ หล๎ าออก 3) ไมผํ ํานเกณฑ์การวัดและประเมนิ ผล ในกรณีตํอไปนี้ (ก)คะแนนเฉลยี่ สะสมเมอื่ ส้นิ ภาคการศกึ ษาที่ 2 ของช้นั ปีท่ี 1 ตา่ กวํา 1.75 (ข) จานวนปีทเี่ รียนเกนิ กวํา 2 เทาํ ของเวลาท่ีหลักสตู รกาหนดและแตลํ ะชน้ั ปี ซา้ ช้นั ได๎ไมเํ กิน 1 ครง้ั (ค) ไมสํ ามารถแกค๎ าํ คะแนนD ในหมวดวชิ าชพี และ F ในหมวดวิชาอนื่ ๆไดไ๎ มํ เกิน 1 ครั้ง 4) ไมํชาระคํารกั ษาสถานภาพการเป็นนกั ศึกษา ตามระเบยี บของวทิ ยาลัยใน ระหวํางที่ได๎รับอนญุ าตใหล๎ าพกั การศกึ ษา 5) ไมํชาระคําใชจ๎ ํายในการศึกษาตามระเบียบของวทิ ยาลัย 6) ถกู พิพากษาถึงท่สี ดุ ให๎จาคกุ ในคดอี าญา เวน๎ แตคํ วามผิดโดยประมาทหรือ ความผดิ ลหโุ ทษ 7) เหตุสุดวิสยั หรอื ปวุ ยเรอ้ื รงั และแพทยท์ ่คี ณะกรรมการบรหิ ารวทิ ยาลยั กาหนด ไดล๎ งความเหน็ วําไมํสามารถศึกษาตอํ ได๎ 8) กระทาความผิดทางวนิ ัย และได๎รบั การพิจารณาโทษใหพ๎ ๎นสภาพการเป็นนักศึกษา 9) ถึงแกกํ รรม 2. การพน๎ สภาพการเปน็ นกั ศึกษาตามข๎อ 1 (2) (3) (4) และ (5) ใหม๎ ีผลนับตง้ั แตวํ ันท่ี ผ๎ูอานวยการวิทยาลัยมีคาส่ังให๎พน๎ สภาพการเปน็ นกั ศึกษา 3. การพ๎นสภาพการเป็นนกั ศึกษาตามข๎อ 1 (3) (4) (5) (7) และ(8) ใหม๎ ีผลนบั ต้งั แตํ วันทปี่ ลดั กระทรวงสาธารณสุขหรอื ผ๎ูได๎รับมอบอานาจอนมุ ตั ใิ ห๎พ๎นสภาพการเป็นนกั ศึกษา 4. การพ๎นสภาพการเปน็ นกั ศึกษาตามขอ๎ 1 (6) ใหม๎ ผี ลนับตง้ั แตวํ นั ที่ศาลมีคา พิพากษาถงึ ท่ีสุด ระเบียบการใช้หอ้ งสมดุ
๖๓ สถานทต่ี ้งั ช้นั 2 อาคาร 100 ปี สมเด็จพระศรีนครินทร์ เวลาเปิดทาการ วันจนั ทร์ -วนั ศกุ ร์ เวลา 08.00-๑๙.00 น. วนั อาทิตยแ์ ละวันหยดุ นักขัตฤกษ์ เวลา 13.00- 18.00 น. วนั เสาร์ ปดิ ทาการ การสมัครสมาชกิ ผสู๎ มัครดาเนนิ การสมคั รด๎วยตนเองท่เี คาน์เตอร์หอ๎ งสมุด วิทยาลัยพยาบาล บรมราชชนนี ชัยนาท โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้ 1. อาจารย์ ขา้ ราชการ นกั ศกึ ษา และบุคลากรของวทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท - กรอกแบบฟอร์มการสมคั รสมาชกิ ได๎ทหี่ อ๎ งสมดุ 2. อาจารยพ์ ิเศษ ผเู้ ข้ารบั การอบรม และบคุ ลากรอนื่ ๆ ที่เขา้ ร่วมโครงการหรือ กิจกรรมทีว่ ทิ ยาลยั จดั ขนึ้ ทวี่ ทิ ยาลยั - ย่ืนบตั รประชาชนตอํ เจ๎าหนา๎ ท่เี พ่อื กรอกข๎อมูลลงในระบบหอ๎ งสมุดอัตโนมตั ิ - รหสั สมาชกิ ท่ไี ดจ๎ ะเปน็ เลขเดียวกับเลขประจาตวั ประชาชน - ยืม-คืนหนงั สอื ทกุ คร้งั ต๎องแสดงบตั รประชาชน หรอื บัตรนักศกึ ษา 3. บุคคลภายนอก (ต๎องสมัครดว๎ ยตนเอง) - ยนื่ บตั รประชาชนตอํ เจา๎ หนา๎ ท่ีเพ่อื กรอกข๎อมลู ลงในระบบหอ๎ งสมุดอตั โนมัติ - รหสั สมาชกิ ท่ีได๎จะเปน็ เลขเดยี วกับเลขประจาตัวประชาชน - ยืม-คืนหนังสอื ทกุ ครงั้ ตอ๎ งแสดงบัตรประชาชน อายขุ องบัตรสมาชิก 1. อาจารย์ ขา๎ ราชการ บคุ ลากรของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชยั นาท มอี ายกุ าร ใช๎งานจนกวําจะบอกเลกิ การเป็นสมาชิก หรอื เกษียณอายุราชการ 2. นกั ศึกษา มีอายกุ ารใชง๎ าน 4 ปี 3. อาจารยพ์ ิเศษ ผูเ๎ ข๎ารบั การฝึกอบรม และบุคลากรอื่น ๆ ทเี่ ขา๎ รวํ มโครงการหรือ กิจกรรมท่วี ทิ ยาลยั จัดขึน้ ภายในวทิ ยาลยั มีอายุการใช๎งานตามระยะเวลาของกจิ กรรมน้นั ๆ 4. บคุ คลภายนอก มอี ายุการใช๎งาน 1 ปี ทรัพยากรของหอ้ งสมุด ห๎องสมุดวทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชยั นาท จัดหาทรพั ยากรหอ๎ งสมดุ ทกุ ประเภทเข๎ามาไวใ๎ หบ๎ รกิ ารทัง้ สอื่ ตีพมิ พ์ เชํน หนังสือ คํมู อื ตารา หนังสอื อ๎างองิ รายงาน ประจาปี วิทยานิพนธ์ รายงานการวจิ ยั วารสาร นิตยสาร จุลสาร หนงั สอื พมิ พ์ และสอ่ื ไมํ ตีพมิ พ์ เชํน ดวี ีดี ซดี ี วซี ดี ี ฐานขอ๎ มูลอิเลก็ ทรอนิกส์ ซึ่งให๎ขอ๎ มลู บรรณานุกรม สาระสังเขป และเอกสารฉบับเตม็ โดยสบื คน๎ ผาํ นเครอื ขาํ ยอนิ เตอรเ์ น็ตวทิ ยาลยั ขอ้ ปฏบิ ัตสิ าหรบั ผู้ใช้ห้องสมุด
๖๔ ๑. การยืมต๎องแสดงบัตรสมาชกิ ทุกครงั้ 2. ห๎ามใชบ๎ ัตรผูอ๎ ื่นยืมหนังสอื 3. วาง/ฝากกระเปา๋ หรอื ส่งิ ของอนื่ ๆ (ยกเวน๎ ของมคี ํา) ไว๎ท่ตี ู๎ลอ็ กเกอรห์ นา๎ หอ๎ งสมดุ 4. แตํงกายสุภาพเรียบร๎อยและสารวมกริ ิยามารยาทในการใชห๎ อ๎ งสมดุ 5. ห๎ามนาอาหารและเครอื่ งดมื่ ของขบเคย้ี วเขา๎ มาในห๎องสมุด 6. หา๎ มสบู บุหรใ่ี นหอ๎ งสมดุ 7. ถา๎ มขี ๎อสงสยั ในการสืบค๎นขอ๎ มลู ให๎สอบถามบรรณารกั ษห์ รอื เจา๎ หน๎าทหี่ อ๎ งสมุด 8. ผ๎ูใชบ๎ ริการหอ๎ งสมุดต๎องรับผิดชอบทรพั ยส์ นิ และของมีคําของตนเอง กรณีทเ่ี กิดการ สญู หาย 9. วารสาร/นิตยสาร/หนงั สือพมิ พ์ หลังจากนักศึกษาอํานเสร็จแลว๎ ให๎นามาเกบ็ ไวท๎ เ่ี ดมิ 10.วางหนังสอื ท่ใี ชเ๎ สร็จแล๎วบนโตะ๏ ใหเ๎ ปน็ ระเบียบ ไมํต๎องเกบ็ ข้ึนชัน้ 11. ผ๎ใู ชห๎ อ๎ งสมดุ ตอ๎ งใช๎บรกิ ารตําง ๆ ใหเ๎ สรจ็ ส้นิ กํอนเวลาปิดทาการ 30 นาที เพือ่ ให๎ เจ๎าหนา๎ ท่ีหอ๎ งสมดุ ไดม๎ เี วลาสารวจความเรยี บร๎อยกํอนปิดห๎องสมุด ๑2. ลกุ จากท่ีน่ังอํานหนงั สอื เลอื่ นเก๎าอไ้ี ว๎ใตโ๎ ตะ๏ และปดิ พัดลมให๎เรยี บรอ๎ ย ๑3. ให๎เจ๎าหนา๎ ท่ตี รวจหนงั สือหรือทรัพยากรห๎องสมดุ ทกุ ประเภททน่ี าออกมาดว๎ ยทุก ครงั้ การใชบ๎ รกิ ารยืม-คืนหนังสือและทรพั ยากรอืน่ ๆ ของหอ๎ งสมุด การยมื ๑. ผใ๎ู ช๎บรกิ ารนาทรัพยากรสารสนเทศทต่ี อ๎ งการยืมใหเ๎ จ๎าหนา๎ ทที่ เ่ี คานเ์ ตอรบ์ ริการ ๒. แสดงบัตรประจาตัว หรือแจ๎งหมายเลขประจาตวั สมาชกิ ตํอเจา๎ หนา๎ ท่ี ๓. เจ๎าหน๎าท่ที าการยืมทรพั ยากรผาํ นระบบห๎องสมดุ อตั โนมัติ ULibM ๔. เจา๎ หนา๎ ท่ีประทับวนั กาหนดสํงทดี่ ๎านหลงั ทรัพยากรสารสนเทศท่ยี ืม และสงํ คืนให๎ ผ๎ใู ชบ๎ ริการ การคืน 1. ผูใ๎ ชบ๎ ริการนาทรพั ยากรสงํ คนื ทเี่ คานเ์ ตอร์ 2. หากเกนิ กาหนดสงํ ผใ๎ู ช๎บริการต๎องชาระคาํ ปรบั ตามระเบยี บห๎องสมดุ สิทธใ์ิ นการยมื และคา่ ปรบั ชนิดของส่ิงพมิ พ์ ผมู้ สี ิทธยิ์ ืม จานวน ระยะเวลา คา่ ปรับ 1. หนังสอื /ตารา/ - อาจารย์ 15 30 วัน 3 บาท/วนั เลมํ 7 วนั 3 บาท/วนั ตาราหลกั / - ขา๎ ราชการ/พนักงาน/ลูกจ๎าง 7 เลมํ 7 วนั 3 บาท/วนั 7 เลํม 7 วนั 3 บาท/วัน วิทยานิพนธ์/ - นักศกึ ษา รายงานการวจิ ัย - อาจารย์พเิ ศษ ผเ๎ู ขา๎ รบั การ
๖๕ ฝึกอบรมของวทิ ยาลยั 7 เลมํ - บุคคลภายนอก 7 เลมํ 7 วัน 3 บาท/วัน 2. หนังสืออ๎างอิง - อาจารย์ 3 เลมํ 30 วัน 3 บาท/วนั - ขา๎ ราชการ/พนกั งาน/ลกู จา๎ ง - - - - นกั ศกึ ษา -- - - อาจารย์พเิ ศษ ผเ๎ู ข๎ารบั การ - - - ฝกึ อบรมของวิทยาลยั - บุคคลภายนอก -- - 3. วารสาร/นติ ยสาร - อาจารย์ 15 เลํม 15 วนั 3 บาท/วนั - ข๎าราชการ/พนักงาน/ลูกจ๎าง 3 เลํม 7 วัน 3 บาท/วนั - นักศึกษา 3 เลํม 7 วนั 3 บาท/วนั - อาจารยพ์ ิเศษ ผูเ๎ ข๎ารบั การ 3 เลมํ 7 วัน 3 บาท/วนั ฝกึ อบรมของวิทยาลัย - บุคคลภายนอก 3 เลมํ 7 วนั 3 บาท/วนั 4. สื่อวดี ที ัศน์ - อาจารย์ 7 แผํน 7 วัน 3 บาท/วนั - ขา๎ ราชการ/พนักงาน/ลูกจา๎ ง 3 แผนํ 3 วัน 3 บาท/วนั - นักศึกษา 3 แผนํ 3 วัน 3 บาท/วัน - อาจารย์พิเศษ ผเ๎ู ขา๎ รบั การ 3 แผนํ 3 วัน 3 บาท/วนั ฝกึ อบรมของวทิ ยาลัย - บุคคลภายนอก -- - 5. หนังสอื สารอง ให๎บริการเฉพาะภายในหอ๎ งสมดุ เทําน้นั ไมํอนุญาตให๎ยืมออกนอก หอ๎ งสมดุ หมายเหตุ ๑. การคนื หนงั สอื เกินกาหนด จะคิดคาํ ปรับทกุ วัน นับรวมวันหยุดราชการและ วนั หยุดนกั ขตั ฤกษด์ ว๎ ย ๒. กรณียมื เกนิ กาหนดยาวนาน ๒.๑ หากครบกาหนดสงํ แลว๎ แตํยังไมสํ ํงคืน หอ๎ งสมดุ จะแจ๎งรายชื่อผู๎ทยี่ มื หนังสอื เกนิ กาหนดสํง เพ่ือใหเ๎ ซ็นช่อื รับทราบ ภายใน ๗ วนั หลงั จากวันที่ถึงกาหนดสํง และหากยัง ไมไํ ด๎นาหนังสอื มาคืน จะนารายช่ือเสนอรองผูอ๎ านวยการฝุายวชิ าการ เพื่อดาเนินการตํอไป ๒.๒ สาหรบั ผท๎ู น่ี าหนังสือออกจากหอ๎ งสมุดโดยไมไํ ดย๎ มื ใหถ๎ กู ต๎อง ถ๎าจบั ได๎จะถูก ดาเนินการ ดงั นี้
๖๖ - ซอ้ื หนังสอื ชดใชห๎ อ๎ งสมุดตามจานวนเลมํ ทห่ี ยบิ ออกมา ขนึ้ อยูกํ ับกรณี ทง้ั น้ี ใหอ๎ ยํใู นการพจิ ารณาของคณะกรรมการบริหารวิทยาลัย - ในกรณีทีพ่ บหนังสอื ท่ไี มไํ ดย๎ มื และหาคนรบั ผดิ ชอบไมํได๎ นักศึกษาทกุ ชัน้ ปี ต๎องรํวมกนั รบั ผิดชอบโดยให๎ซ้อื หนังสือเลํมนัน้ ๆ มาชดใช๎หอ๎ งสมดุ ๓. กรณที ่ีทาหนงั สือหอ๎ งสมดุ หาย ๓.๑ ต๎องมาแจ๎งเจ๎าหน๎าท่หี อ๎ งสมดุ กํอนวันกาหนดสํง แล๎วจึงหาหนงั สือมาชดใช๎ ภายในเวลา ๒ อาทติ ย์ (นับจากวันท่แี จง๎ หาย) ถ๎าหาหนงั สือมาคืนไมไํ ด๎ ให๎ซอ้ื หนงั สอื เลมํ นน้ั ๆ มาชดใช๎ แตถํ า๎ ไมํสามารถหาซอื้ มาชดใชไ๎ ดต๎ ๎องเสยี คําปรับเปน็ ๒ เทาํ ของราคาหนงั สือ ๓.๒ ถ๎ามาแจง๎ หลังวันกาหนดสงํ จะถกู ปรบั เงนิ ตามจานวนทีเ่ กินกาหนดสงํ จนถงึ วันทีแ่ จ๎งหาย แล๎วต๎องดาเนนิ การตามข๎อท่ี ๓.๑ ๓.๓ ในกรณีทีน่ กั ศึกษาไมยํ อมเสยี คาํ ปรับจากจานวนทีถ่ ูกปรบั จะถูกถอนสทิ ธ์ิใน การใชห๎ ๎องสมุด ระเบยี บการอยู่หอพกั นักศึกษาท่ีเข๎าพกั ในหอพกั ของวทิ ยาลัย ตอ๎ งปฏิบตั ิตามระเบียบการอยูํหอพัก ดังน้ี 1. ทาความสะอาดหอพกั ระเบยี งด๎านหน๎าและหลังตลอดจนช้ันวางรองเท๎าทุกวัน และทาความสะอาดบานเกรด็ ม๎งุ ลวดทกุ เดือน 2. ไมทํ ้งิ ผา๎ อนามัยลงในโถส๎วม หํอกระดาษให๎เรียบรอ๎ ย กํอนนาทงิ้ ในถังขยะ 3. หา๎ มแชสํ ิง่ ของ ท้ิงเศษผงตาํ ง ๆ หรอื ล๎างจาน ชามใสอํ าหารในอาํ งล๎างหน๎าแตํให๎ ล๎างในบรเิ วณทีจ่ ดั ไวใ๎ ห๎ 4. หา๎ มแขวนเสื้อผ๎าตามประตู ขอบหนา๎ ตาํ ง และบานม๎ุงลวด 5. ห๎ามตอกตะปู ตดิ ตะขอกาว และตดิ ภาพผนงั หอ๎ งเปน็ อันขาด 6. จดั ของใช๎ตาํ ง ๆ ในบรเิ วณที่พักใหเ๎ ปน็ ระเบียบเรยี บรอ๎ ย 7. ซักผ๎าไดเ๎ ฉพาะชดุ ชน้ั ใน ถงุ เท๎า รองเทา๎ และตากไว๎หลงั ห๎อง ห๎ามตากบนขอบ ระเบยี ง สวํ นเสอื้ ผา๎ ที่นักศึกษาใช๎เปน็ ประจาให๎นกั ศกึ ษาสงํ ซกั ตามทวี่ ิทยาลัยกาหนด 8. หา๎ มวางสิ่งของหรอื ต๎นไม๎บนขอบระเบยี ง 9. ห๎ามนาอาหารข้นึ ไปรับประทานบนหอพัก ยกเว๎นขนมปัง ขนมแห๎งและเครอื่ งดื่ม 10. ห๎ามสงํ เสยี งดังรบกวนผอู๎ น่ื เชํน เปดิ วทิ ยเุ สียงดัง พดู คุยเสยี งดัง ฯลฯ 11. ห๎ามมีและ/หรือเสพสรุ าหรือเครื่องดม่ื ทมี่ ีสวํ นผสมของแอลกอฮอล์ หรอื เสพของ มึนเมาทุกชนดิ 12. หา๎ มเสพยาเสพตดิ หรอื มียาเสพติดไว๎ในครอบครองหรือจาหนําย 13. ห๎ามมสี วํ นเก่ียวขอ๎ งหรอื สนับสนุนการพนนั ใด ๆ
๖๗ 14. ห๎ามกระทาการอนั ไดช๎ ือ่ วําเปน็ ผปู๎ ระพฤติชวั่ เชํน หมกมนํุ มวั เมากับเพศตรงข๎าม ในทางชสู๎ าว กระทาการหรือยอมให๎ผอู๎ ืน่ กระทาการท่ีจะนามาซ่ึงความเส่อื มเสยี ชื่อเสยี งของ ตนเองและวิทยาลยั 15. ห๎ามนาสัตว์เล้ียงเข๎ามาเล้ยี งในหอพัก 16. การจัดงานเลีย้ งสงั สรรค์ หรอื กจิ กรรมใด ๆ ในหอพัก ต๎องไดร๎ บั อนญุ าตจาก ผอ๎ู านวยการผาํ นรองผ๎อู านวยการฝุายวชิ าการและกิจการนักศึกษากํอนทกุ ครง้ั 17. ใชน๎ า้ และไฟฟูาในหอพกั ให๎เป็นไปโดยประหยดั 18. หา๎ มนาบุคคลภายนอกเขา๎ หอพัก 19. ไมอํ นุญาตให๎นกั ศกึ ษาชายอยใํู นบรเิ วณหอพักหญิงต้งั แตํ เวลา 22.00 น. 20. ไมอํ นุญาตให๎นักศึกษาหญงิ เข๎าไปในบริเวณหอพักชาย 21. เมือ่ จะลงจากหอพักให๎แตงํ กายสุภาพ โดยไมแํ ตงํ กายทไี่ มํเหมาะสม เชนํ ไมใํ สํเส้ือ เกาะอก เสือ้ สายเดยี่ ว หรือกางเกงขาส้นั ลงจากหอพัก 22. อนุญาตให๎นักศกึ ษาใชเ๎ ครอ่ื งใชไ๎ ฟฟูาท่ไี มเํ กดิ ความรอ๎ นตามท่วี ทิ ยาลัยฯ กาหนด คอื ๑) วทิ ยเุ ทป วทิ ยหุ ูฟัง เครอ่ื งเลํนซดี ี ๒) เครอ่ื งชาร์จแบตเตอร่ี ๓) พัดลม ๔) โคมไฟ 23. กรณีหลอดไฟฟูาหรอื ปลั๊กไฟฟาู ตลอดจนครภุ ณั ฑ์ในห๎องพกั หอ๎ งนา้ หรือระเบียง ชารดุ เสยี หายให๎สํงซอํ ม 24. หา๎ มแชํสงิ่ ของ ทง้ิ เศษอาหารลงในอาํ งล๎างหน๎า หรอื ทอํ น้าให๎ทิ้งขยะลงในถังขยะ โดยเก็บใสํถุงกํอนทิ้งทกุ ครง้ั แล๎วนาไปท้ิงทโ่ี รงทงิ้ ขยะทุกวนั 25. หา๎ มรดน้าตน๎ ไม๎ หรือราดนา้ หรือทิ้งเศษผงตําง ๆ ลงจากระเบยี งหอพกั การดูแลหอพัก 1. อาจารย์งาน ปกครอง แมํบา๎ นและ/หรอื นกั ศกึ ษาท่เี ป็นกรรมการหอพักจะมกี าร ตรวจเย่ียมหอพกั ทกุ สัปดาห์ 2. เมอื่ เกิดอัคคภี ัย เชนํ ไฟฟูาช็อต ไฟไหม๎ ให๎ปฏบิ ัติดังน้ี ๑) ปดิ สวทิ ซ์ไฟฟาู และกดออดฉุกเฉินประจาหอพัก ๒) ใช๎เครื่องดบั เพลงิ ๓) แจ๎งให๎อาจารยเ์ วร อาจารย์หรอื เจ๎าหนา๎ ท่ีของวทิ ยาลยั ฯ ทราบโดยดวํ น
๖๘ ระเบียบการเขา้ – ออกนอกบริเวณวิทยาลัยพยาบาล ๑. การออกนอกบริเวณให๎ออกตามเวลาทก่ี าหนด ดงั น้ี วนั ราชการ เวลา ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. และ เวลา ๑๖.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. วันหยุดราชการและวันหยดุ นักขัตฤกษ์ เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. โดยสามารถเข๎า-ออกในวัน จันทร์ พธุ และวนั ศกุ ร์ หากไมมํ ีกจิ กรรมหรือการ เรียนการสอน หากนอกเหนือจากวนั ดงั กลําว ใหเ๎ สนอขออนญุ าตจากอาจารยท์ ่รี บั ผิดชอบดแู ล นักศกึ ษา ๒. การขออนญุ าตกลับไปคา๎ งคืนทบี่ า๎ นจะอนุญาตเฉพาะวนั หยดุ หรือเวรหยุดเทํานน้ั โดยลงชื่อ - สกลุ วนั เวลา ที่ออก และเข๎าวิทยาลัยฯ ในสมดุ ท่จี ดั เตรยี มไว๎ให๎ ๓. ในกรณที ่ไี มํใชํวันหยดุ หรือเวรหยุด ตอ๎ งขออนุญาตจากอาจารย์ทรี่ ับผดิ ชอบดูแล นกั ศึกษา โดยจัดสงํ บันทึกขออนุญาตกํอนลวํ งหน๎าอยาํ งนอ๎ ย 3 วนั ๔. การออกนอกวทิ ยาลัยฯ โดยไมํไดร๎ บั อนญุ าตหรือปฏิบตั ไิ มถํ กู ระเบยี บ มคี วามผดิ ทาง ความประพฤติ ระเบยี บการเยยี่ มนกั ศกึ ษา นกั ศกึ ษาจะต๎องปฏบิ ัติตามระเบียบและแจง๎ ให๎ผ๎ูมาเยย่ี มทราบ และปฏิบัติดังน้ี 1. เยี่ยมตามเวลาที่กาหนด วนั ราชการ เวลา ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. และ เวลา ๑๖.๐๐ - ๑๘.๐๐น. วันหยดุ ราชการ เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. 2. ให๎ผม๎ู าเยี่ยมพบนักศึกษาได๎บรเิ วณทจ่ี ัดไว๎ใหเ๎ ทาํ นัน้ 3. นักศกึ ษาและผูม๎ าเย่ยี มควรแตํงกายใหส๎ ุภาพ และรกั ษามารยาท หมายเหตุ กรณที ีน่ กั ศึกษาไมปํ ฏิบัตติ ามระเบยี บหอพกั งาน วนิ ยั และปกครอง และงาน กิจการ นกั ศึกษาและทานบุ ารุงศิลปวัฒนธรรม จะเชิญผป๎ู กครองนกั ศึกษามาพบ ระเบียบการขอผ่อนผันการตรวจเลอื กเข้ารบั ราชการทหารกองประจาการ 1. นักศึกษาท่มี ีอายุครบ ๒๐ปีบริบรู ณแ์ ละมีความประสงค์ขอผํอนผันการตรวจเลอื ก เข๎ารับราชการทหารกองประจาการใหต๎ ิดตํอขอรับแบบฟอร์มการขอผอํ นผันฯ ไดท๎ ่ีงาน กิจกรรมพฒั นานกั ศกึ ษาโดยดาเนนิ การตามกาหนด ดังนี้ - วนั ท่ี ๑ -๓๐ธันวาคม นกั ศึกษายนื่ แบบฟอรม์ ขอผํอนผันฯ พรอ๎ มแนบสาเนา หมายเรยี กเข๎ารับราชการทหาร(ส.ด.๓๕) และสาเนาใบสาคญั (แบบส.ด.๙) ทีง่ านแนะแนวและ ให๎คาปรกึ ษา
๖๙ - วันที่ ๒-๓๑มกราคม วิทยาลัยฯ ดาเนนิ การขอผอํ นผันฯ ไปยงั ผวู๎ ําราชการจงั หวดั ที่ นกั ศึกษามภี มู ลิ าเนาทหารอยูํ 2. นักศกึ ษาที่ได๎รบั การผอํ นผันฯ ต๎องไปรับหมายเรียกเข๎ารบั ราชการทหารทอี่ าเภอ ซง่ึ เปน็ ภูมลิ าเนาทหารและแสดงตนตํอคณะกรรมการตรวจเลือกเปน็ ปีๆ ไป จนกวําจะสาเร็จ การศึกษาหรือพ๎นสภาพการเปน็ นกั ศึกษา
๗๐ บทท่ี 5 วินัยและการรักษาวนิ ยั วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท กาหนดใหน๎ กั ศึกษาถือปฏบิ ตั เิ รอ่ื งวินัยการ รักษาวนิ ยั ตามคํมู อื ปฏบิ ัตกิ ารจดั การศกึ ษาสาหรบั วทิ ยาลัยในสงั กัด สถาบนั พระบรมราชชนก พ.ศ. 2560วาํ ดว๎ ยหมวด4 วนิ ยั และโทษทางวินยั ดงั นี้ ๑. นกั ศึกษาต๎องถอื ปฏบิ ัตติ ามระเบยี บ ข๎อบงั คบั คาส่ังหรอื ข๎อกาหนดตามระเบยี บของ วทิ ยาลยั โดยเครงํ ครดั ๒. วินยั และการรกั ษาวนิ ยั นกั ศึกษาตอ๎ งปฏิบตั ิ ดังน้ี ๑) นกั ศกึ ษาตอ๎ งปฏิบตั ติ ามหลักศลี ธรรม จรยิ ธรรม และวฒั นธรรมอนั ดขี อง สังคมไทยในทุกโอกาส ๒) นักศกึ ษาต๎องรักษาไวซ๎ ึ่งความสามัคคี ความเป็นระเบียบเรยี บรอ๎ ย และชอ่ื เสยี ง เกียรตคิ ุณของวิทยาลยั ๓) นกั ศึกษาต๎องประพฤตติ นเป็นสุภาพชน ไมปํ ระพฤตใิ นสง่ิ ที่อาจนามาซ่งึ ความ เส่ือมเสยี แกตํ นเอง บดิ า มารดา ผปู๎ กครอง วทิ ยาลัยหรอื วิชาชีพ ๔) นักศกึ ษาต๎องเชอ่ื ฟังคาสั่งของอาจารย์หรอื ผด๎ู แู ลนกั ศกึ ษาโดยเครงํ ครดั ๕) นักศึกษาต๎องไมมํ ี สุราหรอื ด่มื สุราหรอื เครือ่ งด่ืมท่มี ีสํวนผสมของแอลกอฮอล์ ๖) นกั ศกึ ษาต๎องไมํเสพสารเสพตดิ หรือมสี ารเสพติดไว๎ในครอบครองหรอื จาหนําย ๗) นักศึกษาต๎องไมเํ ลนํ หรอื มีสวํ นเกี่ยวข๎องหรอื สนับสนนุ การพนันใด ๆ ๘) นักศกึ ษาต๎องไมํกระทาตนให๎เป็นผ๎มู ีหนี้สนิ ลน๎ พ๎นตวั จนมีเร่อื งเสยี หายถึงผ๎ูอืน่ หรอื สถานศกึ ษา ๙) นักศกึ ษาต๎องไมนํ าส่งิ ผิดกฎหมายเข๎ามาในบรเิ วณวิทยาลยั หรอื มีสิง่ ผิดกฎหมาย ไวใ๎ นครอบครอง ๑๐) นกั ศึกษาต๎องไมมํ ีหรือพกพาอาวธุ หรือวตั ถรุ ะเบิด ๑๑) นกั ศึกษาตอ๎ งไมํกอํ หรอื มีสวํ นเก่ียวข๎องในการทะเลาะววิ าทกบั นกั ศกึ ษาด๎วยกนั หรือกบั ผอ๎ู นื่ ๑๒) นักศกึ ษาต๎องไมลํ ักขโมย ยักยอก หรอื ทาลายทรพั ย์สนิ ของผ๎อู น่ื หรอื ของ วทิ ยาลยั
๗๑ ๑๓) นักศึกษาต๎องไมํกระทาการอันใด ซึ่งเชื่อวาํ เปน็ ผ๎ปู ระพฤตชิ ัว่ เชนํ กระทาผดิ ศีลธรรมทางดา๎ นชสู๎ าว กระทาการใดหรอื ยอมให๎ผอู๎ ืน่ กระทาการใดซ่ึงอาจทาให๎เสือ่ มเสีย ช่ือเสยี งของตนเอง วทิ ยาลัย หรอื วชิ าชพี ๑๔) นักศกึ ษาตอ๎ งไมทํ ุจรติ รายงานเทจ็ ปลอมแปลงลายมอื ชอ่ื หรือปลอมแปลง เอกสาร ๑๕) ในการศึกษาภาคปฏิบัตินักศกึ ษาจะต๎องปฏบิ ตั ดิ ๎วยความร๎ู วิจารณญาณและ ความรอบคอบ มิใหเ๎ กดิ ความเสยี หายแกผํ ๎ูใช๎บรกิ ารโดยปฏบิ ัติ ดงั นี้ (ก) ปฏิบตั งิ านตรงตามเวลาท่ีกาหนด (ข) ปฏบิ ตั งิ านตามขอบเขตหนา๎ ทร่ี บั ผิดชอบภายใตก๎ ฎ ระเบยี บของวิทยาลัย และสถานฝึกปฏิบัตงิ าน (ค) เคารพในสิทธขิ องผใ๎ู ช๎บริการโดยเครํงครัด (ง) รายงานอาจารยน์ ิเทศหรือผด๎ู แู ลนกั ศกึ ษาทราบโดยทันทีทีป่ ฏบิ ตั งิ าน ผดิ พลาด หรอื มีเหตุการณ์ไมํปกตเิ กดิ ขนึ้ (จ) มมี นุษยสมั พันธท์ ีเ่ หมาะตอํ ผใู๎ ชบ๎ รกิ าร ผร๎ู ํวมงานและผูเ๎ ก่ียวข๎อง (ฉ) มีความซื่อสัตยต์ อํ ผู๎ใชบ๎ ริการ ผูร๎ ํวมงานและผู๎เก่ยี วข๎อง (ช) ใหค๎ วามรํวมมอื ตํอผ๎รู ํวมงานตามความเหมาะสม (ซ) ไมํปฏบิ ัตกิ ิจกรรมอน่ื ในเวลาปฏิบัตงิ านโดยมิได๎รับอนุญาตจากอาจารย์ นเิ ทศหรือผดู๎ แู ลนักศกึ ษา (ฌ) ในขณะปฏบิ ตั งิ าน เมอ่ื มีกรณีจาเปน็ ใดก็ตามทต่ี ๎องออกนอกสถานทฝ่ี ึก ปฏบิ ตั งิ าน ต๎องไดร๎ ับอนญุ าตจากอาจารยน์ ิเทศ หรอื ผดู๎ แู ลนกั ศกึ ษากอํ น (ญ) ในกรณที ีน่ กั ศกึ ษาต๎องปฏบิ ัตงิ านนอกเหนือจากวนั เวลาทกี่ าหนด ตอ๎ ง ไดร๎ บั ความเห็นชอบจากอาจารยน์ ิเทศ หรือผด๎ู ูแลนกั ศกึ ษากอํ น ๓. โทษทางวนิ ัยมี ๗ สถาน 1) วาํ กลําวตกั เตือน 2) ภาคทณั ฑ์ 3) ควบคุมความประพฤตแิ ละหรือบาเพญ็ ประโยชนแ์ ละหรอื ปฏบิ ตั งิ านเพิ่มเติม 4) ตดั คะแนนความประพฤติหรอื ตดั คะแนนการปฏิบตั งิ าน 5) ยืดเวลาสาเรจ็ การศึกษา 6) พักการศึกษา 7) ให๎พน๎ สภาพจากการเป็นนกั ศกึ ษา ๔. ความผดิ ทางวินัยแบงํ เป็น ๓ ระดบั ดงั น้ี ๑) ระดับ ๑ เป็นการประพฤตผิ ดิ ระเบยี บวนิ ัยทที่ าให๎เกิดความเส่อื มเสียตอํ ตนเอง และผอู๎ นื่ เล็กน๎อย ตวั อยํางเชํน
๗๒ (ก) แตงํ กายไมสํ ุภาพ ไมํถูกตอ๎ งตามระเบียบของวทิ ยาลยั (ข) รบกวนความสงบเรยี บร๎อย กํอเหตรุ าคาญ (ค) ไมรํ กั ษาระเบียบของวทิ ยาลัยและแหลงํ ฝึกภาคปฏบิ ตั ิ (ง) สบู บหุ ร่ีในวทิ ยาลยั และสถานท่ฝี ึกปฏบิ ตั ิ (จ) ไมตํ ้ังใจเลาํ เรียนและไมกํ ระทาการใด ๆ ตามเวลาทว่ี ิทยาลยั กาหนด (ฉ) ขดั คาสัง่ หรอื หลีกเลยี่ งไมปํ ระพฤติตามคาส่ังของอาจารย์ หรอื ผ๎ูดูแล นกั ศึกษา ซึ่งสงั่ โดยหน๎าที่ชอบด๎วยกฎหมายและระเบียบของวทิ ยาลยั ทาใหเ๎ กิดผลเสยี หาย เล็กน๎อย (ช) การฝกึ ปฏบิ ัตงิ านผิดพลาด แตํไมเํ ป็นอันตรายแกผํ ๎ใู ช๎บรกิ ารและหรือ เสยี หายตํอทรพั ยส์ นิ โดยไมํเสอ่ื มเสียช่อื เสยี งตอํ วิทยาลยั และวิชาชพี (ซ) ความผิดอนื่ ท่ีเทยี บไดใ๎ นระดบั เดียวกัน ๒) ระดับ ๒ เป็นการประพฤตผิ ิดระเบยี บวนิ ยั ท่ีทาใหเ๎ กดิ ความเสอ่ื มเสียตํอตนเอง ผอ๎ู น่ื วิทยาลัย และวิชาชพี ไมรํ า๎ ยแรง ตัวอยํางเชนํ (ก) กระทาความผดิ เคยถูกลงโทษภาคทัณฑม์ าแล๎ว 1 คร้งั (ข) นาบคุ คลอ่ืนเขา๎ มาอยูใํ นหอพัก (ค) กลาํ ววาจาไมํสภุ าพ แสดงกิรยิ าวาจาไมํมสี ัมมาคารวะตอํ อาจารย์ ผู๎ดแู ล นักศกึ ษา หรือบคุ คลอนื่ (ง) มหี นี้สินลน๎ พน๎ ตัว (จ) ขัดคาส่ังหรอื หลีกเหล่ยี งไมํปฏิบัติตามคาสง่ั ของอาจารยห์ รือผูด๎ ูแล นักศึกษา ซ่งึ สั่งโดยหน๎าท่ีโดยชอบด๎วยกฎหมาย และระเบยี บของวทิ ยาลัย ทาใหม๎ ีผลเสยี หาย ไมรํ า๎ ยแรง (ฉ) การปฏบิ ตั งิ านผดิ พลาดท่ีเปน็ อันตรายแกผํ ใ๎ู ชบ๎ รกิ ารและหรือเสยี หายตํอ ทรัพยส์ ินหรอื วิทยาลัยและวิชาชีพ แตไํ มํร๎ายแรง (ช) ความผดิ อ่นื ท่เี ทียบได๎ในระดับเดยี วกนั ๓) ระดับ ๓ เปน็ การประพฤตผิ ดิ ระเบยี บวนิ ัยท่ที าใหเ๎ กิดความเสอื่ มเสยี ตอํ ตนเอง ผู๎อื่น วทิ ยาลยั และวชิ าชพี อยํางร๎ายแรง ตวั อยํางเชนํ (ก) รายงานเท็จดว๎ ยวาจาหรอื ลายลกั ษณอ์ ักษร (ข) กํอการวิวาท ทารา๎ ยรํางกาย หรือกํอความไมํสงบเรียบรอ๎ ย (ค) มอี าวุธครอบครองในวทิ ยาลยั หรือแหลงํ ฝกึ ภาคปฏิบตั ิ (ง) เลํนการพนัน (จ) ดื่มสรุ า เสพสารเสพติด หรือของมึนเมาทกุ ชนดิ หรอื มีไว๎ในครอบครอง (ฉ) ลักทรัพยแ์ ละหรอื ฉ๎อโกง (ช) ประพฤตผิ ดิ ในทางช๎ูสาว
๗๓ (ซ) ทาลายทรพั ยข์ องทางราชการ วิทยาลยั หรอื บุคคลอ่ืน (ฌ) ปลอมแปลงลายมือชอื่ ผู๎อ่นื หรอื แกไ๎ ขเอกสาร (ญ) หลกี เลยี่ งการปฏิบัติงาน หรือขาดความรับผดิ ชอบในหนา๎ ที่ (ฎ) ทาความผดิ ทางอาญา หรือต๎องโทษทางคดีอาญา (ฏ) ขัดคาสัง่ หรือหลีกเลย่ี งไมํปฏบิ ัตติ ามคาสั่งของอาจารยห์ รอื ผด๎ู แู ลนกั ศึกษา ซึ่งส่งั โดยชอบดว๎ ยกฎหมาย และระเบยี บของวทิ ยาลัย ทาใหม๎ ีผลเสยี หายอยํางรา๎ ยแรง (ฐ) การปฏบิ ตั ิงานผิดพลาดทเ่ี ปน็ อนั ตรายรา๎ ยแรงแกผํ ใ๎ู ช๎บริการ และหรือ เสื่อมเสียตํอวทิ ยาลัย ตลอดจนวชิ าชพี (ฑ) ทจุ ริต เชํน การสอบ การเงิน เปน็ ต๎น (ฒ)ความผดิ อืน่ ท่เี ทยี บได๎ในระดับเดียวกนั ๕. การพิจารณาโทษทางความผิดมี 3 ระดบั ดงั นี้ ๑) ระดับ ๑ มี ๔ สถาน คอื (ก) วาํ กลําวตักเตือนดว๎ ยวาจาหรือเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร (ข) ภาคทณั ฑ์ (ค) ควบคมุ ความประพฤตแิ ละหรอื บาเพญ็ ประโยชนแ์ ละหรอื ปฏบิ ตั งิ าน เพิ่มเติมไมเํ กนิ 2 สปั ดาห์ (ง) ตัดคะแนนความประพฤติไมเํ กิน 5 คะแนน หรอื ตดั คะแนนการ ปฏบิ ตั งิ านไมํเกินร๎อยละ 5 ของคะแนนท่ีไดร๎ บั ในหนวํ ยนนั้ ๒) ระดับ ๒ มี 2 สถาน คือ (ก) ควบคุมความประพฤตแิ ละหรือบาเพ็ญประโยชน์และหรือปฏิบัตงิ าน เพิม่ เตมิ ไมตํ า่ กวํา ๒ สัปดาห์ แตํไมํเกนิ ๑ เดือน (ข) ตดั คะแนนความประพฤตติ ้ังแตํ ๖-๑๕ คะแนน และหรือตัดคะแนนการ ปฏิบัติงานรอ๎ ยละ ๖ ถงึ ๑๕ ของคะแนนทีไ่ ด๎รบั ในหนํวยน้ัน ๓) ระดับ ๓ มี ๔ สถาน คือ (ก) ตดั คะแนนความประพฤตติ ั้งแตํ 16 ถึง 20 คะแนน และหรอื ตัดคะแนน การปฏิบัติงานร๎อยละ 16 ถงึ 20 ของคะแนนทีไ่ ดร๎ ับในหนํวยน้ัน (ข) ยืดเวลาสาเร็จการศกึ ษาไมํเกิน 3 เดอื น (ค) พักการศึกษา (ง) ใหพ๎ น๎ สภาพจากการเปน็ นกั ศึกษา 6. หลกั เกณฑก์ ารพิจารณาความผดิ และการลงโทษให๎ถอื 1) พจิ ารณาโดยความเสมอภาค 2) การลงโทษมวี ตั ถปุ ระสงค์ให๎ผร๎ู บั โทษมีโอกาสกลบั ตวั เกรงกลัวตํอความผดิ และ ปูองกนั มใิ หท๎ ากระทาซา้ อกี
๗๔ 3) พจิ ารณาพฤตกิ รรมและผลอันเกิดข้นึ ในขณะนัน้ โดยไมคํ าดคะเนผลทจี่ ะเกดิ ใน อนาคต 4) พิจารณาถงึ วยั และชัน้ ปีที่กาลังศกึ ษาอยํู 5) ความดีความชอบของผก๎ู ระทาความผิดซงึ่ เคยมีมากํอน อาจใช๎เป็นขอ๎ พิจารณา ลดหยํอนผอํ นโทษได๎ 6) ผูก๎ ระทาความผดิ แลว๎ รับสภาพกอํ นจานนตํอหลกั ฐาน อาจได๎รบั การพจิ ารณา ลดหยํอนผํอนโทษได๎ 7) ความผดิ ในกรณีเดยี วกันซึ่งเคยได๎รับโทษมาหลายคร้งั และยงั ประพฤติอีกเป็นการ เจตนาฝุาฝืนขอ๎ บังคับหรอื ระเบียบ อาจเป็นขอ๎ พจิ ารณาเพม่ิ โทษได๎ 8) การพิจารณาโทษความผิดไมํจาเปน็ ตอ๎ งเรียงตามลาดบั สถาน สามารถพจิ ารณาลงโทษได๎ ตามลักษณะความผิดทก่ี ระทา และสามารถลงโทษได๎มากกวาํ 1 สถาน
๗๕ ภาคผนวก
๗๖ คาประกาศสิทธผิ ปู้ ว่ ย เพ่ือใหผ๎ ปู๎ ุวยไดร๎ ับประโยชนส์ งู สุดจากกระบวนการและตระหนกั ถึงความสาคญั ของ การใหค๎ วามรวํ มมอื กับผูป๎ ระกอบวชิ าชีพดา๎ นสขุ ภาพ แพทยสภา สภาการพยาบาล สภา เภสชั กรรม ทันตแพทยสภา สภากายภาพบาบัด สภาเทคนิคการแพทย์และคณะกรรมการการ ประกอบโรคศิลปะจึงได๎รํวมกนั ออกประกาศรบั รองสิทธแิ ละข๎อพึงปฏบิ ตั ขิ องผป๎ู ุวยไว๎ ดงั ตอํ ไปน้ี ขอ๎ 1. ผป๎ู วุ ยทุกคนมีสทิ ธขิ ั้นพืน้ ฐานที่จะได๎รบั การรักษาพยาบาลและการดแู ลด๎านสขุ ภาพ ตามมาตรฐานวิชาชพี จากผ๎ปู ระกอบวิชาชพี ดา๎ นสุขภาพโดยไมมํ กี ารเลอื กปฏิบัติตามท่ี บญั ญตั ิไวใ๎ นรฐั ธรรมนูญ ข๎อ 2. ผู๎ปุวยทีข่ อรับการรกั ษาพยาบาลมสี ิทธิได๎รับทราบขอ๎ มลู ท่ีเป็นจริงและเพยี งพอ เกี่ยวกับการเจ็บปุวยการตรวจการรกั ษาผลดแี ละผลเสยี จากการตรวจการรกั ษาจากผู๎ ประกอบวชิ าชีพด๎านสขุ ภาพด๎วยภาษาทผี่ ู๎ปุวยสามารถเข๎าใจได๎งํายเพอื่ ใหผ๎ ูป๎ ุวย สามารถเลอื กตดั สินใจในการยนิ ยอมหรอื ไมยํ นิ ยอมใหผ๎ ๎ูประกอบวิชาชพี ดา๎ น สขุ ภาพ ปฏบิ ัติตอํ ตนเวน๎ แตํในกรณฉี ุกเฉนิ อนั จาเป็นเรํงดํวนและเป็นอันตรายตํอชวี ิต ข๎อ 3. ผู๎ปุวยทีอ่ ยํูในภาวะเสีย่ งอันตรายถึงชวี ติ มสี ิทธไิ ด๎รับการชํวยเหลอื รีบดวํ นจากผ๎ู ประกอบวชิ าชพี ดา๎ นสุขภาพโดยทนั ทตี ามความจาเปน็ แกกํ รณโี ดยไมตํ อ๎ งคานงึ วาํ ผ๎ปู วุ ยจะร๎องขอความชํวยเหลือหรือไมํ ข๎อ 4. ผป๎ู วุ ยมสี ทิ ธิได๎รับทราบช่ือสกุลและวชิ าชพี ของผ๎ูให๎การรักษาพยาบาลแกํตน ข๎อ 5. ผป๎ู ุวยมสี ิทธขิ อความเห็นจากผป๎ู ระกอบวชิ าชพี ด๎านสุขภาพอ่ืนทมี่ ิได๎เปน็ ผใู๎ หก๎ าร รกั ษาพยาบาลแกํตนและมสี ิทธใิ นการขอเปลี่ยนผ๎ูประกอบวชิ าชีพด๎านสุขภาพหรือ เปลย่ี นสถานพยาบาลไดท๎ งั้ น้ีเปน็ ไปตามหลกั เกณฑข์ องสทิ ธกิ ารรกั ษาของผป๎ู ุวยที่มีอยูํ ข๎อ 6. ผ๎ปู ุวยมสี ทิ ธิไดร๎ ับการปกปิดขอ๎ มลู ของตนเองเว๎นแตผํ ู๎ปวุ ยจะใหค๎ วามยนิ ยอมหรอื เปน็ การปฏิบัติตามหน๎าทข่ี องผูป๎ ระกอบวชิ าชีพดา๎ นสุขภาพเพอื่ ประโยชนโ์ ดยตรงของ ผปู๎ ุวยหรือตามกฎหมาย ขอ๎ 7. ผป๎ู ุวยมสี ิทธิไดร๎ ับทราบขอ๎ มลู อยํางครบถ๎วนในการตดั สนิ ใจเขา๎ รวํ มหรอื ถอนตวั จาก การเป็นผ๎เู ขา๎ รํวมหรอื ผถ๎ู ูกทดลองในการทาวจิ ัยของผ๎ปู ระกอบวิชาชพี ด๎านสขุ ภาพ ขอ๎ 8. ผู๎ปวุ ยมสี ิทธไิ ดร๎ บั ทราบข๎อมลู เกี่ยวกับการรกั ษาพยาบาลเฉพาะของตนท่ีปรากฏในเวช ระเบียนเมอื่ ร๎องขอตามข้ันตอนของสถานพยาบาลน้ันท้ังนขี้ ๎อมลู ดังกลาํ วตอ๎ งไมเํ ป็น การละเมิดสทิ ธิหรอื ขอ๎ มลู ขาํ วสารสวํ นบุคคลของผูอ๎ นื่ ขอ๎ 9. บิดามารดาหรือผ๎แู ทนโดยชอบธรรมอาจใชส๎ ิทธแิ ทนผู๎ปวุ ยท่เี ป็นเดก็ อายุยังไมเํ กนิ สิบ แปดปบี ริบรู ณผ์ ๎บู กพรํองทางกายหรือจติ ซงึ่ ไมํสามารถใชส๎ ทิ ธิดว๎ ยตนเองได๎
๗๗ เครอ่ื งแต่งกายนกั ศึกษาหญงิ นกั ศกึ ษาหญิงมัดรวบผมใหเ๎ รียบร๎อย ไมํปลํอยสยายผม สีผมธรรมชาติหา๎ มยอ๎ มสี ผม ไมํใสตํ าํ งหูแฟชน่ั ตัดเล็บส้นั ไมํทาสีเล็บ ไมํสวมเครือ่ งประดบั อื่นใดนอกจากนาฬกิ าข๎อมือ 1. ชดุ ศกึ ษาภาคทฤษฎี 1.1 แบบทั่วไป (ดงั แสดงในรปู ที่ 1) 1. เส้อื เชต้ิ แขนสน้ั สีขาว ผา๎ ไมมํ ีลวดลาย ไมํรดั รปู เน้อื ผา๎ หนาพอสมควร ผําหน๎า ตลอดไมมํ ีสาบตํอดา๎ นหลงั ติดกระดุมโลหะทม่ี ีตราสญั ลกั ษณข์ องวิทยาลัย5 เม็ด ใสํชายเสอ้ื ไว๎ ในกระโปรง สวมเสอื้ ซับใน 2. กระโปรงสีดาทรงเอผ๎า 4 ช้ินยาวคลมุ เขาํ ประมาณ4 น้วิ หรอื เหนือข๎อเท๎า4น้ิว ไมํ ผาํ ขอบกระโปรงไมํเกนิ 1นิว้ ไมํเป็นผ๎าบาง ผ๎ากามะหยี่ ผ๎าลูกฟูก ผา๎ ยนี ส์ ผา๎ มนั ผ๎ายืด และตอ๎ ง ไมมํ ีลวดลายใด ๆ 3. เข็มตรารปู สัญลักษณข์ องวทิ ยาลยั (ต๎ุงต้ิง) ประดบั ทีค่ อเส้อื บรเิ วณกระดมุ เมด็ แรกด๎านซา๎ ย ๔. เขม็ ช้ันปีประดบั ทปี่ กเสือ้ ดา๎ นขวา ๕. เข็มตรารปู สัญลกั ษณข์ องวทิ ยาลัยประดบั ที่บริเวณหนา๎ อกเส้ือดา๎ นขวา ๖. ปาู ยชือ่ -นามสกลุ ประดบั ท่ีหนา๎ อกเสื้อดา๎ นซ๎าย ๗. เข็มขดั หนังสดี า ขนาดกวา๎ ง 3 เซนตเิ มตร หัวเขม็ ขดั โลหะหัวเข็มตรารูป สญั ลกั ษณ์ของวทิ ยาลยั ๘. รองเท๎าหนังหมุ๎ สน๎ สดี า แบบเรยี บ ไมมํ ลี วดลาย โลหะหรอื สายคาด สน๎ สูงไมเํ กนิ 2 นวิ้ สาหรับนักศกึ ษาชนั้ ปีท่ี 1 ใสรํ องเท๎าหนังห๎ุมส๎นสขี าว สน๎ สงู ไมํเกิน 2 นิว้ และสวม ถุงเท๎าสีขาว ๙. ไมสํ วมเคร่ืองประดับอืน่ ใดนอกจากนาฬิกาข๎อมือ หมายเหตุ ถ๎านักศึกษาใสเํ สอ้ื รัดรูปหรือกระโปรงส้ันผิดระเบียบของวทิ ยาลัยฯ วิทยาลยั ฯ จะยดึ ไว๎และตัดคะแนนความประพฤติ
๗๘ 1.2 ชุดแตงํ กายสาหรับงานพิธกี าร ให๎สวมเสือ้ สูทวิทยาลัยสกี รมทาํ เขม๎ ทับเส้ือนักศึกษา และกระโปรงชุดสทู วทิ ยาลยั สีกรมทําเขม๎ (ดังแสดงในรปู ท่ี 2) รปู ที่ 1 ชดุ แตงํ กายแบบท่ัวไป รปู ท่ี 2 ชุดแตงํ กายสาหรับงานพธิ กี าร 1.3 ชดุ นักศกึ ษาหญงิ อสิ ลามแบบมผี ๎าคลมุ ศีรษะ(ดงั แสดงในรูปท่ี 3) 1. เส้อื เชติ้ คอปกแขนยาวสีขาว ผา๎ ไมมํ ีลวดลาย ไมํรัดรูป เนือ้ ผา๎ หนาพอสมควร ผํา หนา๎ ตลอด ไมมํ ีสาบตํอด๎านหลงั ติดกระดมุ โลหะ ที่มีตราสัญลักษณข์ อง วิทยาลยั 5 เมด็ ใสํ ชายเสื้อไวใ๎ นกระโปรง สวมเสือ้ ซับใน 2. กระโปรงสดี าทรงเอ ผา๎ 4 ชน้ิ ยาวคลุมข๎อเท๎า ไมํผาํ ซิปหลัง ขอบกระโปรงไมเํ กนิ 1นิว้ ไมํเปน็ ผา๎ บาง ผ๎ากามะหย่ี ผา๎ ลกู ฟกู ผ๎ายีนส์ ผ๎ามัน ผ๎ายดื และต๎องไมมํ ลี วดลายใด ๆ 3. ผา๎ คลมุ ศีรษะสขี าวไมมํ ลี วดลาย ปลายผ๎าแหลมดา๎ นหนา๎ คลถุมงึ บรเิ วณระดบั สะดือ 4. เขม็ ขัดหนังสดี า ขนาดกว๎าง 3 เซนติเมตร หัวเขม็ ขดั โลหะหัวเขม็ ตรารปู สญั ลักษณข์ องวทิ ยาลัย 5. เข็มตรารูปสญั ลักษณ์ของวทิ ยาลยั ประดับที่ผา๎ คลมุ ศรี ษะระดับหน๎าอกดา๎ นขวา 6. ปูายชอื่ -นามสกุล ประดับท่ผี ๎าคลุมศีรษะระดับหนา๎ อกด๎านซา๎ ย ๗. รองเทา๎ หนังห๎มุ สน๎ สดี า แบบเรียบ ไมมํ ลี วดลาย โลหะหรอื สายคาด สน๎ สงู ไมํเกิน 2 นวิ้ สาหรบั นกั ศกึ ษาชั้นปีที่ 1 ใสรํ องเทา๎ หนงั หม๎ุ ส๎นสีขาว สน๎ สงู ไมเํ กนิ 2 นวิ้ และสวม ถุงเท๎าสขี าว ๘. ไมสํ วมเคร่ืองประดบั อน่ื ใดนอกจากนาฬกิ าข๎อมอื
๗๙ รปู ท่ี 3 ชดุ แตํงกายสาหรับนักศึกษาหญิงอิสลามแบบมผี ๎าคลมุ ศรี ษะ 2. ชุดปฏบิ ตั ิงานบนหอผู้ปว่ ย(ดังแสดงในรูปที่ 4 และ 5) 1. เสื้อชดุ สฟี าู ยาวคลมุ เขํา แขนสั้น ขอบแขนสขี าว คอปกบวั แหลมสขี าว 2. ผา๎ กนั เป้อื นสขี าว ๓. ปาู ยชือ่ -นามสกุล ประดบั ที่หนา๎ อกดา๎ นซ๎าย ๔. หมวกพยาบาลสขี าว ขดี กามะหยด่ี ากว๎างคร่งึ เซนติเมตร ปลี ะ 1 ขีด หํางกัน คร่งึ เซนตเิ มตร ๕. รองเท๎าสขี าวหุ๎มส๎นพน้ื ยาง ถุงเท๎าส้นั สีขาว รปู ท่ี 4 ชดุ ฝึกปฏบิ ตั ิงานพยาบาล รปู ท่ี ๕ ชุดฝึกปฏบิ ัติงานพยาบาล นักศกึ ษาหญงิ อิสลาม
๘๐ 3. ชดุ ฝกึ ปฏิบตั งิ านในชมุ ชน (ดังแสดงในรปู ท่ี 6 และ 7) 1. ชดุ สฟี าู เทา 1.1 ชดุ กระโปรงยาวคลมุ เขํา คอปกบวั แหลม แขนสั้น ตลบขึน้ 1 ๓/๔น้วิ กระโปรง ส่ีชน้ิ กระเป๋าข๎าง 2 ใบ ใชผ๎ า๎ ตัดเปน็ เขม็ ขัดคาดเอวขนาด 1 ๑/๒นวิ้ ตดิ กระดุมเสอ้ื และเอวดว๎ ย ตรารูปสัญลักษณว์ ทิ ยาลัย 1.2 ชุดกางเกง เส้ือปกฮาวาย กระเป๋า 2 ใบ กลางหลงั เกล็ดซ๎อน 3 นิว้ แยกปลาย ประมาณ 6 นว้ิ จากชายเสอ้ื ติดกระดมุ เสอื้ ดว๎ ย ตรารูปสญั ลกั ษณ์ของวทิ ยาลัย กางเกงขายาว คลุมถงึ ขอ๎ เทา๎ สาหรบั นักศกึ ษาอิสลามหญิง สวมเสือ้ แขนยาว และสวมผ๎าคลุมศรี ษะ สีขาวไมํมี ลวดลาย (ดงั แสดงในรปู ที่ 6 และ 7) ๒. เขม็ ตรารปู สัญลกั ษณข์ องวิทยาลัยประดับทีบ่ รเิ วณหนา๎ อกเส้อื ด๎านขวา ๓. ปูายช่อื -นามสกุล ประดับที่หน๎าอกเสอื้ ดา๎ นซา๎ ย ๔. รองเทา๎ หนงั สีดาหุม๎ ส๎นแบบเรียบ ไมํมีลวดลายหรอื โลหะหรอื สายคาดสน๎ สูง ไมํเกนิ 2นว้ิ รูปที่ 6 ชดุ ฝกึ ปฏิบตั ิงานในชุมชน รูปท่ี 7 ชุดฝกึ ปฏบิ ตั ิงานในชุมชน นกั ศึกษาหญงิ อสิ ลาม
๘๑ เคร่ืองแตง่ กายนักศกึ ษาชาย ตดั ผมรองทรงสงู ผมสีธรรมชาติ หา๎ มยอ๎ มสีแฟชน่ั ห๎ามไวห๎ นวดเครา ห๎ามใสตํ าํ งหู ตดั เลบ็ สนั้ 1. ชดุ ศึกษาภาคทฤษฎี(ดังแสดงในรูปท่ี 10) 1. เสอ้ื เชต้ิ แขนส้ันหรอื แขนยาวสีขาว ผา๎ ไมมํ ลี วดลายและตดิ เขม็ ตรารูปสญั ลกั ษณ์ของ วิทยาลัยเหนือ กระเปา๋ เสื้อดา๎ นซา๎ ย ใสชํ ายเส้อื ไวใ๎ นกางเกง (ดงั แสดงในรูปที่ 8) ๒. เขม็ ชั้นปปี ระดับทปี่ กเสอื้ ดา๎ นขวา ๓. เข็มตรารปู สญั ลักษณข์ องวทิ ยาลัยประดับทบ่ี รเิ วณหนา๎ อกเสอ้ื ดา๎ นขวา ๔. ปูายชื่อ-นามสกุล ประดบั ทหี่ น๎าอกเสอื้ ดา๎ นซา๎ ย ๕. เนคไทสดี า ตดิ ตรารปู สญั ลักษณข์ องวิทยาลัย (ต๏งุ ตงิ๊ ) ระดบั เดียวกบั ปูายช่อื ๖. กางเกงขายาวสีดา ทรงสแลคกระเปา๋ ขา๎ ง 2 ใบ กระเปา๋ หลงั เจาะ 2 ใบ ผ๎าไมเํ ป็น ผ๎ายดื ผา๎ ยีนส์ ผ๎าลูกฟูก ผ๎ามัน ผา๎ กามะหยี่ และต๎องไมมํ ลี วดลาย ๗. เขม็ ขัดหนงั สดี า ขนาดกว๎าง 3 เซนตเิ มตร หวั โลหะเครือ่ งหมายตรา รูปสัญลักษณ์ ของวทิ ยาลัย ๘. รองเทา๎ หนังหม๎ุ ส๎นสีดา ไมํมีสายคาดหรอื โลหะประดับ ถงุ เทา๎ สีดา ๙. ไมํสวมเคร่ืองประดบั อื่นใดนอกจากนาฬิกาข๎อมือ 2. ชดุ แตง่ กายสาหรบั งานพิธกี าร ใหส๎ วมเสือ้ สูทวิทยาลยั สีกรมทาํ เข๎มทับเสอ้ื นักศกึ ษา และกางเกงชดุ สทู วิทยาลยั สี กรมทําเขม๎ (ดังแสดงในรปู ที่ 11) รปู ที่ 10 ชดุ ศึกษา ภาคทฤษฎี รปู ท่ี 11 ชดุ แตงํ กายสาหรบั งานพิธกี าร
๘๒ 3. ชดุ ปฏบิ ตั งิ านบนหอผปู้ ่วย (ดังแสดงในรปู ที่ 12) 1. เสือ้ ปกฮาวายสขี าว กระเปา๋ 2 ใบดา๎ นลําง กลางหลงั เกลด็ ซอ๎ น 3 นวิ้ แยกปลาย ประมาณ 6 นิว้ จากชายเส้ือปกั ตราสัญลกั ษณข์ องวทิ ยาลัย 2. กางเกงแบบเดยี วกบั การศึกษาในหอ๎ งเรยี น (สีดา) 3. ปาู ยชอื่ -นามสกุล ประดับทห่ี นา๎ อกเส้อื ดา๎ นซา๎ ย ๔. เขม็ ชั้นปปี ระดับทป่ี กเสื้อด๎านขวา ๕. เข็มตรารปู สัญลักษณข์ องวิทยาลยั ประดับที่บรเิ วณหน๎าอกเสื้อด๎านขวา ๖. รองเทา๎ หนงั สีดาหุ๎มสน๎ ถงุ เท๎าสีดา 4. ชุดฝกึ ปฏบิ ตั ิงานในชมุ ชน (ดังแสดงในรปู ที่ 13) 1. เสอื้ ปกฮาวายสีฟาู เทากระเป๋า 2 ใบ กลางหลังเกลด็ ซอ๎ น 3 นว้ิ แยกปลายประมาณ 6 นิว้ จากชายเส้อื 2. กางเกงแบบเดยี วกบั การศึกษาในหอ๎ งเรียน (สีดา) ๓. เขม็ ตรารูปสัญลกั ษณ์ของวิทยาลยั ประดับทบ่ี รเิ วณหน๎าอกเสอ้ื ด๎านขวา ๔. ปูายช่อื -นามสกุล ประดับที่หนา๎ อกเสอื้ ด๎านซา๎ ย ๕. รองเทา๎ หนังสดี าห๎ุมสน๎ ถงุ เทา๎ สดี า รปู ท่ี 12 ชดุ ปฏิบตั ิงานบนหอผูป๎ ุวย รปู ท่ี 13 ชุดปฏบิ ตั งิ านในชุมชน
๘๓ เครอื่ งแต่งกายชดุ ผ้าไทยประจาวิทยาลยั ชดุ ผา๎ ผา๎ ไทยสเี หลือง ดังแสดงในรูปที่ ๑๓ รปู ท่ี 1๓ ชดุ ผา๎ ไทยประจาวิทยาลยั
๘๔ เพลงมาร์ชวิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชยั นาท เกยี รตนิ ามพระราชทาน พยาบาลบรมราชชนนี เราทุกคนตระหนกั ศักดศ์ิ รี ผองคุณความดีพยาบาลไทย พระเกยี รตคิ ุณสมเด็จยาํ เร่ืองลือ พระนามระบอื กกึ กอ๎ งท่ัวไป เชดิ ศักดศิ์ รพี ยาบาลให๎ กระเดื่องไกลท่ัวในสากล ได๎เรียนในอาณาเขตเมืองชยั นาท พวกเราล๎วนภาคภมู ิใจ ผองเราเกํงกาจรกั งานทวั่ คน เรียนวชิ าเพ่ือตนเพอ่ื ชาติ คคูํ ณุ ธรรมนาสังคมสุขล๎น ถอื คาขวัญยดึ ม่นั ใฝุรู๎ เหลอื งเขียวอาพนกลางใจ สเี จดิ จา๎ แจมํ ในกมล ชื่อทรงบาดาลเบงํ บานอาไพ เขียวคอื การผลิ งอก ดอก ผล ดอกไม๎เหลืองงามตระการ อยทํู กุ ถิ่นฐานเพือ่ ชํวยปวงชน สีเหลอื งเปรยี บปัญญาไซร๎ เราอทุ ิศตนเป็นประโยชนส์ ังคม เปรียบดังพยาบาล เสริมภมู ิปญั ญาสร๎างความนยิ ม ผเ๎ู จบ็ ไข๎คลายทุกข์รอ๎ นรน ผองชนชมวํางามกิรยิ า ชยั นาทศกั ดศ์ิ รีดเี ดนํ นานมา สถานอุดมศึกษา ล้าหน๎ากวาํ ใคร สามคั คผี ูกพันเกลยี วกลม ชยั นาทศกั ด์ิศรงี ดงามวไิ ล เกียรติบรมราชชนนี จักกอปการงานเพือ่ พัฒนาชาติไทย ทงั้ รอบรู๎วชิ าการนานา เบํงบานแจมํ ใสเหลืองสดชวั่ นาตาปี ชาติ ศาสน์ ราชนั เทิดเหนือชวี ันเราน้ี เกยี รติคณุ พยาบาลบรมราชชนนี ประชาสุขศรสี มท่ไี ด๎ต้ังปณิธาน เราทุกคนต้งั ปณธิ าน จักสามคั คีเหมอื นทรงบาดาล รวมดอก ชํอ ใบ จกั ขอเทดิ ทูนสถาบนั จักใช๎วิชาชํวยพัฒนาผืนปฐพี
Search