Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่17

หน่วยที่17

Published by pranthip.chon2557, 2017-11-26 22:57:16

Description: หน่วยที่17

Search

Read the Text Version

หน่วยท่ี 17 กฎระเบยี บและข้อบงั คบั เกยี่ วกบั อุปกรณ์ทใ่ี ช้ในงานส่งวทิ ยุสาระการเรียนรู้ 17.1 พระราชบญั ญตั ิวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์ (ฉบบั ท่ี 2) 17.2 กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 21 (พ.ศ. 2535) 17.3 กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 22 (พ.ศ. 2535) 17.4 กฎกระทรวงฉบบั ที่ 23 (พ.ศ. 2536) 17.5 กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 24 (พ.ศ. 2536) 17.6 ระเบียบคณะกรรมการการบริหารวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์ พ.ศ.2520 17.7 ระเบียบคณะกรรมการการบริหารวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั นฉ์ บบั ท่ี 2 พ.ศ.2521ผลการเรียนรู้ทคี่ าดหวงัจุดประสงค์ปลายทาง มีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั กฎระเบียบและขอ้ บงั คบั เก่ียวกบั อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นงานส่งวิทยุจุดประสงค์นาทาง 1. บอกกฎระเบียบในการใชเ้ คร่ืองวทิ ยคุ มนาคม 2. บอกระเบียบในการลงโทษตามพระราชบญั ญตั ิวทิ ยคุ มนาคม 3. บอกระเบียบคณะกรรมการการบริหารวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2521ได้

- 376 - พระราชบัญญตั วิ ทิ ยุกระจายเสียงและวทิ ยุโทรทศั น์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2502 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2502 เป็นปี ท่ี 14 ในรัชกาลปัจจุบนั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา้ ฯ ให้ประกาศวา่ โดยที่เป็นการสมควรใหม้ ีกฎหมาย วา่ ดว้ ยวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราพระราชบญั ญตั ิวทิ ยขุ ้ึนไว้ โดยคาแนะนาและยนิ ยอมของสภาผแู้ ทนราษฎร ดงั ต่อไปน้ี มาตรา 1 พระราชบญั ญตั ิน้ีเรียก “พระราชบญั ญตั ิวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์(ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2502” มาตรา 2 พระราชบญั ญตั ิน้ีใหไ้ วใ้ ชบ้ งั คบั ต้งั แต่วนั ถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นตน้ ไป มาตรา 3 ใหย้ กเลิกความในมาตรา 6 แห่งพระราชบญั ญตั ิวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยุโทรทศั น์ พ.ศ. 2498 และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปน้ีแทน “มาตรา 6 ห้ามมิให้ผู้ใดทาหรือค้าเครื่องรับวทิ ยุกระจายเสียง หรือส่วนใด ๆ แห่งเคร่ืองรับวทิ ยุกระจายเสียงตามทกี่ าหนดในกฎกระทรวง เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานผ้อู อกใบอนุญาต หรือนายทะเบียนแล้วแต่กรณี” มาตรา 4 ใหย้ กเลิกความในมาตรา 7 แห่งพระราชบญั ญตั ิวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยุโทรทศั น์ พ.ศ. 2498 และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปน้ีแทน “มาตรา 7 ห้ามมใิ ห้ผู้ใดทาหรือค้าเครื่องรับวทิ ยโุ ทรทัศน์ หรือส่วนใด ๆ แห่งเคร่ืองรับวทิ ยุโทรทัศน์ตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานผ้อู อกใบอนุญาตหรือนายทะเบียนแล้วแต่กรณี” มาตรา 5 ใหย้ กเลิกความในมาตรา 8 แห่งพระราชบญั ญตั ิวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยุโทรทศั น์ พ.ศ. 2498 และใหใ้ ชค้ วามต่อไปน้ีแทน

- 377 - “มาตรา 8 ห้ามมใิ ห้ผู้ใดค้าเคร่ืองรับวิทยุโทรทัศน์ หรือส่วนใด ๆ แห่งเคร่ืองรับวทิ ยุโทรทศั น์ตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานผ้อู อกใบอนุญาตหรือนายทะเบียนแล้วแต่กรณี” มาตรา 6 ใหย้ กเลิกความในมาตรา 18 แห่งพระราชบญั ญตั ิวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยุโทรทศั น์ พ.ศ. 2498 มาตรา 7 ใหย้ กเลิกความในมาตรา 19 แห่งพระราชบญั ญตั ิวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยุโทรทศั น์ พ.ศ. 2498 และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปน้ีแทน “มาตรา 19 ผู้ใดฝ่ าฝื นมาตรา 6 ในกรณที าเครื่องรับวทิ ยุกระจายเสียง หรือส่วนใด ๆ แห่งเครื่องรับวทิ ยกุ ระจายเสียงตามทกี่ าหนดในกฎกระทรวง หรือฝ่ าฝื นมาตรา 7 มีความผดิ ต้องระวางโทษปรับไม่เกนิ สองพันบาท หรือจาคุกไม่เกนิ สองปี หรือท้งั ปรับท้งั จา” มาตรา 8 ใหย้ กเลิกอตั ราค่าธรรมเนียมทา้ ยพระราชบญั ญตั ิวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยุโทรทศั น์ พ.ศ. 2498 และใหใ้ ชอ้ ตั ราคา่ ธรรมเนียมทา้ ยพระราชบญั ญตั ิน้ีแทน* ผรู้ ับสนองพระบรมราชโองการ พลเอก ถ. กิตติขจร รองนายกรัฐมนตรี(76 ร.จ. 1 ตอนที่ 43 (ฉบบั พเิ ศษ) ลงวนั ท่ี 7 เมษายน 2505)หมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใหใ้ ชพ้ ระราชบญั ญตั ิฉบบั น้ีคือ โดยที่เครื่องรับวทิ ยกุ ระจายเสียงและเครื่องรับวทิ ยโุ ทรทศั น์เป็นปัจจยั สาคญั ในการให้ความรู้แก่ประชาชนจึงเป็ นการสมควรที่จะใหป้ ระชาชนมี นาเขา้ หรือนาออกซ่ึงเครื่องรับวทิ ยกุ ระจายเสียง หรือส่วนใด ๆ แห่งเครื่องรับวทิ ยกุ ระจายเสียง และเคร่ืองรับวทิ ยโุ ทรทศั นห์ รือส่วนใด ๆ แห่งเคร่ืองรับวทิ ยโุ ทรทศั นไ์ ดโ้ ดยไม่ตอ้ งขอรับใบอนุญาต นอกจากน้นั ตามกฎหมายที่ใชอ้ ยใู่ นขณะน้ีไมเ่ ปิ ดโอกาสใหพ้ ่อคา้ ทาการคา้เคร่ืองรับวทิ ยุโทรทศั น์ หรือส่วนใด ๆ แห่งเคร่ืองรับวทิ ยโุ ทรทศั นไ์ ดน้ อกจากจะทาการคา้ ในนามของกระทรวง ทบวง กรม หรือนิติบุคคลที่กาหนดในกฎกระทรวง ซ่ึงสมควรแกไ้ ขเปิ ดโอกาสให้พอ่ คา้ ทาการคา้ ไดด้ ว้ ย จึงจาตอ้ งแกไ้ ขเพม่ิ เติมพระราชบญั ญตั ิวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์พ.ศ. 2498* ยกเลิกและเปลี่ยนแปลงแลว้

- 378 - อตั ราค่าธรรมเนียม*(1). ใบอนุญาตใหด้ าเนินบริการส่งวทิ ยกุ ระจายเสียง ฉบบั ละ 10,000 บาท 25,000 บาท(2). ใบอนุญาตใหด้ าเนินบริการส่งวทิ ยโุ ทรทศั น์ ฉบบั ละ 400 บาท(3). ใบอนุญาตใหท้ าเคร่ืองรับวทิ ยกุ ระจายเสียง 4,000 บาทหรือเคร่ืองรับวทิ ยโุ ทรทศั น์ หรือส่วนใด ๆ 3,000 บาทแห่งเครื่องดงั กล่าว ฉบบั ละ 2,500 บาท(4). ใบอนุญาตใหค้ า้ เครื่องรับวทิ ยกุ ระจายเสียงหรือ 2,000 บาทส่วนใด ๆ แห่งเคร่ืองรับวทิ ยกุ ระจายเสียง 1,500 บาท 1,000 บาท(ก) ทาการคา้ และนาเขา้ เพื่อการคา้ ดว้ ย ฉบบั ละ 10,000 บาท(ข) ทาการคา้ แต่อยา่ งเดียว 7,500 บาท1. ในกรุงเทพมหานคร ฉบบั ละ 6,000 บาท2. ในจงั หวดั อื่น 5,000 บาทในเขตเทศบาลนคร ฉบบั ละ 4,000 บาท 2,500 บาทในเขตเทศบาลเมือง ฉบบั ละ บาท 50นอกเขตเทศบาลนครหรือเทศบาลเมือง ฉบบั ละ3. เร่ขาย ฉบบั ละ(5). ใบอนุญาตใหค้ า้ เคร่ืองรับวทิ ยโุ ทรทศั น์หรือส่วนใด ๆ แห่งเครื่องรับวิทยโุ ทรทศั น์(ก) ทาการคา้ และนาเขา้ เพ่ือการคา้ ดว้ ย ฉบบั ละ(ข) ทาการคา้ แตอ่ ยา่ งเดียว1. ในกรุงเทพมหานคร ฉบบั ละ2. ในจงั หวดั อื่นในเขตเทศบาลนคร ฉบบั ละในเขตเทศบาลเมือง ฉบบั ละนอกเขตเทศบาลนครหรือเทศบาลเมือง ฉบบั ละ3. เร่ขาย ฉบบั ละ(6). ใบแทนใบอนุญาต ฉบบั ละ*[อตั ราคา่ ธรรมเนียม แกไ้ ขโดยพระราชบญั ญตั ิ ฯ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2521]

- 379 - กฎกระทรวง ฉบบั ที่ 21 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบญั ญตั วิ ทิ ยุคมนาคม พ.ศ. 2498 อาศยั อานาจตามความในมาตราที่ 11 วรรคสี่ แห่งพระราชบญั ญตั ิวทิ ยุคมนาคม พ.ศ. 2498ซ่ึงแกไ้ ขเพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญตั ิวิทยคุ มนาคม (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2535 และมาตรา 29 (5) แห่งพระราชบญั ญตั ิวิทยคุ มนาคม พ.ศ. 2498 รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคมออกกฎกระทรวงได้ดงั ต่อไปน้ี ให้สถานีวิทยุคมนาคมของราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค และราชการส่วนทอ้ งถ่ินที่ใช้ในกิจการของราชการน้นั ๆ ไดร้ ับยกเวน้ ไม่ต้องได้รับใบอนุญาตให้ต้งั สถานีวิทยุคมนาคม ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี 10 เมษายน พ.ศ. 2535 นุกลู ประจวบเหมาะ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคม

- 380 - กฎกระทรวง ฉบับที่ 22 (พ.ศ. 2535) ออกตามความในพระราชบญั ญตั วิ ทิ ยุคมนาคม พ.ศ. 2498อาศยั อานาจตามความในมาตรา 29 (3) แห่งพระราชบญั ญตั ิวทิ ยคุ มนาคม พ.ศ. 2498 ซ่ึงแกไ้ ขเพิม่ เติมโดยพระราชบญั ญตั ิวทิ ยคุ มนาคม (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2535 รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงไว้ดงั ต่อไปน้ีขอ้ 1 ใหก้ าหนดอตั ราค่าธรรมเนียมดงั ต่อไปน้ี(1) ใบอนุญาตใหท้ าเครื่องวทิ ยคุ มนาคม (ก) เพอื่ การศึกษา ฉบบั ละ 100 บาท (ข) เพือ่ การอื่น ฉบบั ละ 200 บาท(2) ใบอนุญาตใหม้ ีเคร่ืองวทิ ยคุ มนาคม ฉบบั ละ 200 บาท(3) ใบอนุญาตใหใ้ ชเ้ ครื่องวิทยคุ มนาคม ฉบบั ละ 500 บาท(4) ใบอนุญาตใหน้ าเขา้ ซ่ึงเคร่ืองวทิ ยคุ มนาคม ฉบบั ละ 200 บาท(5) ใบอนุญาตให้นาออกซ่ึงเคร่ืองวทิ ยคุ มนาคม ฉบบั ละ 100 บาท(6) ใบอนุญาตใหค้ า้ วทิ ยคุ มนาคม ฉบบั ละ 1,000 บาท(7) ใบอนุญาตใหซ้ ่อมแซมเคร่ืองวทิ ยคุ มนาคม ฉบบั ละ 500 บาท(8) ใบอนุญาตใหต้ ้งั สถานีวิทยคุ มนาคม (ก) กาลงั ส่งไมเ่ กิน 10 วตั ต์ ฉบบั ละ 1,000 บาท (ข) กาลงั ส่งเกิน 10 วตั ต์ แต่ไมเ่ กิน 100 วตั ต์ ฉบบั ละ 1,500 บาท (ค) กาลงั ส่งเกิน 100 วตั ต์ แตไ่ ม่เกิน 500 วตั ต์ ฉบบั ละ 2,000 บาท (ง) กาลงั ส่งเกิน 500 วตั ต์ แตไ่ มเ่ กิน 1 กิโลวตั ต์ ฉบบั ละ 3,000 บาท (จ) กาลงั ส่งเกิน 1 กิโลวตั ต์ แตไ่ ม่เกิน 5 กิโลวตั ต์ ฉบบั ละ 5,000 บาท (ฉ) กาลงั ส่งเกิน 5 กิโลวตั ต์ ฉบบั ละ 10,000 บาท(9) ใบอนุญาตพนกั งานวทิ ยุคมนาคม ฉบบั ละ 200 บาท(10) ใบอนุญาตรับขา่ ววทิ ยคุ มนาคมต่างประเทศ เพอ่ื การโฆษณา ฉบบั ละ 200 บาท

- 381 -(11) ใบแทนใบอนุญาต ฉบบั ละ 100 บาทขอ้ 2 ในกรณีที่ผขู้ อรับใบอนุญาตเป็นขา้ ราชการและจดั หาเครื่องวทิ ยคุ มนาคมส่วนตวั มาใช้ในกิจการของส่วนราชการซ่ึงตน้ สงั กดั เพ่อื ประโยชนใ์ นการปฏิบตั ิหนา้ ที่ราชการของ ใหก้ าหนดอตั ราคา่ ธรรมเนียม ดงั ตอ่ ไปน้ี(1) ใบอนุญาตใหใ้ ชเ้ ครื่องวิทยคุ มนาคม ฉบบั ละ 100 บาท(2) ใบอนุญาตให้ต้งั สถานีวิทยคุ มนาคม(ก) กาลงั ส่งไม่เกิน 10 วตั ต์ ฉบบั ละ 200 บาท(ข) กาลงั ส่งเกิน 10 วตั ต์ แตไ่ มเ่ กิน 100 วตั ต์ ฉบบั ละ 300 บาท(ค) กาลงั ส่งเกิน 100 วตั ต์ แตไ่ มเกิน 500 วตั ต์ ฉบบั ละ 400 บาท(ง) กาลงั ส่งเกิน 500 วตั ต์ แต่ไม่เกิน 1 กิโลวตั ต์ ฉบบั ละ 600 บาท(จ) กาลงั ส่งเกิน 1 กิโลวตั ต์ แต่ไมเ่ กิน 5 กิโลวตั ต์ ฉบบั ละ 1,000 บาท(ฉ) กาลงั ส่งเกิน 5 กิโลวตั ต์ ฉบบั ละ 2,000 บาท(3) ใบอนุญาตพนกั งานวิทยุคมนาคม ฉบบั ละ 40 บาท(4) ใบแทนใบอนุญาต ฉบบั ละ 20 บาท ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2535 นุกลู ประจวบเหมาะ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคมหมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใชก้ ฎกระทรวงฉบบั น้ี คือ โดยที่เป็ นการสมควรกาหนดอตั ราค่าธรรมเนียมตามมาตรา 29(3) แห่งพระราชบญั ญตั ิวิทยุคมนาคม พ.ศ. 2498 ซ่ึงแกไ้ ขเพ่ิมเติมโดยพระราชบญั ญตั ิวทิ ยคุ มนาคม (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2535 จึงจาเป็นตอ้ งออกกฎกระทรวงน้ี

- 382 - กฎกระทรวง ฉบับที่ 23 (พ.ศ. 2536) ออกตามความในพระราชบญั ญตั วิ ทิ ยุคมนาคม พ.ศ. 2498 อาศยั อานาจตามความในมาตรา 4 แห่งพระราชบญั ญตั ิวทิ ยคุ มนาคม พ.ศ. 2498 ซ่ึงแกไ้ ขเพ่ิมเติมโดยพระราชบญั ญตั ิวิทยุคมนาคม (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2535 และมาตรา 29(5) แห่งพระราชบญั ญตั ิวทิ ยคุ มนาคม พ.ศ. 2498 รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคมออกกฎกระทรวงไว้ดงั ตอ่ ไปน้ี ใหถ้ ือวา่ อุปกรณ์ของเครื่องวทิ ยคุ มนาคมดงั ต่อไปน้ีเป็นเครื่องวทิ ยคุ มนาคม (1) สายอากาศ (Antenna) ที่ใชก้ บั เครื่องวทิ ยคุ มนาคม (2) สายนาสญั ญาณ (Transmission Line) ท่ีใชก้ บั เครื่องวทิ ยุคมนาคม (3) แผงวงจร (Circuit Board) ที่ใชก้ บั เคร่ืองวทิ ยคุ มนาคม (4) แร่บงั คบั ความถ่ี (Crystal) ที่ใชก้ บั วทิ ยคุ มนาคม (5) เคร่ืองขยายกาลงั ส่ง (RF Amplifier) ท่ีใชก้ บั วทิ ยคุ มนาคม (6) มอดูล (Module) ของเครื่องวทิ ยคุ มนาคม (7) อุปกรณ์ใดฯ ที่ผใู้ ชน้ ามาติดตอ่ หรือปรับเขา้ ไวห้ รือใชป้ ระกอบกบั เคร่ืองวทิ ยุ คมนาคมเพื่อเพ่มิ สมรรถนะของเครื่องวทิ ยคุ มนาคม ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ 25 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2536 พนั เอก วนิ ยั สมพงษ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคมหมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใชก้ ฎกระทรวงฉบบั น้ี คือ โดยที่เป็นการสมควรกาหนดให้อุปกรณ์ของเคร่ืองใชว้ ทิ ยคุ มนาคมบางประเภทเป็นเคร่ืองวทิ ยคุ มนาคม เพือ่ ประโยชน์ในการควบคุมการใชเ้ ครื่องวทิ ยคุ มนาคม และโดยที่วรรคสองของบทนิยามคาวา่ “เคร่ืองวทิ ยคุ มนาคม”ในมาตรา 4 แห่งพระราชบญั ญตั ิวทิ ยคุ มนาคม พ.ศ. 2498 ซ่ึงแกไ้ ขเพ่มิ เติมโดยพระราชบญั ญตั ิวทิ ยุคมนาคม (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2535 บญั ญตั ิวา่ การกาหนดใหใ้ ชอ้ ุปกรณ์ของเครื่องวทิ ยคุ มนาคมเป็นเครื่องวทิ ยคุ มนาคมใหก้ าหนดเป็นกระทรวง จึงจาเป็นตอ้ งออกกฎกระทรวงน้ี

- 383 - กฎกระทรวง ฉบบั ที่ 24 (พ.ศ.2536) ออกตามความในพระราชบญั ญตั วิ ทิ ยุคมนาคม อาศยั อานาจตามความในมาตรา 6 วรรคสอง และมาตรา 11 วรรคสี่ แห่งพระราชบญั ญตั ิวิทยคุ มนาคม พ.ศ. 2498 ซ่ึงแกไ้ ขเพ่ิมเติม โดยพระราชบญั ญตั ิวทิ ยุคมนาคม (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ.2535 และมาตรา 29(5) แห่งพระราชบญั ญตั ิวทิ ยุคมนาคม พ.ศ. 2498 รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคมออกกฎกระทรวงกฎกระทรวงไวด้ งั ต่อไปน้ี ดงั ตอ่ ไปน้ี ขอ้ 1 ใหเ้ ครื่องวทิ ยคุ มนาคมท่ีมีลกั ษณะหรือที่ใชใ้ นกิจการดงั ต่อไปน้ี ไดร้ ับยกเวน้ ไม่ตอ้ งไดร้ ับใบอนุญาตทา มีใช้ นาเขา้ นาออก หรือ คา้ ซ่ึงเคร่ืองวทิ ยคุ มนาคม (1) ไมโครโฟนไร้สาย กาลงั ส่งไมเ่ กิน 10 มิลลิวตั ต์ ความถ่ีใชง้ าน 33-50 เมกกะเฮิรตซ์, 88-108 เมกกะเฮิรตซ์, 165-210 เมกกะเฮิรตซ์ และ470-490 เมกกะเฮิรตซ์ และกาลงั ส่งไม่เกิน 20 มิลลิวตั ต์ ความถี่การใชง้ าน 470-490 เมกกะเฮิรตซ์ (2) โทรศพั ทไ์ ร้สาย กาลงั ส่งไมเ่ กิน 10 มิลลิวตั ต์ ความถี่ใชง้ าน 1.6-1.8 เมกกะเฮิรตซ์, 30-50 เมกกะเฮิรตซ์ และ 54-74 เมกกะเฮิรตซ์ (3) วทิ ยบุ งั คบั สิ่งประดิษฐจ์ าลอง กาลงั ส่งไมเ่ กิน 100 มิลลิวตั ต์ ความถี่ใชง้ าน 26.965-27.405 เมกกะเฮิรตซ์ (4) วทิ ยบุ งั คบั การทางานระยะไกล กาลงั ส่งไม่เกิน 100 มิลลิวตั ตค์ วามถ่ีใชง้ าน 26.965- 27.405 เมกกะเฮิรตซ์ และกาลงั ส่งไมเ่ กิน 10 มิลลิวตั ต์ ความถ่ีใชง้ าน 300-500 เมกกะเฮิรตซ์ (5) เคร่ืองรับ-ส่งวทิ ยุ ซีบี (Citizen Band) กาลงั ส่งไมเ่ กิน 100 มิลลิวตั ตค์ วามถ่ีใชง้ าน 26.965-27.405 เมกกะเฮิรตซ์ (6) เคร่ืองรับ-ส่งวทิ ยขุ องระบบสัญญาณเตือนภยั ภายในบริเวณเฉพาะกาลงั ส่งไมเ่ กิน 10 มิลลิวตั ต์ ความถี่ใชง้ าน 300-500 เมกกะเฮิรตซ์ (7) เคร่ืองรับ-ส่งวทิ ยทุ ี่ใชก้ บั เครื่องทางการแพทย์ กาลงั ส่งไม่เกิน 10 มิลลิวตั ต์ ความถ่ี ใชง้ าน 300-500 เมกกะเฮิรตซ์ (8) เคร่ืองมือวดั ทางอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม

- 384 - ขอ้ 2 ใหเ้ ครื่องวทิ ยคุ มนาคมที่มีลกั ษณะหรือท่ีใชใ้ นกิจการดงั ต่อไปน้ี ไดร้ ับยกเวน้ ไม่ตอ้ งไดใ้ บอนุญาตมีใช้ หรือนาออกซ่ึงเครื่องวทิ ยคุ มนาคม (1) เครื่องรับ-ส่งวทิ ยลุ ูกขา่ ยที่ใชบ้ ริการโทรคมนาคมสาธารณะซ่ึงใชส้ ถานีกลางร่วมกนั (2) เคร่ืองรับ-ส่งวทิ ยุ ซีบี (Citizen Band) กาลงั ส่งสูงกวา่ 100 มิลลิวตั ตแ์ ตไ่ ม่เกิน 500 มิลลิวตั ต์ ความถี่ใชง้ าน 26.965-27.405 เมกกะเฮิรตซ์ (3) เคร่ืองส่งสัญญาณจากเคร่ืองเล่นวีดีโอ กาลงั ส่งไม่เกิน 10 มิลลิวตั ต์ ความถี่ใชง้ าน 510-790 เมกกะเฮิรตซ์ (4) อุปกรณ์รับสัญญาณโทรทศั น์ผา่ นดาวเทียม (TVRO) เพ่ือการรับชมโดยเฉพาะซ่ึง มิไดม้ ีการนาสัญญาณไปใชเ้ พ่ือแสวงหาผลประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ (5) อุปกรณ์รับสญั ญาณโทรทศั น์บอกรับเป็นสมาชิก (6) วทิ ยบุ งั คบั ส่ิงประดิษฐจ์ าลอง กาลงั ส่งสูงกวา่ 100 มิลลิวตั ต์ แต่ไม่เกิน 500 มิลลิวตั ต์ ความถ่ีใชง้ าน 26.965-27.405 เมกกะเฮิรตซ์ ขอ้ 3 ใหเ้ คร่ืองวิทยคุ มนาคมที่มีลกั ษณะหรือท่ีใชใ้ นกิจการดงั ต่อไปน้ี ไดร้ ับการยกเวน้ ไม่ตอ้ งไดร้ ับใบอนุญาตนาเขา้ ซ่ึงเครื่องวทิ ยคุ มนาคม (1) เครื่องโทรศพั ทเ์ คลื่อนที่ระบบรวงผ้งึ (CELLULAR) หรือวทิ ยตุ ิดตามตวั (RADIO PAGING) ที่ เคยไดร้ ับใบอนุญาตใหเ้ ขา้ ซ่ึงเครื่องวทิ ยคุ มนาคมแลว้ หากไดน้ าออกนอกราชอาณาจกั ร และจะนาเขา้ มาในราชอาณาจกั รอีกท้งั น้ี โดยมีหนงั สือกากบั เคร่ืองตามที่กรมไปรษณียโ์ ทรเลขกาหนด (2) เคร่ืองใชโ้ ทรศพั ทเ์ คลื่อนท่ีระบบรวงผ้งึ (CELLULAR) หรือวทิ ยตุ ิดตามตวั (RADIO PAGING) ที่เป็นเคร่ืองลูกขา่ ยของประเทศไทยในการใชบ้ ริการ INTERNATONAL ROAMING ท้งั น้ี โดยที่มีหนงั สือกากบั เคร่ืองตามท่ี กรมไปรษณียโ์ ทรเลขกาหนด ขอ้ 4 อุปกรณ์ของเคร่ืองวทิ ยคุ มนาคมตามกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 23 (พ.ศ. 2536) ซ่ึงออกตามความในพระราชบญั ญตั ิวทิ ยคุ มนาคม พ.ศ. 2498 เม่ือไดน้ าไปประกอบเขา้ หรือใชก้ บั เคร่ืองวทิ ยคุ มนาคมที่ไดร้ ับใบอนุญาตอยแู่ ลว้ ให้อุปกรณ์ของเครื่องวทิ ยคุ มนาคมน้นั ไดร้ ับยกเวน้ ไมต่ อ้ งได้ รับอนุญาตอีก ขอ้ 5 ใหส้ ถานีวทิ ยคุ มนาคมที่ใชใ้ นกิจการดงั ต่อไปน้ี ไดร้ ับยกเวน้ ไม่ตอ้ งไดร้ ับใบอนุญาตต้งั สถานีวทิ ยคุ มนาคม (1) สถานีลูกขา่ ยท่ีใชบ้ ริการโทรคมนาคมสาธารณะ โดยใชส้ ถานีกลางร่วมกนั

- 385 - (2) สถานีรับสญั ญาณโทรทศั นผ์ า่ นดาวเทียม (TVRO) เพอ่ื การรับชมโดยเฉพาะซ่ึงมีการ นาสัญญาณไปใชแ้ สวงหาผลประโยชนใ์ นเชิงพาณิชย์ (3) สถานีรับสัญญาณโทรทศั นบ์ อกรับเป็ นสมาชิก ใหไ้ ว้ ณ วนั ที่ 25 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2536 พนั เอก วินยั สมพงษ์ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคมหมายเหตุ : เหตุผลในการประกาศใชก้ ฎกระทรวงฉบบั น้ี คือ โดยปัจจุบนั เทคโนโลยดี า้ นวิทยุคมนาคมไดเ้ จริญก้าวหน้าข้ึน เป็ นผลให้มีการใชเ้ คร่ืองวิทยุคมนาคมกนั อย่างแพร่หลายสมควรอานวยความสะดวกให้แก่ผูใ้ ช้ โดยกาหนดการยกเวน้ ให้ไม่ตอ้ งขอรับใบอนุญาตในบางกรณีสาหรับเคร่ืองวิทยคุ มนาคม หรือต้งั สถานีวทิ ยคุ มนาคมบางประเภท และโดยท่ีมาตรา 6 วรรคสอง และมาตรา 11 วรรคสี่ แห่งพระราชบญั ญตั ิวทิ ยคุ มนาคม พ.ศ. 2498ซ่ึงแกไ้ ขเพ่ิมเติมโดยพระราชบญั ญตั ิวิทยุคมนาคม (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2535 บญั ญตั ิให้รัฐมนตรีมีอานาจออกกฎกระทรวงใหเ้ คร่ืองวทิ ยคุ มนาคมบางลกั ษณะหรือเครื่องวิทยุคมนาคมที่ใชใ้ นกิจการบางประเภทไดร้ ับยกเวน้ไม่ตอ้ งได้รับใบอนุญาตท้งั หมดหรือเฉพาะแต่บางกรณีได้ และให้สถานีวิทยุคมนาคมที่ใช้ในกิจการบางประเภท ไดร้ ับยกเวน้ ไม่ตอ้ งไดร้ ับใบอนุญาตให้ต้งั สถานีวิทยุคมนาคม จึงจาเป็ นตอ้ งออกกฎกระทรวงน้ี ...............................................................

- 386 -ระเบียบคณะกรรมการการบริหารวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยุโทรทศั น์วา่ ดว้ ยการกาหนดลกั ษณะพึงประสงคท์ างเทคนิคสาหรับสถานีวทิ ยกุ ระจายเสียง พ.ศ. 2520 *เพอ่ื ใหก้ ารบริหารวทิ ยกุ ระจายเสียง เป็นไปดว้ ยความเรียบร้อยและใหก้ ารส่งวทิ ยุกระจาย เสียงของสถานีต่าง ๆ ดาเนินไปโดยถูกตอ้ งตามหลกั วชิ าการและได้ มาตรฐานสากล อาศยัอานาจตามขอ้ 7 (5) แห่งระเบียบวา่ ดว้ ยวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์ พ.ศ.2518 และโดยมติของคณะกรรมการบริหารวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์ คร้ังที่ 7/2520 วนั ท่ี 18 กรกฎาคม2520 ใหก้ าหนดระเบียบวา่ ดว้ ยการกาหนดลกั ษณะพงึ ประสงคท์ างเทคนิคสาหรับสถานีวทิ ยุกระจายเสียงถือปฏิบตั ิดงั ต่อไปน้ีขอ้ 1 ระเบียบน้ีเรียกวา่ “ระเบียบวา่ ดว้ ยการกาหนดลกั ษณะพึงประสงคท์ างเทคนิคสาหรับสถานีวทิ ยกุ ระจายเสียง พ.ศ. 2520”ขอ้ 2 ระเบียบน้ีใหใ้ ชบ้ งั คบั ต้งั แต่บดั น้ีเป็ นตน้ ไป ลกั ษณะพงึ ประสงค์ทางเทคนิค สาหรับเคร่ืองส่งวทิ ยุกระจายเสียงระบบ เอฟ.เอม็ . ขอ้ 3 เครื่องส่งวทิ ยกุ ระจายเสียงระบบ เอฟ.เอม็ . หมายถึง เคร่ืองส่งวทิ ยกุ ระจายเสียงที่ใช้ความถ่ีในยา่ น 88- 108 เมกกะเฮิรตซ์ ขอ้ 4 เครื่องส่งวทิ ยกุ ระจายเสียงระบบ เอฟ.เอม็ . จะตอ้ งมีลกั ษณะดงั ตอ่ ไปน้ี 4.1 การควบคุมความถี่ของคลน่ื ส่งวทิ ยุ ความถี่ที่ส่งออกอากาศของเคร่ืองส่งวทิ ยุ จะคลาดเคล่ือนจากค่าความถ่ีจดั สรรไดไ้ ม่เกิน 20 ส่วน ในลา้ นของคา่ ความถ่ีจดั สรร 4.2 ความกว้างของแถบคลน่ื ทจ่ี าเป็ นต้องใช้ (Necessary Bandwidth) เครื่องส่งวทิ ยจุ ะตอ้ งมีความกวา้ งของแถบคล่ืนที่จาเป็นตอ้ งใชไ้ ดไ้ ม่เกิน 200กิโลเฮิรตซ์ 4.3 การควบคุมความแรงของคลน่ื ความถ่แี ปลกปลอม (Spurious Emissions) เคร่ืองส่งวทิ ยจุ ะตอ้ งมีวงจรลดทอนกาลงั ของคล่ืนความถี่ฮาร์มอนิกที่สอง และวธิ ีการจากดั กาลงั ของคล่ืนความถ่ีแปลกปลอมอื่น ๆ ไมใ่ หม้ ีคา่ เกินจากท่ีกาหนด คือจะตอ้ งมีความแรงของคล่ืนความถ่ีแปลกปลอมส่วนที่แรงที่สุด วดั ไดท้ ี่จุดต่อเขา้ สายส่งของระบบสายอากาศ ต่า

- 387 -กวา่ ความแรงของคล่ืนความถี่มูลฐาน (Fundamental frequency) ซ่ึงวดั ไดท้ ่ีจุดเดียวกนั ไม่นอ้ ยกวา่60 dB และค่าความแรงดงั กล่าวจะตอ้ งมีคา่ ไม่เกิน 1 มิลลิวตั ต์* ท่ี สร. 1809/ว.22 ลงวนั ที่ 30 กนั ยายน 2520 4.4 เคร่ืองมอื ประจาสถานี สถานีวทิ ยกุ ระจายเสียง เอฟ.เอม็ จะตอ้ งมีเครื่องมือประจาสถานีดงั ตอ่ ไปน้ี 4.4.1 Limiting Amplifier 4.4.2 Deviation Monitor 4.4.3 Program Equalizer 4.4.4 Program Recorder 4.4.5 และอื่น ๆ ที่จาเป็น ลกั ษณะพงึ ประสงค์ทางเทคนิค สาหรับเคร่ืองส่งวทิ ยุกระจายเสียงระบบ เอ.เอม็ . ขอ้ 5 เครื่องส่งวทิ ยกุ ระจายเสียงระบบ เอ.เอม็ . หมายถึง เครื่องส่งวทิ ยกุ ระจายเสียงท่ีใช้ความถี่ในยา่ น 535- 1605 กิโลเฮิรตซ์ ขอ้ 6 เครื่องส่งวทิ ยกุ ระจายเสียงระบบ เอ.เอม็ . จะตอ้ งมีลกั ษณะดงั ต่อไปน้ี 6.1 การควบคุมความถีข่ องคลน่ื ส่งวทิ ยุ 6.1.1 เครื่องส่งวทิ ยจุ ะตอ้ งใชผ้ ลึก (Crystal) เป็นตวั บงั คบั ความถี่ออกอากาศ 6.1.2 ความถ่ีท่ีส่งออกอากาศของเคร่ืองส่งวทิ ยุ จะคลาดเคลื่อนจากคา่ ความถี่จดั สรรไดไ้ มเ่ กิน 10 เฮิรตซ์ 6.2 ความกว้างของแถบคลนื่ ทจี่ าเป็ นต้องใช้ ( Necessary Bandwidth) จะตอ้ งไมเ่ กิน 20 กิโลเฮิรตซ์ 6.3 การควบคุมความแรงของคลน่ื ความถแี่ ปลกปลอม (Spurious Emissions) เคร่ืองส่งวทิ ยจุ ะตอ้ งมีวงจรหรือ วธิ ีการลดทอนกาลงั ส่งของคลื่นความถ่ีแปลก ปลอมตา่ ง ๆ เช่นคลื่นความถี่ฮาร์มอนิกท่ีสองเป็ นตน้ ไมใ่ หค้ า่ เกินจากท่ีกาหนด ดงั น้ี 6.3.1 เคร่ืองส่งวทิ ยทุ ่ีมีกาลงั ต้งั แต่ 50 กิโลวตั ต์ ลงมาความแรงของคล่ืนความถ่ีแปลกปลอมในส่วนที่มีกาลงั สูงสุด วดั ไดท้ ่ีจุดต่อเขา้ สายส่งกาลงั ของระบบสายอากาศจะตอ้ งต่ากวา่ความแรงของคลื่นความถี่มลู (Fundamental frequency) ซ่ึงวดั ท่ีจุดเดียวกนั ไมน่ อ้ ยกวา่ 40 dB และความแรงดงั กล่าวจะตอ้ งไมเ่ กิน 50 มิลลิวตั ต์

- 388 - 6.3.2 เครื่องส่งวทิ ยทุ ่ีมีกาลงั ส่งสูงกวา่ 50 กิโลวตั ต์ ความแรงของคล่ืนความถ่ีแปลกปลอมวดั ไดท้ ี่จุดตอ่ เขา้ สายส่งกาลงั ของระบบสายอากาศ จะตอ้ งต่ากวา่ ความแรงของคลื่นความถี่มูลฐาน (Fundamental frequency) ซ่ึงวดั ท่ีจุดเดียวกนั ไมน่ อ้ ยกวา่ 60 dB และความแรงดงั กล่าวไม่ควรเกิน 50 มิลลิวตั ต์ 6.4 ระบบสายดนิ และสายอากาศ สถานีวทิ ยกุ ระจายเสียงระบบ เอ.เอม็ จะใชส้ ายอากาศเป็นแบบต้งั ตรง(Conventional Base Insulated Antenna) มีสายดิน 120 เส้น ยาวเส้นละไม่ต่ากวา่ 0.25 ความยาวคลื่น แผเ่ ป็นรัศมีออกจากจุดใตฐ้ านสายอากาศ หรือสายอากาศที่มีคุณลกั ษณะเทียบเท่า ท้งั น้ีจะตอ้ งมี Voltage Standing Wave Ratio (VSWR) วดั ท่ีจุดตอ่ เขา้ สายส่งกาลงั ของสายอากาศดีกวา่ 1: 1.66 รายละเอียดในขอ้ 6.4 น้ีไม่ใชบ้ งั คบั กบั สถานีวทิ ยกุ ระจายเสียงระบบ เอ.เอม็ ที่มีกาลงั ส่งออกอากาศ (E.M.R.P) ไมเ่ กิน 1 กิโลวตั ต์ 6.5 เคร่ืองมือประจาสถานี สถานีวทิ ยกุ ระจายเสียง เอฟ.เอม็ จะตอ้ งมีเคร่ืองมือประจาสถานีดงั ตอ่ ไปน้ี 6.5.1 Limiting Amplifier 6.5.2 Deviation Monitor 6.5.3 Program Equalizer 6.5.4 Program Recorder 6.5.5 และอ่ืน ๆ ที่จาเป็น บทเฉพาะกาล ขอ้ 7 สถานีวทิ ยกุ ระจายเสียงทุกสถานีท่ีดาเนินการส่งกระจายเสียงอยใู่ นวนั ท่ีระเบียบน้ีใช้บงั คบั ซ่ึงมีสภาพทางเทคนิคต่ากวา่ หรือมิไดเ้ ป็นไปตามลกั ษณะพงึ ประสงคท์ างเทคนิคตามท่ีกาหนดไวใ้ นระเบียบน้ีใหค้ งดาเนินการส่งกระจายเสียงต่อไปได้ แต่ตอ้ งจดั การแกไ้ ขใหเ้ ป็นไปตามระเบียบน้ีภายในกาหนด 180 วนั นบั แต่วนั ที่ระเบียบน้ีใชบ้ งั คบั ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2520 (นายดุสิต ศิริวรรณ) รัฐมนตรีประจาสานกั นายกรัฐมนตรี ประธานกรรมการบริหารวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์

- 389 - ระเบียบคณะกรรมการการบริหารวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์ วา่ ดว้ ยการกาหนดลกั ษณะพึงประสงคท์ างเทคนิคสาหรับสถานีวทิ ยกุ ระจายเสียง ฉบบั ที่ 2 (พ.ศ. 2521) * เพื่อใหก้ ารบริหารวทิ ยกุ ระจายเสียงเป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย และใหถ้ ือการปฏิบตั ิตามขอ้4.4 และขอ้ 6.5 แห่งระเบียบคณะกรรมการการบริหารวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์วา่ ดว้ ยการกาหนดลกั ษณะพึงประสงคท์ างเทคนิคสาหรับสถานีวิทยกุ ระจายเสียง พ.ศ. 2520 ของสถานีวทิ ยกุ ระจายเสียงต่าง ๆ ไดเ้ ป็นไปในมาตรฐานเดียวกนั ฉะน้นั อาศยั อานาจตามขอ้ 7 (5) แห่งระเบียบวา่ ดว้ ยวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั นพ์ .ศ.2518 คณะกรรมการบริหารวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์ จึงไดก้ าหนดระเบียบวา่ ดว้ ยการกาหนดลกั ษณะพึงประสงคท์ างเทคนิคสาหรับวทิ ยกุ ระจายเสียง ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ. 2521) ใหส้ ถานีวิทยกุ ระจายเสียงถือปฏิบตั ิดงั ต่อไปน้ี ขอ้ 1 ระเบียบน้ีเรียกวา่ “ระเบียบคณะกรรมการบริหารวิทยกุ ระจายเสียงและวทิ ยุโทรทศั น์วา่ ดว้ ยการกาหนดลกั ษณะพึงประสงคท์ างเทคนิคสาหรับสถานีวทิ ยกุ ระจายเสียง ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ.2521)” ขอ้ 2 ขอ้ กาหนดทางวชิ าการของเครื่องมือประจาสถานีวทิ ยกุ ระจายเสียงในระบบ เอฟ.เอม็(ตามขอ้ 4.4 แห่งระเบียบคณะกรรมการบริหารวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์ วา่ ดว้ ยลกั ษณะพงึ ประสงคท์ างเทคนิคสาหรับสถานีวทิ ยกุ ระจายเสียง พ.ศ. 2520) ดงั ต่อไปน้ี* ที่ สร. 1809/ว.33 ลงวนั ท่ี 15 พฤศจิกายน 2521

- 390 - Limiting Amplifier ลกั ษณะโดยทวั่ ไป เป็นเคร่ืองขยายสัญญาณยา่ นความถี่เสียงที่สามารถจากดั ความแรงสูงสุดของสัญญาณไดเ้ พื่อป้ องกนั การ Over Modulationลกั ษณะทางวชิ าการ : ไม่นอ้ ยกวา่ 30Gain :  dB สาหรับสัญญาณในช่วงความถ่ีFrequency Response ระหวา่ ง 50 ถึง 15,000 เฮิรตซ์Harmonic Distortion : 1 % หรือดีกวา่ สาหรับสญั ญาณในช่วงAttack Time ความถี่ระหวา่ ง 50 ถึง 15,000 เฮิรตซ์Recovery Time : 30 Microsecond หรือ ดีกวา่Compression Ratio : 7 Second หรือ ดีกวา่Noise : 8 : 1 หรือ ดีกวา่ : 60 dB ต่ากวา่ Threshold of Limiting Deviation Monitor ลกั ษณะโดยทว่ั ไป เป็นเครื่องตรวจสอบการเบี่ยงเบนของความถ่ี (Frequency Deviation)ของสัญญาณความถี่วทิ ยุ เม่ือมีการผสมกบั ความถี่เสียงในระบบ FM โดยเปรียบเทียบคา่ ที่วดั ได้เป็นอตั ราร้อยละของการผสมสัญญาณลกั ษณะทางวชิ าการ 88 ถึง 108 เมกกะเฮิรตซ์ยา่ นความถ่ีของสญั ญาณความถี่ :วทิ ยทุ ่ีจะตรวจสอบได้  75 กิโลเฮิรตซ์ Deviation เท่ากบัการเปรียบเทียบคา่ ที่วดั ได้ : 100 % Modulation 0 ถึง 133 % หรือมากกวา่อตั ราการผสมสัญญาณท่ี :สามารถตรวจสอบได้

- 391 - Program Equalizer ลกั ษณะโดยทวั่ ไป เป็นเครื่องปรับระดบั สัญญาณยา่ นความถ่ีเสียง เพอ่ื แกไ้ ขและชดเชยความสูญเสียของสญั ญาณ เนื่องจากการส่งรายการไปในส่ือส่งสัญญาณ (Transmission Media)ลกั ษณะทางวชิ าการ : 10 dBM หรือสูงกวา่ระดบั สัญญาณทางออก :  1 dB สาหรับสัญญาณในช่วงFrequency response ความถ่ีระหวา่ ง 50 ถึง 15,000 เฮิรตซ์Distortion : 1 % หรือดีกวา่ สาหรับสญั ญาณในNoise ช่วงความถ่ีระหวา่ ง 50 ถึง 15,000 เฮิรตซ์ : - 60 dB หรือดีกวา่ Program Recorder ลกั ษณะโดยทวั่ ไป เป็นเครื่องสาหรับบนั ทึกเสียงรายการกระจายเสียง เพือ่ เกบ็ ไว้ตรวจสอบรายการต่าง ๆ ท่ีไดอ้ อกอากาศไปแลว้ลกั ษณะทางวชิ าการ :  dB, สาหรับสญั ญาณในช่วงFrequency Response ความถี่ระหวา่ ง 50 ถึง 15,000 เฮิรตซ์ 1 % หรือดีกวา่Wow and Flutter : 1 วตั ต์ หรือสูงกวา่ระดบั กาลงั สญั ญาณทางออก : ขอ้ 3 ขอ้ กาหนดทางวชิ าการของเครื่องมือประจาสถานีวิทยกุ ระจายเสียงในระบบ เอ.เอม็(ตามขอ้ 6.5 แห่งระเบียบคณะกรรมการบริหารวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั นว์ า่ ดว้ ยลกั ษณะพึงประสงคท์ างเทคนิคสาหรับสถานีวทิ ยกุ ระจายเสียง พ.ศ.2520) มีดงั ต่อไปน้ี

- 392 - Modulation Monitor ลกั ษณะโดยทว่ั ไป เป็นเครื่องตรวจสอบอตั ราการผสมสัญญาณความถี่เสียงกบั ความถี่วทิ ยุทางช่วงสูงของสัญญาณ (Amplitude Modulation)ลกั ษณะทางวชิ าการ 525 ถึง 1605 กิโลเฮิรตซ์ยา่ นความถ่ีของสัญญาณความถ่ี : 0 ถึง 133 % หรือมากกวา่วทิ ยทุ ่ีจะตรวจสอบได้อตั ราการผสมสัญญาณที่ :สามารถตรวจสอบได้ Limiting Amplifier ลกั ษณะโดยทว่ั ไป เป็นเคร่ืองขยายสัญญาณยา่ นความถ่ีเสียงท่ีสามารถจากดั ความแรงสูงสุดของสัญญาณไดเ้ พื่อป้ องกนั การ Over Modulationลกั ษณะทางวชิ าการ : ไมน่ อ้ ยกวา่ 30GainFrequency Response :  dB สาหรับสญั ญาณในช่วงความถี่ ระหวา่ ง 50 ถึง 15,000 เฮิรตซ์Harmonic Distortion : 1 % หรือดีกวา่ สาหรับสัญญาณในช่วงAttack Time ความถ่ีระหวา่ ง 50 ถึง 15,000 เฮิรตซ์Recovery TimeCompression Ratio : 30 Microsecond หรือ ดีกวา่Noise : 7 Second หรือ ดีกวา่ : 8 : 1 หรือ ดีกวา่ : 60 dB ต่ากวา่ Threshold of Limiting

- 393 - Program Equalizer ลกั ษณะโดยทว่ั ไป เป็นเคร่ืองปรับระดบั สัญญาณยา่ นความถี่เสียง เพอื่ แกไ้ ขและชดเชยความสูญเสียของสญั ญาณ เนื่องจากการส่งรายการไปในส่ือส่งสัญญาณ (Transmission Media)ลกั ษณะทางวชิ าการ : 10 dBM หรือสูงกวา่ระดบั สัญญาณทางออก :  1 dB สาหรับสัญญาณในช่วงFrequency response ความถี่ระหวา่ ง 50 ถึง 15,000 เฮิรตซ์Distortion : 1 % หรือดีกวา่ สาหรับสญั ญาณในNoise ช่วงความถ่ีระหวา่ ง 50 ถึง 15,000 เฮิรตซ์ : - 60 dB หรือดีกวา่ Program Recorder ลกั ษณะโดยทวั่ ไป เป็นเคร่ืองสาหรับบนั ทึกเสียงรายการกระจายเสียง เพอ่ื เก็บไว้ตรวจสอบรายการตา่ ง ๆ ที่ไดอ้ อกอากาศไปแลว้ลกั ษณะทางวชิ าการ :  2dB, สาหรับสัญญาณในช่วงFrequency Response ความถ่ีระหวา่ ง 50 ถึง 10,000 เฮิรตซ์ 1 % หรือดีกวา่Wow and Flutter : 1 วตั ต์ หรือสูงกวา่ระดบั กาลงั สัญญาณทางออก :ขอ้ 4 ระเบียบน้ีใหใ้ ชบ้ งั คบั ต้งั แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2522 เป็นตน้ ไป ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี 14 พฤศจิกายน 2521 พลเอก (บุญเรือน บวั จรูญ) รัฐมนตรีประจาสานกั นายกรัฐมนตรีประธานกรรมการบริหารวทิ ยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์

- 394 -ศัพท์สาคญั ในหน่วยท่ี 171. Conventional Base Insulated Antenna สายอากาศเป็นแบบต้งั ตรง2. Deviation Monitor เครื่องตรวจสอบการเบ่ียงเบนของความถ่ี3. Fundamental Frequency ความถ่ีพ้นื ฐาน4. Limiting Amplifier เคร่ืองขยายจากดั ความแรงสูงสุดของสัญญาณ5. Modulation Monitor เครื่องตรวจสอบอตั ราการผสมสัญญาณความถี่วทิ ยุ6. Necessary Bandwidth ความกวา้ งของแถบคลื่นท่ีจาเป็นตอ้ งใช้7. Program Equalizer เคร่ืองปรับระดบั สัญญาณยา่ นความถ่ีเสียง8. Program Recorder เครื่องบนั ทึกเสียง9. Spurious Emissions การควบคุมความแรงของคล่ืนความถ่ีแปลกปลอม10. Voltage Standing Wave Ratio VSWR

- 395 - บรรณานุกรมพนั คา ช่อวงศ.์ เครื่องส่งวทิ ยุและสายอากาศ. กรุงเทพ ฯ : สานกั พมิ พ์ ศนู ยส์ ่งเสริมอาชีวะ, 2548.ร.ต.อ. สุชาติ กงั วารจิตต.์ เคร่ืองรับส่งวทิ ยุและระบบวทิ ยุส่ือสาร. กรุงเทพ ฯ : ซีเอด็ ยเู คชนั่ , 2532.กรมไปรษณียโ์ ทรเลข. ข้อสอบพนักงานวทิ ยสุ มัครเล่นข้ันต้น. สวสั ดิการกรมไปรษณียโ์ ทรเลข, กรุงเทพ ฯ

- 396 - แบบฝึ กหดั หน่วยท่ี 17คาสั่ง จงเติมคาในช่องวา่ งและตอบคาถามในขอ้ ต่อไปน้ีใหม้ ีความถูกตอ้ งสมบรู ณ์มากท่ีสุด1. วทิ ยคุ มนาคม หมายความวา่ ........................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................2. พนกั งานวทิ ยคุ มนาคม หมายความวา่ ............................................................................................ ........................................................................................................................................................3. เจา้ พนกั งานวทิ ยผุ อู้ อกใบอนุญาต หมายความวา่ ........................................................................... ........................................................................................................................................................4. จากกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 22 (พ.ศ.2535) ใบอนุญาตให้ทาเคร่ืองวทิ ยคุ มนาคม เพ่ือการศึกษา ฉบบั ละ ................... บาท5. จากกฎกระทรวง ฉบบั ท่ี 22 (พ.ศ.2535) ใบอนุญาตใหม้ ีเคร่ืองวทิ ยคุ มนาคม ฉบบั ละ ......... บาท6. กฎกระทรวง ฉบบั ที่ 23 (พ.ศ.2536) ใหถ้ ือวา่ อุปกรณ์ของเคร่ืองวทิ ยคุ มนาคม ใดบา้ งจดั เป็น เคร่ืองวทิ ยคุ มนาคม ........................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................7. เครื่องส่งวทิ ยกุ ระจายเสียงระบบเอฟ-เอม็ หมายถึง ........................................................................ ........................................................................................................................................................8. เครื่องส่งวทิ ยกุ ระจายเสียงระบบเอเอม็ หมายถึง........................................................................... ........................................................................................................................................................9. สถานีวทิ ยกุ ระจายเสียงระบบเอเอม็ จะใชเ้ สาอากาศแบบ............................................................. มีสายดิน ................ เส้น ยาวเส้นละไม่ต่ากวา่ ...............................................................................10. สถานีวทิ ยกุ ระจายเสียงซ่ึงมีสภาพทางเทคนิคต่ากวา่ หรือมิไดเ้ ป็นไปตามท่ีกาหนด จะตอ้ งทา การแกไ้ ขใหเ้ ป็นไปตามระเบียบภายในกาหนดเวลาก่ีวนั ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

- 397 - แบบประเมนิ ท้ายหน่วยท่ี 17จงทาเคร่ืองหมาย  ลงในคาตอบที่ถูกตอ้ งที่สุด1. ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตใหใ้ ชเ้ คร่ืองวทิ ยคุ มนาคม ฉบบั ล่ะเท่าไรก. 1,000 บาท ข. 500 บาทค. 200 บาท ง. 100 บาท2. ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตใหค้ า้ วทิ ยคุ มนาคม ฉบบั ละเท่าไรก. 1,000 บาท ข. 500 บาทค. 200 บาท ง. 100 บาท3. กฎกระทรวง ฉบบั ใด ใหส้ ถานีวทิ ยคุ มนาคมของราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภมู ิภาคและราชการส่วนทอ้ งถิ่นท่ีใชใ้ นกิจการของราชการน้นั ไดร้ ับยกเวน้ ไมต่ อ้ งไดร้ ับใบอนุญาตใหต้ ้งั สถานีวทิ ยคุ มนาคมก. กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 21 ข. กฎกระทรวงฉบบั ที่ 22ค. กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 23 ง. กฎกระทรวงฉบบั ที่ 244. คา่ ธรรมเนียม ใบอนุญาตใหท้ าเคร่ืองวทิ ยคุ มนาคม เพอ่ื การศึกษา ฉบบั ละเทา่ ไรก. 1,000 บาท ข. 500 บาทค. 200 บาท ง. 100 บาท5. ค่าธรรมเนียม ใบอนุญาตใหม้ ีเครื่องวทิ ยคุ มนาคม ฉบบั ละเทา่ ไรก. 1,000 บาท ข. 500 บาทค. 200 บาท ง. 100 บาท6. ค่าธรรมเนียม ใบอนุญาตพนกั งานวทิ ยคุ มนาคม ฉบบั ละเท่าไรก. 1,000 บาท ข. 500 บาทค. 200 บาท ง. 100 บาท7. อุปกรณ์ใดต่อไปน้ี ไม่ใช่ เครื่องวทิ ยคุ มนาคมก. สายอากาศที่ใชใ้ นเครื่องวทิ ยคุ มนาคมข. เครื่องขยายเสียงท่ีใชใ้ นหอ้ งส่งค. สายนาสัญญาณท่ีใชใ้ นเครื่องวทิ ยคุ มนาคมง. แร่บงั คบั ความถี่ที่ใชใ้ นเครื่องวทิ ยคุ มนาคม

- 398 -8. เครื่องส่งวทิ ยกุ ระจายเสียงระบบ เอฟ.เอม็ จะตอ้ งมีความกวา้ งของแถบคล่ืนที่จาเป็ นตอ้ งใชไ้ ดไ้ มเ่ กินเท่าใดก. 75 กิโลเฮิรตซ์ ข. 100 กิโลเฮิรตซ์ค. 150 กิโลเฮิรตซ์ ง. 200 กิโลเฮิรตซ์9. เคร่ืองส่งวทิ ยกุ ระจายเสียงระบบ เอ.เอม็ จะตอ้ งมีความกวา้ งของแถบคล่ืนท่ีจาเป็ นตอ้ งใชไ้ ดไ้ มเ่ กินเท่าใดก. 10 กิโลเฮิรตซ์ ข. 20 กิโลเฮิรตซ์ค. 25 กิโลเฮิรตซ์ ง. 75 กิโลเฮิรตซ์10. คา่ เบ่ียงเบนความถี่ ในระบบ เอฟ.เอม็ เปรียบเทียบค่าท่ีวดั ไดค้ ือขอ้ ใดก.  75 กิโลเฮิรตซ์ ข.  100 กิโลเฮิรตซ์ค.  150 กิโลเฮิรตซ์ ง.  200 กิโลเฮิรตซ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook