Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คำแนะนำการใช้ห้องสมุด64

คำแนะนำการใช้ห้องสมุด64

Published by kongjai26, 2021-04-26 08:36:29

Description: คำแนะนำการใช้ห้องสมุด64

Search

Read the Text Version

คาํ นาํ การศกึ ษาในปจจบุ นั มงุ เนน สงเสริมใหผ ูเ รยี นไดรจู กั ศึกษาคน ควา ดวยตนเองมากยิ่งขึ้น หองสมุดจึงเปน แหลง ทรัพยากรสารสนเทศทส่ี นบั สนุนการจดั การเรียนการสอนใหม ีประสทิ ธภิ าพ หอ งสมุด วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท จงึ ไดจัดทําคูม ือการใชห องสมุดข้ึนเพ่ือชว ยใหผ ทู มี่ าใช บริการหองสมุดไดรูจกั สารสนเทศ และเขา ถงึ สารสนเทศไดอยางถกู วธิ ี เชน รรู ะเบียบและวธิ กี ารใช หองสมดุ การบรกิ ารตาง ๆ การยมื – คืน การสบื คนขอมลู ระบบการจัดหมวดหมูหนังสอื สรุป จาํ นวนหนังสอื วารสารที่มีในหอ งสมดุ หากผูใ ชบริการมีขอ สงสัย หรอื ตองการทราบรายละเอียดเพมิ่ เติม โปรดติดตอ สอบถามไดท ี่ หองสมดุ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท กงใจ ไชยทองดี 26 เมษายน 2564

สารบัญ 2 สถานทต่ี ้งั เวลาเปด ทําการ หนา ประเภทของสง่ิ พิมพท ่มี ใี นหองสมุด 1 ขอปฏิบัติสาํ หรับผใู ชหอ งสมดุ 1 การยมื หนังสอื 1 การทําบัตรสมาชกิ หองสมดุ 1 ระเบยี บการยมื และคาปรบั 2 หนาท่แี ละความรบั ผิดชอบของหอ งสมุด 2 จํานวนตําราทางการพยาบาลและวทิ ยาศาสตรสุขภาพ 3 วารสารทางวชิ าชพี การพยาบาล 4 การจดั เรียงหนังสอื บนช้นั 7 ระบบการจัดหมวดหมูท รัพยากรสารสนเทศ 8 ฐานขอ มูลหนงั สอื และวารสารอเิ ล็กทรอนกิ ส 10 11 13 ####################

3 คาํ แนะนาํ การใชห อ งสมุด วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชยั นาท สถานท่ตี ้งั วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท 248 หมู 6 ถนนชัยนาท-สงิ หบ ุรี ตาํ บลชัยนาท อาํ เภอเมือง จงั หวัดชยั นาท อาคาร 100 ป สมเด็จพระศรีนครนิ ทร ชน้ั 2 โทรศพั ท: 0-5640-5588-89 ตอ 121 เวบ็ ไซต : http://202.129.38.9/ULIB6/ เวลาเปดทําการ เวลา 08.00 - 19.00 น. วนั จนั ทร – วนั ศุกร วนั อาทติ ยแ ละวันหยุดนักขตั ฤกษ เวลา 13.00 - 18.00 น. วนั เสาร ปดทําการ บคุ ลากร นางสาวกงใจ ไชยทองดี บรรณารกั ษชาํ นาญการ นางสาววะลยั พรรณ คชอนิ ทร เจา หนา ทห่ี อ งสมดุ

4 ผูมสี ิทธ์ิใชบ รกิ ารของหอ งสมดุ 1. อาจารย และเจา หนาที่ของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท 2. นักศกึ ษาวทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท ทป่ี ฏบิ ตั ิตามระเบยี บของวิทยาลยั ฯ 3. อาจารยพ ิเศษ บุคคลภายนอกทส่ี นใจ การสมคั รสมาชิก ผูสมคั รดาํ เนนิ การสมัครดว ยตนเองท่เี คานเ ตอรหองสมดุ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี 1. อาจารย ขาราชการ นักศึกษา และบุคลากรของวิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท - กรอกแบบฟอรมการสมัครสมาชิกไดท หี่ องสมุด 2. อาจารยพ ิเศษ ผเู ขา รบั การอบรม และบคุ ลากรอืน่ ๆ ท่เี ขา รวมโครงการหรอื กิจกรรมที่ วทิ ยาลยั จัดขนึ้ ทวี่ ทิ ยาลยั - ย่ืนบัตรประชาชนตอเจา หนาทเี่ พ่อื กรอกขอ มลู ลงในระบบหองสมุดอตั โนมัติ - รหสั สมาชกิ ที่ไดจะเปน เลขเดียวกบั เลขประจาํ ตัวประชาชน - ยมื -คืนหนงั สือทุกครั้งตอ งแสดงบัตรประชาชน 3. บคุ คลภายนอก (ตอ งสมัครดวยตนเอง) - ยื่นบัตรประชาชนตอเจา หนาท่เี พ่ือกรอกขอมูลลงในระบบหอ งสมุดอตั โนมัติ - รหัสสมาชกิ ทไี่ ดจะเปน เลขเดยี วกับเลขประจําตัวประชาชน - ยมื -คนื หนงั สอื ทกุ ครง้ั ตอ งแสดงบตั รประชาชน อายขุ องบัตรสมาชกิ 1. อาจารย ขาราชการ บคุ ลากรของวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ชยั นาท มีอายกุ ารใชงานจนกวา จะบอกเลกิ การเปนสมาชกิ หรือเกษียณอายุราชการ 2. นักศกึ ษา มีอายุการใชง าน 4 ป 3. อาจารยพิเศษ ผูเขา รบั การฝกอบรม และบุคลากรอนื่ ๆ ที่เขา รว มโครงการหรอื กจิ กรรมที่ วทิ ยาลัยจัดขน้ึ ภายในวิทยาลัย มอี ายกุ ารใชง านตามระยะเวลาของกจิ กรรมน้นั ๆ 4. บุคคลภายนอก มีอายกุ ารใชง าน 1 ป ประเภทของส่ิงพิมพท ่ีมีในหอ งสมุด 1. หนงั สอื ทางดา นวชิ าชพี พยาบาล พื้นฐานวิชาชพี ตําราหลัก 2. วารสาร / นติ ยสาร และหนังสอื พมิ พ 3. หนังสืออางอิง 4. รายงานการวจิ ัย และวิทยานิพนธ 5. หนงั สอื ทัว่ ไป 6. ส่ือโสตทศั นวสั ดุ เชน ซีด-ี รอม, วดิ โี อ, เทป ฯลฯ การเขา ใชบ รกิ ารหอ งสมดุ 1. การยืมตองแสดงบตั รสมาชิกทกุ ครัง้ 2. หามใชบ ัตรผูอื่นยมื หนงั สอื

5 3. หามนาํ อาหารและเครือ่ งดืม่ ของขบเคยี้ วเขา มารับประทานในหองสมุด 4. วาง/ฝาก กระเปาหรือส่งิ ของอื่น ๆ ยกเวนของมีคาไวท ต่ี ลู ็อกเกอรด า นหนา หอ งสมดุ ผูใชบรกิ ารหองสมุดตอ งรบั ผดิ ชอบทรัพยส ินและของมีคา ของตนเอง กรณที เ่ี กดิ การสูญหาย 5. วารสาร/นิตยสาร/หนังสือพิมพ หลงั จากนกั ศึกษาอานเสร็จแลวใหน าํ มาเกบ็ ไวท ่เี ดมิ 6. หนังสอื ใชเสรจ็ แลวใหว างบนโตะ ใหเปน ระเบียบ ไมต อ งเกบ็ ข้นึ ชน้ั เจา หนา ที่จะเก็บเขาช้นั เอง 7. หา มนําหนังสือทุกชนิดของหอ งสมดุ ออกจากหอ งสมุด โดยไมไดรบั อนุญาต หรอื ไมไดย มื อยา ง ถกู ตอง 8. ไมขีดเขยี น ตดั หรอื พบั หนังสอื ของหอ งสมดุ ซึ่งเปน ของสวนรวม ถา จับไดจ ะถกู ลงโทษ 9. ชวยกนั รักษาความสะอาด โดยไมท งิ้ เศษกระดาษและสิ่งตาง ๆ ลงบนพน้ื หองสมดุ 10. ลกุ จากท่นี ง่ั อานหนงั สือ เลือ่ นเกา อ้ไี วใตโ ตะ และปดพัดลมใหเรยี บรอย 11. ใหเจา หนา ที่ตรวจหนงั สอื และสง่ิ ของตา ง ๆ กอ นออกจากหองสมดุ 12. ผฝู าฝนระเบียบอาจถกู พิจารณาถอนสิทธกิ ารใชหองสมุด 13. ถา มีขอ สงสยั ในการสบื คน ขอ มูลใหส อบถามบรรณารักษหรือเจาหนาท่ีหองสมุด การยมื หนงั สือ มีขอ ปฏิบัติดังนี้ 1. นกั ศึกษาใหมท ุกคนตองทาํ บตั รนักศกึ ษา 2. ใชบัตรนักศึกษาทุกคร้งั ทีย่ มื และคนื หนังสือหองสมุด 3. บัตรสมาชิกใชไดเ ฉพาะเจาของเทานั้น หา ม นําบตั รผอู ื่นมาใชโ ดยเดด็ ขาด 4. เจาหนาท่ีจะประทับวันกําหนดคืนทด่ี า นหลงั ของหนังสอื และในบัตรคหู นังสอื หมายเหตุ 1. วันเสาร, อาทิตย และวันหยดุ นกั ขัตฤกษ คิดคาปรับดวย 2. เพ่อื ไมใหนักศกึ ษายมื เกินกําหนดยาวนาน จงึ ไดก ําหนดกติกาการยืมเพ่ิมเติม ดงั น้ี หากครบกาํ หนดสง แลว แตย งั ไมสงคืน หองสมดุ จะแจงรายชอื่ ผูท ย่ี มื หนงั สือเกิดกาํ หนดสง เพอ่ื ให เซ็นชื่อรบั ทราบ ภายใน 7 วนั หลงั จากวันทีถ่ ึงกําหนดสง และหากนกั ศึกษายงั ไมไ ดนําหนงั สือมาคืนจะ นาํ รายชอื่ เสนอรองผูอํานวยการฝายวิชาการเพอื่ ดําเนนิ การตอ ไป สาํ หรบั ผทู นี่ าํ หนังสือออกจากหอ งสมดุ โดยไมไ ดยมื ใหถูกตอ ง ถาจบั ไดจ ะถกู ดําเนนิ การ ดังน้ี - ซื้อหนงั สอื ชดใชหอ งสมดุ ตามจาํ นวนเลม ที่หยบิ ออกมา ขึ้นอยกู ับกรณที ้งั นใ้ี หอ ยูใน การพจิ ารณาของคณะกรรมการบริหารวทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ชัยนาท - ในกรณีท่พี บหนงั สอื ทไี่ มไดยืมและหาคนรับผิดชอบไมไ ด นักศึกษาทกุ ชัน้ ปต อ ง รวมกันรบั ผิดชอบ โดยใหซ อ้ื หนังสอื เลม นั้น ๆ มาชดใชห องสมุด 3. กรณีที่ทําหนังสอื หอ งสมุดหาย ตองมาแจง เจา หนาทหี่ อ งสมุดกอนวันกาํ หนดสง แลว จึงหาหนงั สอื มาชดใช ภายในเวลา 2 อาทิตย (นบั จากวนั ทีแ่ จง หาย) ถา หาหนังสอื มาคืนไมไ ด ใหซ ื้อหนังสือเลมนัน้ ๆ มาชดใช แตถาไม สามารถหาซื้อมาชดใชไ ดต อ งเสียคาปรบั เปน 2 เทา ของราคาหนงั สอื

6 ถา มาแจงหลังวนั กาํ หนดสง จะถูกปรับเงินตามจํานวนที่เกนิ กําหนดสง จนถึงวนั ที่แจงหาย แลว ตองดาํ เนนิ การตามขอท่ี 3.1 ในกรณที ี่นักศกึ ษาไมยอมเสียคาปรับจากจาํ นวนทถี่ ูกปรบั จะถกู ถอนสทิ ธิใ์ นการใชหอ งสมุด และ จะไมป ระกาศผลสอบปลายปใหทราบ ระเบียบการยืมและคาปรบั ชนิดของสง่ิ พิมพ จาํ นวนเลม / ระยะเวลา คา ปรบั 5 เลม / 7 วนั ( นักศกึ ษา, เจาหนาที่ ) 5 บาท/วนั /เลม ♦ หนังสอื ทว่ั ไป และ 15 เลม / 1 เดอื น ( อาจารย ) ♦ หนังสอื ตาํ ราหลกั ♦ รายงานการวจิ ัย และวทิ ยานพิ นธ 1 คนื (สงคนื กอ น 13.00 น. 5 บาท / ช่ัวโมง (ฉบบั ท่ี 2 ข้ึนไป) ของวนั รงุ ข้นึ ) 10 บาท / วัน 1 บาท / ♦ หนงั สือสาํ รอง (Reserve) ยมื ออกได 1 คนื ตั้งแตเวลา 15.00 น. ชว่ั โมง และวารสารฉบบั ยอนหลงั และตอ งสงคืนกอนเวลา 13.00 น. 10 บาท / วนั ของวนั รุง ขนึ้ ♦ รายงานการวจิ ยั และ วิทยานพิ นธ หามยืมออก 0และหนังสืออางอิง - ♦ วารสาร/นิตยสาร และ หนังสอื พิมพฉ บบั ลา สดุ หนาท่แี ละความรบั ผิดชอบของหอ งสมดุ แบง เปน 3 ดา นคือ 1. งานบรหิ าร 2. งานบรกิ าร 3. งานเทคนคิ 1. งานบรหิ ารหองสมุด ไดแ ก 1.1 จัดทํางบประมาณประจาํ ป 1.2 จดั ทาํ งบประมาณสําหรับซือ้ ครภุ ณั ฑ หนังสอื และวารสารของหองสมดุ 1.3 จัดซ้ือหนังสือประจําป โดยมีข้ันตอนดังนี้ คือ 1.3.1 จดั ซื้อหนงั สอื ตามงบประมาณที่ไดรับ 1.3.2 จัดแบงเงนิ ซื้อออกเปน งวด ๆ เพ่อื ใหห อ งสมุดมหี นงั สอื ใหม ๆ เพิม่ ตลอดป 1.3.3 ตดิ ตอผขู ายหนงั สอื เพอ่ื ตกลงในสวนลด และความสะดวกในการสง หนังสือ 1.3.4 จัดทํารายช่อื สถานที่ รานจาํ หนายหนงั สือ วัสดุครุภัณฑ ทีห่ อ งสมดุ จาํ เปน จะตอ งตดิ ตอ

7 1.3.5 ตรวจบัญชีรายช่ือหนงั สือทีเ่ ลอื กไวแลว จากการเสนอของอาจารยแตละภาควชิ า กับบัตรรายการของหองสมดุ เพ่อื ใหแนใจวา หนังสอื ที่ตองการซือ้ ใหมน นั้ ไมซ้ํากับทมี่ อี ยูแ ลว หรือท่สี ่ังซอ้ื ไป แลว และพจิ ารณาตามเกณฑก ารเลือกหนงั สอื (ภาคผนวก) 1.3.6 พมิ พจดหมายสอบถามราคา และจดหมายสง่ั ซ้ือหนังสอื พิมพบัตรสั่งซ้ือหนงั สอื 1.4 งานเกย่ี วกบั สถานท่ี ไดแ ก การจัดและการดูแลสถานท่ีใหเรียบรอย ทําความสะอาด ซอ มแซมสว นทชี่ าํ รุด เปน ตน ความสวยงามและความเปน ระเบียบของหอ งสมุด จะเห็นไดจ าก ก. หนังสอื 1. หนังสอื ท่ไี ดรับการคดั เลอื กเปน อยางดี และอยูใ นสภาพทีด่ ี - เปน หนังสือที่ซอื้ ตามความตอ งการของผูใช และทันสมยั - หนังสอื อยูในสภาพเรยี บรอ ย ไมช าํ รดุ ฉีกขาด หนังสือทชี่ ํารุดก็ไดรับการ ซอมแซมอยา งดี ใหมองดเู รยี บรอยอยเู สมอ 2. หนังสือที่อยบู นช้นั มีการจัดหมวดหมอู ยางเรียบรอ ย - หนงั สือวางตง้ั ตรง ไมเอนลม ระเนระนาด มที ่กี ั้นหนงั สือไมใ หห นงั สือลม 3. หนังสอื พมิ พ ใสไ วในไมหนีบหนงั สอื พมิ พ นติ ยสารมีท่ีวางไวโดยเฉพาะ ไมป ลอยให วางเกลื่อนกลาดตามโตะ ข. ครภุ ณั ฑ 1. โตะ เกาอ้ี จัดวางอยูตามทีใ่ หเ ปนระเบยี บ คนเขามาอา นหนังสือท่ีลกุ ไปแลว อาจ ทาํ ใหเ กา อี้เคล่ือนจากทเ่ี ดิม มองดไู มง ามตา ตองพยายามจดั ใหเขาทีอ่ ยูเสมอ 2. บนโตะ เกาอ้ี ตอนบนของชัน้ และครุภัณฑอื่น ๆ ตองปดฝุน ทกุ ๆ วนั 3. โตะรบั จา ยหนงั สอื โตะทํางานของเจาหนาท่ี จดั ใหเรยี บรอ ย หนงั สือทมี่ ผี มู าคืนควร รีบเกบ็ เขาช้นั ไมก องไวจนดเู กะกะ 4. โตะ เกา อีท้ ชี่ ํารดุ ควรรีบจดั การซอ ม ค. ความงดงามทว่ั ๆ ไป 1. พ้ืนหอง ตอ งขดั ถทู ุกวัน 2. เพดาน กวาดหยากไยใหเ รียบรอย 3. ตนไมประดับ หม่ันรดนํ้าอยาใหเฉา 5. ตกแตง หอ งดว ยการจัดนิทรรศการบา ง นิทรรศการตองหม่นั เปลย่ี นใหท ันสมยั ให เปนทีส่ นใจอยูเสมอ 1.5 งานโตตอบหนงั สือ ไดแ ก 1.5.1 ทาํ หนังสอื ตอบขอบคณุ ที่ไดรบั หนังสอื ส่ิงพมิ พตา ง ๆ จากบุคคลภายนอก 1.5.2 บนั ทกึ เสนอผบู ริหาร เชน ขออนมุ ัติซื้อหนงั สือ วารสาร ครภุ ณั ฑ และอน่ื ๆ เสนอรายงานประจาํ ป เปน ตน 1.6 งานเก็บสถิตติ าง ๆ ของหองสมดุ 1.6.1 จาํ นวนผูใชบ รกิ าร/วนั 1.6.2 จํานวนหนงั สือทีม่ ผี ูยมื -คืน/วนั

8 1.6.3 จาํ นวนเงนิ คา ปรับหนังสือ/เดือน 1.6.4 จาํ นวนหนังสอื ที่ซอ ม/เดือน 1.6.5 จาํ นวนวารสารทีเ่ ย็บเลม /ป 1.6.6 จํานวนวารสารที่มีผยู มื /วัน/เดอื น 2. งานเทคนคิ หอ งสมดุ ไดแ ก 2.1 การเลอื กและจัดหาหนังสือ ส่อื สง่ิ พิมพตาง ๆ เขาหอ งสมุด 2.2 จดั หมูห นงั สือ ลงทะเบยี น ทําบตั รรายการ จดั เตรียมหนังสือใหย มื 2.3 การรักษาและซอ มหนงั สือ ทําหนาที่ดแู ลใหห นงั สอื อยใู นสภาพเรยี บรอ ย ซอมหนังสอื เยบ็ เลม หนังสอื ที่ควรเยบ็ และเขา ปกแขง็ เพ่ือใหถ าวร 2.4 การสํารวจและจําหนายหนงั สือออก 3. งานบริการหอ งสมุด ไดแ ก 3.1 การใหย มื และรบั คืนหนังสือ 3.2 บรกิ ารสบื คนขอมูลดว ยคอมพวิ เตอร 3.3 บริการตอบคาํ ถามและชว ยการคน ควา 3.4 บริการสอ่ื ตา ง ๆ เชน ซีด-ี รอม เทป วดิ ีโอ ฯลฯ 3.5 บริการใหค าํ ปรึกษาเก่ียวกับการใชห องสมุด 3.6 บริการขา วสารทท่ี ันสมยั 3.7 บริการใหย มื หนังสือ/วารสารไปถายเอกสาร งานอื่น ๆ ไดแก 1. ปฐมนิเทศการใชหองสมดุ นกั ศกึ ษาใหม 2. ใหคําแนะนําแกบคุ คลทัว่ ไปท่ีมาศกึ ษาดูงาน 3. แนะนาํ หนงั สอื ใหมป ระจาํ เดือน

9 จาํ นวนตาํ ราหลกั ทางการพยาบาล จาํ แนกตามสาขาทางการพยาบาล รายการ ภาษาไทย ภาษาตางประเทศ รวม (เลม) (เลม) (เลม) 1. สาขาวิชาการพยาบาลพ้ืนฐาน 1,060 68 1,128 2. สาขาวิชาการพยาบาลเดก็ และวัยรุน 620 5 625 3. สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชศาสตร 812 6 818 4. สาขาวิชาการพยาบาลผูใหญ 1,464 35 1,499 5. สาขาวิชาการพยาบาลผูสงู อายุ 280 6 286 6. สาขาวิชาการพยาบาลผดุงครรภ มารดา และทารก 1,691 22 1,713 7. สาขาการพยาบาลครอบครวั และอนามยั ชมุ ชน 409 10 419 8. สาขาวชิ าจรยิ ศาสตรและกฎหมายวิชาชพี 341 - 341 9. สาขาการบรหิ ารการพยาบาล 162 9 171 10. การวิจัยทางการพยาบาล 80 5 85 รวม 6,919 166 7,085 จาํ นวนหนังสือทางการพยาบาลและวิทยาศาสตรสขุ ภาพทัง้ หมด รายการ ภาษาไทย ภาษาตา งประเทศ รวม (เลม) (เลม ) (เลม) 1. หนังสือทางการพยาบาล 12,308 244 12,552 2. หนงั สอื ทางวทิ ยาศาสตรสขุ ภาพ 1,790 93 1,883 รวม 14,098 337 14,435 วารสารทางวชิ าชพี การพยาบาลท้ังในประเทศและตางประเทศทส่ี ถาบนั การศึกษารับเปนประจํา ลําดับ รายการวารสาร เลข ISSN 1 กองการพยาบาล 2 การพยาบาลจติ เวชและสขุ ภาพจิตแหง ประเทศไทย 3 การพยาบาลและสุขภาพ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 4 พยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั สยาม 5 พยาบาลกระทรวงสาธารณสุข สมาคมศิษยเกา ฯ 6 พยาบาลศาสตร มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล 7 พยาบาลศาสตร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั 8 พยาบาลสาธารณสขุ สมาคมสาธารณสุขไทย 9 รามาธบิ ดีพยาบาลสาร 10 วจิ ยั สาธารณสขุ ศาสตร มหาวิทยาลยั ขอนแกน 11 สภาการพยาบาล 12 Pacific rim international journal of nursing research

10 รายการวารสารวชิ าชพี ทางการพยาบาลตางประเทศท่สี ถาบนั การศกึ ษารับเปน ประจํา ลําดบั รายการวารสาร ISSN การพยาบาลผูใหญ จํานวน 1 Journal of gerontological nursing (ฐาน) 2 Evidence-based nursing 1 การพยาบาลอนามัยชมุ ชน 1 1 Journal of community health nursing 1 1 การพยาบาลมารดาและทารก 1 Journal of midwifery & women’s health การพยาบาลเด็กและวัยรุน 1 Journal of pediatric nursing การพยาบาลสขุ ภาพจติ และจิตเวชศาสตร 1 Journal of psychosocial nursing & mental health services ฐานขอมลู และระบบสืบคนท่บี รกิ ารนกั ศึกษาในหองสมดุ ลําดับ รายการ ชื่อฐานขอมูล 1 ฐานขอ มูลการสบื คน ขอ มลู ทางวิชาการใน ฐานขอมูลหองสมดุ อตั โนมตั ิ ULIBM หอ งสมดุ 2 ฐานขอมลู การสืบคน ฐานขอ มลู เอกสารฉบับ TDC = ThaiLIS Digital Collection เตม็ ของวิทยานิพนธ รายงานการวจิ ัย 3 ฐานขอมลู การพยาบาล หนังสอื และ Clinicalkey for Nursing วารสารออนไลน 4 ฐานขอมูลหนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส iGLibrary อัตราสว น จํานวนหนงั สอื ตอนักศกึ ษา 1 คน (คิดรวมนักศึกษาทุกหลกั สูตร) จาํ นวนหนงั สือ (เลม) จาํ นวนนกั ศึกษา (คน) อัตราสว นนกั ศกึ ษา:จํานวนหนังสือ 14,435 397 1 : 36.36 ระยะเวลาในการใหบ รกิ ารหอ งสมดุ ใน 1 สปั ดาห จํานวนช่ัวโมง วันปฏบิ ัติงานหอ งสมุด ระยะเวลา 55 ชัว่ โมง วันจนั ทร – ศุกร 08.00 – 19.00 น. 5 ช่วั โมง วันอาทติ ย และ/หรอื วนั หยุดนักขตั ฤกษ 13.00 – 18.00 น. รวม 60 ช่ัวโมง

11 การจัดเรยี งหนงั สอื บนชน้ั หองสมุดจดั ช้ันหนงั สอื ตามประเภทของสงิ่ พมิ พ ไดแ ก 1. ชน้ั หนงั สอื ตําราภาษาไทย 2. ชน้ั หนงั สอื ตาํ ราภาษาอังกฤษ 3. ชั้นหนงั สือรายงานการวิจยั และวิทยานิพนธ 4. ชน้ั หนังสอื อางอิง 5. ชั้นหนงั สอื เบด็ เตล็ด 6. ชน้ั วารสารภาษาไทย 7. ชัน้ วารสารภาษาองั กฤษ ซึ่งหนังสือแตล ะประเภท หองสมุดจะจดั แบง หมวดหมตู ามระบบ NLM และ LC ดังน้ี  หนงั สอื ท่เี กี่ยวกับวทิ ยาศาสตรก ารแพทยพ นื้ ฐานหรือปรคี ลนี คิ ใชอ ักษรแทนหมู QS – QZ  หนงั สือท่เี กี่ยวกับวชิ าการแพทยและวทิ ยาศาสตรทีเ่ กยี่ วขอ ง ใชอกั ษรแทนหมู W, WA - WZ  หนงั สือทเ่ี ก่ยี วกบั วชิ าพืน้ ฐานทัว่ ไป ใชอักษรแทนหมู A - Z การเรียงเลมหนังสือบนชน้ั จะเรยี งตามลําดับอกั ษรหมวดหมู และ เลขหมูบนสันหนงั สือ ตามลาํ ดับจากบรรทดั แรกถึงบรรทดั สุดทา ย และหนงั สือท่ีชั้นจะเรียงจากซา ยมือไปขวามอื และเรยี งจาก ดา นบนลงดานลางเสมอ ดงั ตวั อยา ง 1. เรียงตามลําดบั ตวั อกั ษรหมวดหมู WA WC WF WS WY WZ 2. เรยี งตามลําดับตัวเลขหมวดหมจู ากนอ ยไปมาก WA WA WA WA WY WY WY 18 30 105 594 32 100 105 3. เรยี งตามลําดบั อกั ษรและเลขช่ือผแู ตง โดยยดึ หลักการเรียงตามเลขทศนิยม WY WY WY WY WY 16 16 100 150 159 D253n D877q N972 N9725 S59n

12 ระบบการจัดหมวดหมทู รพั ยากรสารสนเทศ มี 2 ระบบ คอื 1. การจัดหมทู รพั ยากรสารสนเทศระบบหอสมดุ แพทยแ หงชาติอเมริกา (NLM) 2. การจดั หมทู รพั ยากรสารสนเทศระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกา (LC) 1. การจัดหมูท รัพยากรสารสนเทศระบบหอสมดุ แพทยแหง ชาติอเมรกิ า (NLM) 1) หนังสือเกยี่ วกับวทิ ยาศาสตรการแพทยพ นื้ ฐาน แบง ความรูอ อกเปน 8 หมวดใหญ ไดแก QS กายวิภาคศาสตรข องมนษุ ย (Human Anatomy) QT สรรี วิทยา (Physiology) QU ชวี เคมี (Biochemistry) QV เภสัชวิทยา (Pharmacology) QW จุลชวี วิทยาและภมู ิคุมกัน (Bacteriology and Immunology) QX ปรสิตวิทยา (Parasitology) QY พยาธิวทิ ยาคลินิก (Clinical Pathology) QZ พยาธวิ ทิ ยา (Pathology) 2) หนังสอื เกย่ี วกบั วิชาการแพทยแ ละวิชาทเี่ กี่ยวขอ งกบั การแพทย แบง ความรูออกเปน 33 หมวดใหญ ไดแก W แพทย (Medical Profession) WA สาธารณสุขศาสตร (Public Health) WB อายุรศาสตร (Practice of Medicine) WC โรคตดิ เช้อื ตาง ๆ (Infections Diseases) WD100 โรคขาดธาตอุ าหาร (Deficiency Diseases) WE ระบบกลามเนือ้ และโครงกระดกู (Musculoskeletal System) WF ระบบหายใจ (Respiratory System) WG ระบบหวั ใจและเสนเลือด (Cardiovascular System) WH ระบบทางเดนิ ของเลือดและน้าํ เหลอื ง (Hemic and Lymphatic System) WI ระบบกระเพาะอาหารและลําไส (Gastrointestinal System) WJ ระบบปสสาวะและอวยั วะสบื พันธุ (Urogenital System) WK ระบบตอ มไรทอ (Endocrine System) WL ระบบประสาท (Nervous System) WM จิตเวชศาสตร (Psychiatry) WN รังสวี ทิ ยา (Radiology) WO ศลั ยศาสตร (Surgery) WP นรีเวชวทิ ยา (Gynecology) WQ สตู ิศาสตร (Obstetrics) WR วิทยาโรคผวิ หนงั (Dermatology) WS กุมารเวชศาสตร (Pediatrics) WT เวชศาสตรวยั ชราและโรคเรอ้ื รัง (Geriatrics, Chronic Diseases) WU ทันตแพทยศาสตร ศัลยกรรมชองปาก (Dentistry, Oral Surgery) WV โสต ศอ นาสกิ ลาริงซวทิ ยา (Otolaryngology)

13 WW จกั ษุวทิ ยา (Ophthalmology) WX กจิ การโรงพยาบาล (Hospitals) WY การพยาบาล (Nursing) WZ ประวตั กิ ารแพทย (History of Medicine) 2. การจดั หมทู รพั ยากรสารสนเทศระบบหอสมดุ รฐั สภาอเมรกิ า (LC) แบงเปน 20 หมวดใหญ ดงั นี้ A เกยี่ วกับเรื่องทว่ั ไป B ปรัชญา จติ วิทยา ศาสนา C ประวตั ศิ าสตรแ ละศาสตรตา ง ๆ D ประวตั ิศาสตรท ั่วไป และประวัติศาสตรโลกเกา E-F ประวตั ศิ าสตรอ เมรกิ า G ภูมศิ าสตร มานษุ ยวิทยา โบราณคดี นนั ทนาการ H สงั คมศาสตร J รฐั ศาสตร K กฎหมาย L การศึกษา M ดนตรี N ศิลปกรรม P ภาษาศาสตร และวรรณคดี Q วทิ ยาศาสตรท ั่วไป คณติ ศาสตร R แพทยศาสตร S เกษตรกรรม การเลย้ี งสตั ว การประมง อุตสาหกรรมท่ีเกี่ยวเน่ืองดว ยพืชและ สตั ว ตลอดจนกีฬาลาสตั ว T เทคโนโลยี U ยทุ ธศาสตร V นาวิกศาสตร Z บรรณานกุ รมและบรรณารกั ษศาสตร

14 ฐานขอ มลู หนงั สอื และวารสารอเิ ล็กทรอนิกส 1. ฐาน Clinicalkey for Nursing มวี ธิ กี ารเขาใชด ังนี้ 1. เขา ใชท่เี ว็บไซตวิทยาลัย http://www.bcnchainat.ac.th เลือกเมนูฐานขอมลู clinicalkey 2. เขา ใชง านโดยตรงที่เว็บไซต http://www.clinicalkey.com/nursing 3. เขาใชง านผานเว็บไซตห อ งสมดุ http://202.129.38.9/ULIB61/ เว็บไซต www.clinicalkey.com/nursing ท้งั PC/ Mobile/ i-pad Username : [email protected] password : belly2020

15

16

17

18 2. ฐานหนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส iGLibrary Username : th_bcnc01 Password : th_bcnc@01 ฐานขอมลู iGLibrary (ฐานขอ มลู หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส) 1. เขา ใชทเ่ี วบ็ ไซตวทิ ยาลัย http://www.bcnchainat.ac.th เลือกเมนูฐานขอมลู iGLibrary 2. เขาใชงานโดยตรงที่เวบ็ ไซต http://portal.igpublish.com/iglibrary/ User name: th_bcnc01 Password : th_bcnc@01 3. เขาใชงานผา นเวบ็ ไซตห องสมุด http://202.129.38.9/ULIB61/

19

20


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook