Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานกรณีหมอกควันและฝุ่นละอองขนาดเล็ก

รายงานกรณีหมอกควันและฝุ่นละอองขนาดเล็ก

Published by artwork minniegroup, 2023-08-08 04:39:14

Description: รายงานกรณีหมอกควันและฝุ่นละอองขนาดเล็ก

Search

Read the Text Version

ในสวนของพฤติกรรมการปองกันตนเองจากฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 พบวา ประชาชนมีการสวมหนากาก ปองกันฝุนละออง รอยละ 81.7 การปดประตูหนาตาง รอยละ 59.4 การไมเผาขยะ กระดาษ และจุดธูป รอยละ 57.9 การลดระยะเวลาออกนอกอาคาร รอยละ 52.4 การงดการออกกำลังกายกลางแจง รอยละ 44.9 และการตรวจเช็ค คุณภาพอากาศเพียงรอยละ 34.7 ดังรูปที่ 16 และประชาชนในเขตสุขภาพที่มีการสวมหนากากปองกันฝุนละอองสูงสุด คือ เขตสุขภาพที่ 5 รอยละ 99.69 รองลงมา คือ เขตสุขภาพที่ 7 รอยละ 84.97 และ เขตสุขภาพที่ 1 รอยละ 82.04 ตามลำดับ พฤตกิ รรมการปองกนั ตนเองจากฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 100 80 รอยละ 40 20 0 ปอ สงวกมันหฝนนุ า ลกะาอกอง อลอดกรนะอยกะอเวาลคาาร งดการกอลอากงแกจาํ ลง งั กาย ปหดนปา ตระาตงู กระดไามษเผแาขลยะจะดุ ธปู คณุ ตภราวพจอเชา็คกาศ รปู ท่ี 16 พฤตกิ รรมการปองกันตนเองจากฝนุ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 นอกจากนี้ ยังมีการเฝาระวังพฤติกรรม ความวิตกกังวล และการเตรียมการตามเหตุการณตาง ๆ ไดแก อนามัยโพล “ประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เตรียมตัวรับมือฝุน PM2.5 อยางไร” อนามัยโพล “พฤติกรรมการใชธูปกระดาษเงิน กระดาษทอง”กับ “เทศกาลตรุษจีน” ของคนไทย อนามัยโพล “ผูปกครองหวงใย ใสใ จสขุ ภาพบุตรหลาน” จาก PM2.5 เปน ตน 43 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

2.2.4 ดูแลสุขภาพประชาชนในพ้นื ท่เี สีย่ ง เปดคลินิกมลพิษ/มุมคลินิกมลพิษ/ คลินิกมลพิษออนไลน โดยโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี กรมการแพทย ไดจ ดั ตง้ั คลนิ กิ มลพษิ แหง แรกในประเทศไทย เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2562 เพื่อเปนคลินิกเฉพาะทาง สำหรับประชาชนที่ไดรับผลกระทบจาก PM2.5 และสราง ความรอบรูสุขภาพใหประชาชน โดยอาศัยความรวมมือ และความเขม แขง็ ของเครอื ขา ยคลนิ กิ มลพษิ ในโรงพยาบาล สงั กดั กรมการแพทย สงั กดั กรงุ เทพมหานคร โรงพยาบาลศนู ย/ โรงพยาบาลท่ัวไป โดยมีการดำเนินงาน ดงั น้ี 1) การเตรยี มความพรอ ม โดยจัดสัมมนาการพัฒนาคลินิกมลพิษ เครอื ขา ยภาคเหนอื ระบบออนไลน เมอ่ื วนั ท่ี 17 กมุ ภาพนั ธ 2564 จัดโดยมีผูเขารวมอบรม คือ สำนักงานสาธารณสุข จงั หวดั เชยี งใหม โรงพยาบาลนครพงิ ค โรงพยาบาลเชยี งราย ประชานุเคราะห โรงพยาบาลลำพูน โรงพยาบาลพะเยา โรงพยาบาลลำปาง โรงพยาบาลแพร เพอ่ื สรปุ ผลการดำเนนิ งานคลนิ กิ มลพษิ ในปท ผ่ี า นมา และนำเสนอการรว มบรหิ าร จัดการคลินิกมลพิษออนไลนในพื้นที่เพื่อสามารถใชขอมูล รวมกัน และนำเสนอแนวทางการวินิจฉัยโรคจากมลพิษ ฝุน PM2.5 โดยการใชรหสั Z581 ในการวินิจฉัยโรค รวมทง้ั ไดจ ดั สมั มนาเครอื ขา ยคลนิ กิ มลพษิ ณ โรงแรมมริ าเคลิ แกรนดค อนเวนชน่ั เมอ่ื วนั ท่ี 7 เมษายน 2564 เพื่อกระจายการดำเนินงานคลินิกมลพิษออนไลน ใหก บั เครอื ขา ยและสง ตอ ใหก บั ประชาชนเขา ถงึ คลนิ กิ มลพษิ ออนไลนไ ดอยางท่วั ถงึ โดยมีผูเขารวมสัมมนา 84 คน และ ผูที่เขารวมสัมมนาผานระบบออนไลน จำนวน 9 คน รวม ทง้ั สน้ิ 93 คน จากโรงพยาบาลทว่ั ประเทศ 47 แหง ใน 13 เขตบริการสุขภาพ สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 44 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

2) จดั ทำวดิ ีโอประชาสมั พันธค ลนิ ิกมลพษิ โรงพยาบาลนพรตั นราชธานี กรมการแพทย ไดจัดทำคลิปวดิ ีโอคลินิกมลพษิ และคลนิ ิกมลพษิ ออนไลน เพอ่ื ประชาสมั พนั ธแ ละใหค ำแนะนำประชาชนใหส ามารถเขา ถงึ การประเมนิ อาการทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ตวั เอง และรบั รคู ำแนะนำ เบื้องตนไดทันที ซึ่งปจจุบันมีผูเขามาเยี่ยมชมเว็บไซตคลินิกมลพิษออนไลนสะสม จำนวน 20,567 ครั้ง (ขอมูล ณ วันที่ 11 มถิ นุ ายน 2564) ผลการดำเนนิ งาน พบวา ปจ จบุ นั มคี ลนิ กิ มลพษิ ในโรงพยาบาล จำนวน 60 แหง จำแนกเปน โรงพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 48 แหง โรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 3 แหง และโรงพยาบาลสังกัด กรมการแพทย จำนวน 9 แหง รวมทง้ั ศูนยบรกิ ารสาธารณสุขในกรงุ เทพมหานคร จำนวน 68 แหง ดังรปู ที่ 17 45 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข : 11 แหง สงั กัดกระทรวงสาธารณสุข : 16 แหง • โรงพยาบาลศูนยขอนแกน • โรงพยาบาลเชยี งรายประชานเุ คราะห • โรงพยาบาลเลย • โรงพยาบาลนครพิงค • โรงพยาบาลกาฬสินธุ • โรงพยาบาลแพร • โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค • โรงพยาบาลสอง • โรงพยาบาลมุกดาหาร • โรงพยาบาลลาํ ปาง • โรงพยาบาลบรุ ีรมั ย • โรงพยาบาลลาํ พนู • โรงพยาบาลรอยเอ็ด • โรงพยาบาลพะเยา • โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา • โรงพยาบาลเชียงคํา • โรงพยาบาลปากชองนานา • โรงพยาบาลสวรรคประชารกั ษ • โรงพยาบาลเทพรตั นน ครราชสมี า • โรงพยาบาลแมออน • โรงพยาบาลพิมาย • โรงพยาบาลเทพรัตนเวชชานุกูล • โรงพยาบาลเพชรบูรณ ภาคตะวันออก • โรงพยาบาลวเิ ชียรบรุ ี สงั กัดกระทรวงสาธารณสุข : 2 แหง • โรงพยาบาลโกสมั พีนคร • โรงพยาบาลปลวกแดง • โรงพยาบาลขุนยวม • โรงพยาบาลระยอง • โรงพยาบาลหนองบัว ภาคกลางและภาคตะวันตก คลินกิ มลพษิ กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล สังกัดกระทรวงสาธารณสขุ : 7 แหง สังกัดกระทรวงสาธารณสขุ : 9 แหง • โรงพยาบาลสระบรุ ี กรุงเทพมหานครและปริมณฑล • โรงพยาบาลสมุทรปราการ • โรงพยาบาลพระพทุ ธบาท สังกัดกรมการแพทย : 9 แหง • โรงพยาบาลปทมุ ธานี • โรงพยาบาลพหลพลพยหุ เสนา • โรงพยาบาลนครปฐม • โรงพยาบาลราชบรุ ี • โรงพยาบาลนพรตั นราชธานี • โรงพยาบาลพระนง่ั เกลา • โรงพยาบาลบานโปง • โรงพยาบาลราชวถิ ี • โรงพยาบาลสมทุ รสาคร • โรงพยาบาลโพธาราม • โรงพยาบาลเลิดสิน • โรงพยาบาลกระทุมแบน • โรงพยาบาลดําเนินสะดวก • โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ (วัดไรขิง) • โรงพยาบาลวัดเกตุมดีศรวี ราราม • โรงพยาบาลสงฆ • โรงพยาบาลทา ฉลอง ภาคใต • สถาบันมะเรง็ แหงชาติ • โรงพยาบาลบางใหญ สงั กัดกระทรวงสาธารณสุข : 3 แหง • สถาบันสุขภาพเด็กแหง ชาติมหาราชนิ ี • โรงพยาบาลสรุ าษฎรธ านี • สถาบันประสาท สงั กัดกรงุ เทพมหานคร : 3 แหง • โรงพยาบาลวชิระภเู กต็ • สถาบนั โรคทรวงอก • โรงพยาบาลตากสิน • โรงพยาบาลยะลา • โรงพยาบาลกลาง • โรงพยาบาลเจริญกรงุ ประชารกั ษ คลนิ กิ มลพษิ corner กศรุงูนเยทบพรมกิ หาารนสคาธรา6ร8ณสแหขุ ง รปู ท่ี 17 รายช่อื คลนิ ิกมลพษิ ในประเทศไทย สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 46 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

“คลนิ กิ มลพษิ ออนไลน www.pollutionclinic.com” พัฒนา ข้ึนมาเพอ่ื ใหป ระชาชนเขาถึงคลินิกมลพษิ และสามารถประเมนิ อาการ เจ็บปวยและพบแพทยจากผลกระทบฝุน PM2.5 รวมทั้งเปนแหลงสราง ความรอบรู PM2.5 และไดม กี ารขยายการดำเนนิ งาน “คลนิ กิ มลพษิ ออนไลน” รวมกับเครือขายมลพิษออนไลนทว่ั ประเทศ จำนวน 49 แหง สถานการณผูเขามารับบริการจากการไดรับสัมผัสฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในคลินิก มลพิษออนไลน ป 2564 (ขอมูล ณ วันที่ 11 มิถุนายน 2564) พบวา มีผูเขามาประเมินอาการตนเองและขอคำปรึกษา จากแพทยในคลินิกมลพิษออนไลน จำนวน 423 ราย จำแนกเปนเพศชาย รอยละ 30.5 และเพศหญิง รอยละ 67.8 โดยพบวา ผปู ว ยมอี าการระดบั รนุ แรง จำนวน 107 ราย (รอ ยละ 25.3) อาการระดบั ปานกลาง จำนวน 162 ราย (รอ ยละ 38.3) อาการระดบั เลก็ นอ ย จำนวน 120 ราย (รอ ยละ 28.4) และอาการระดบั ปกติ จำนวน 34 ราย (รอ ยละ 8.0) ซง่ึ พบ อาการผดิ ปกตขิ องระบบทางเดนิ หายใจสงู สดุ รอ ยละ 49 รองลงมาคอื ระบบตา (รอ ยละ 52) ระบบผวิ หนงั (รอ ยละ 15) ระบบหัวใจ (รอยละ 13) ระบบคอ จมกู (รอยละ 5) และระบบประสาท (รอ ยละ 0.5) ตามลำดับ เมือ่ เปรียบเทยี บสถานการณผ ูเ ขามารบั บริการจากการไดรับสมั ผสั ฝุนละอองขนาดไมเ กนิ 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในคลินิกมลพิษออนไลนกับป 2562 และ ป 2563 พบวา อาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ และระบบผิวหนัง มีแนวโนมเพิ่มขึ้นจากป 2563 แตมีแนวโนมลดงลงจากป 2562 สำหรับอาการผิดปกติของระบบตา และระบบหัวใจ มีแนวโนมลดลงจากป 2562 และ ป 2563 ในสวนของระบบคอ จมูก และระบบประสาทมีแนวโนมลดลงจากป 2563 เชนเดียวกัน ดังรูปท่ี 18 รูปที่ 18 สรุปจำนวนผปู ว ยทง้ั หมดในระบบคลินิกมลพิษออนไลน และรอยละกลมุ อาการผดิ ปกติ จำแนกรายป 47 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

จัดเตรยี มหองปลอดฝุน ในพื้นทเ่ี ส่ียง การพฒั นาหอ งปลอดฝนุ ไดจ ดั คมู อื และวดี ที ศั นก ารจดั ทำหอ งปลอดฝนุ และอบรม ชแ้ี จงแนวทางการ ดำเนินงานใหแกเจาหนาที่ เพื่อสนับสนุนการจัดทำหองปลอดฝุนในโรงพยาบาลและสถานที่ที่มีกลุมเสี่ยง เชน โรงเรียน ศูนยเด็กเล็ก สถานที่ดูแลผูสูงอายุ ในพื้นที่เสี่ยง ซึ่งในป 2564 มีหองปลอดฝุนมากกวา 2,760 แหง กระจายในจังหวัด ตาง ๆ เชน จังหวัดเชียงใหม จัดเตรียมหองปลอดฝุน หรือ Safety Zone โดยสำนักงานสาธารณสุข จังหวัดเชียงใหมรวมมือกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น และสถานที่เอกชน ทั้ง 25 อำเภอ จำนวน 1,701 แหง สามารถ รองรบั จำนวนคนไดท ้ังหมด 35,270 คน จังหวดั เชียงราย จัดเตรียมหอ งปลอดฝนุ จำนวน 208 แหง จังหวัดอุทัยธานี จัดเตรียมหองปลอดฝุนสำหรับผูมารับบริการในสถานการณที่มีหมอกควัน จำนวน 24 แหง (อำเภอละ 3 แหง ) จังหวัดนครราชสีมา จัดเตรียมหองปลอดฝุนในโรงพยาบาลชุมชน 29 แหง และ โรงพยาบาล สงเสรมิ สขุ ภาพตำบล จำนวน 347 แหง จงั หวดั นนทบรุ ี จัดเตรยี มหองปลอดฝนุ ในศนู ยพ ัฒนาเด็กเล็กและศูนยผ ูส งู อายุ จำนวน 2 แหง จังหวัดสุรินทร จัดพื้นที่ปลอดมลพิษในโรงยิมเทศบาลเมืองสุรินทร หอประชุมจังหวัดสุรินทร หอประชมุ โรงเรยี นสริ นิ ธร โรงเรยี นสรุ วทิ ยาคาร วทิ ยาลยั เทคนคิ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาสรุ นิ ทร มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั สรุ นิ ทร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี านวทิ ยาเขตสรุ นิ ทร สโมสรคา ยวรี วฒั นโ ยธนิ หอประชมุ องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ ทกุ แหง หอประชุมโรงเรยี นทุกแหง โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตำบลทกุ แหง และหา งสรรพสนิ คา ทุกแหง กรุงเทพมหานคร จัดหองปลอดฝุนในโรงเรียนสังกดั กรุงเทพมหานครทุกแหง จำนวน 437 แหง ศูนยอนามัยที่ 1 จัดพื้นที่หองสะอาด ปลอดฝุน Clean Room เพื่อชวยประชาชนพื้นที่เสี่ยง สดู อากาศสะอาดในชว งวิกฤตฝนุ ภายใต “โครงการหอ งปลอดฝนุ อนุ ใจ” สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 48 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

หนวยแพทยเคลอ่ื นท่ี/ทมี 3 หมอ ลงพ้ืนทีด่ แู ลสุขภาพประชาชน โดยเฉพาะกลมุ เสี่ยง ไดแ ก 1) เตรียมความพรอ มรว มกบั ชมุ ชน ประชาคมหมูบาน และผเู กย่ี วขอ ง รวมกับทมี ภาคเี ครอื ขายในพนื้ ที่ ในการสำรวจพื้นที่เปาหมายที่จะไดรับผลกระทบจากหมอกควันและฝุนละอองขนาดเล็กในชุมชน โดยใชแบบบันทึก ขอมูล อสม. พบผูไดรับผลกระทบจากหมอกควันและฝุนละอองขนาดเล็ก และติดตามรายงานผลผูไดรับผลกระทบจาก หมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเลก็ ในชมุ ชน ผา นทาง Application “3 หมอ” และ Application “Smart อสม.” หรอื รายงานผาน รพ.สต. บนั ทึกเขา ระบบ Thaiphc.net 2) เจาหนาที่สาธารณสุข ทีมหมอครอบครัว ออกหนวยแพทยเคลื่อนที่ดูแลรักษาประชาชนที่ไดรับ ผลกระทบจากหมอกควนั และฝุน ละอองขนาดเลก็ 3) เจาหนาที่สาธารณสุข รพ.สต. อสม. อสส. และจิตอาสาพระราชทาน ลงพื้นที่เคาะประตู และ ออกเย่ยี มบาน เฝา ระวัง ดแู ล ติดตามอาการผูป วยติดบา น ติดเตยี ง และประเมนิ อาการผปู ว ยทกุ วัน การจัดบริการเวชกรรมสิ่งแวดลอมในโรงพยาบาล เพื่อเตรียมความพรอมของระบบบริการการแพทย สาธารณสุขในการดูแลรักษาพยาบาลประชาชนที่ไดรับผลกระทบดานสุขภาพจากปญหามลพิษทางอากาศ และสนับสนุน อปุ กรณป อ งกนั สว นบคุ คล/เครอ่ื งมอื ทางการแพทย เชน หนา กากอนามยั (Surgical Mask) /หนา กาก N95 ทางการแพทย (Surgical N95) 49 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

กระทรวงสาธารณสุข ไดดำเนินการสนับสนุนทรัพยากรดานการแพทยและสาธารณสุข เพื่อดำเนินการแกไข ปญ หาหมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเลก็ เปน การบรู ณาการรว มกบั การดำเนนิ งานแกไ ขปญ หาโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โดยไดส นบั สนนุ หนา กากอนามยั (Surgical Mask) จำนวน 27,404,450 ชน้ิ และหนา กากทางการแพทย N95 (Surgical N95) จำนวน 1,542,330 ชิ้น เพื่อใหหนวยงานในพื้นที่นำไปแจกจายแกประชาชนกลุมเสี่ยงตอไป รายละเอยี ด ดงั ตารางท่ี 4 ตารางท่ี 4 รายการสนับสนุนทรัพยากรดา นการแพทยและสาธารณสขุ เขตสขุ ภาพ รายการทรพั ยากร N95 (ชิ้น) Surgical Mask (ชิ้น) 49,320 เขตสขุ ภาพท่ี 1 74,070 เขตสุขภาพท่ี 2 1,811,400 36,000 เขตสุขภาพท่ี 3 1,376,320 220,780 เขตสขุ ภาพท่ี 4 1,034,500 476,750 เขตสขุ ภาพที่ 5 2,425,410 330,670 เขตสขุ ภาพที่ 6 5,168,240 30,480 เขตสุขภาพที่ 7 3,379,000 50,360 เขตสขุ ภาพที่ 8 1,643,000 17,330 เขตสขุ ภาพที่ 9 1,823,500 29,670 เขตสุขภาพท่ี 10 2,552,000 86,540 เขตสุขภาพที่ 11 2,835,580 83,720 เขตสุขภาพที่ 12 1,496,500 56,640 เขตสขุ ภาพที่ 13 1,614,000 245,000 1,542,330 รวมเปน 27,404,450 แหลง ขอมลู : งานระบบสำรองทรัพยากรและบำรงุ กำลงั กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ (ขอมูลระหวางวันท่ี 30 ธนั วาคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2564) รวมการจดั สรรในสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 นอกจากน้ี ยงั จดั มกี ารจดั เตรยี มระบบการแพทยฉ กุ เฉนิ ระบบสง ตอ ผปู ว ย ดแู ลรกั ษา เยยี วยา และเยย่ี มใหข วญั กำลังใจกับเจาหนาที่หรือประชาชนในพื้นที่เสี่ยงที่ไดรับบาดเจ็บจากการชวยดับไฟปา และตรวจสุขภาพสำหรับอาสา ดับไฟปาและสนับสนุนการจัดบริการตรวจสุขภาพสำหรับอาสาดับไฟปา เชน จังหวัดเชียงใหม จำนวน 221 คน พบวา อาสาดับไฟปาจังหวัดเชียงใหม จำนวน 197 คนมีผลการตรวจสุขภาพปกติ จำนวน 197 คน และ มีอาการผิดปกติ จำนวน 24 คน สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 50 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

กรณีศึกษา : การดำเนนิ งานหอ งปลอดฝุน (Safety Zone) จงั หวดั เชยี งราย จังหวัดเชียงรายไดใหความสำคัญกับการจัดเตรียมหองปลอดฝุนในสถานที่ตาง ๆ เพื่อใหการดูแลกลุมเสี่ยงให ครอบคลมุ ทกุ พน้ื ท่ี ซง่ึ ในการขบั เคลอ่ื นมกี ารดำเนนิ งาน ดงั น้ี 1. พัฒนาศักยภาพเจาหนาที่สาธารณสุข เจา หนา ทอ่ี งคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ เจา หนา ทโ่ี รงพยาบาล ครูในโรงเรียน ในพื้นที่ใหเปนครู ก. เพื่อเปนผูสรางความ รอบรูดานสุขภาพและขับเคลื่อนการสรางพื้นที่ปลอดภัย จากฝนุ ละอองขนาดเลก็ (Safety Zone) ในเขตรบั ผดิ ชอบ จำนวนท้ังสน้ิ 1,359 คน ใหความสำคัญ กบั การจัดเตรยี มหองปลอดฝนุ ในสถานที่ตา ง ๆ เพอื่ ใหก ารดูแล กลมุ เสยี่ งใหค รอบคลมุ ทกุ พื้นท่ี 2. ติดตามการดำเนินงานหองปลอดฝุน (Safety Zone) ไดแก โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพระดับ ตำบล 36 แหง ศนู ยเ ดก็ เลก็ 18 แหง และโรงเรยี น 18 แหง (โรงพยาบาลสง เสรมิ สุขภาพระดับตำบล อำเภอละ 2 แหง ศูนยเด็กเล็ก อำเภอละ 1 แหง และโรงเรียน อำเภอละ 1 แหง) 51 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

2.2.5 มาตรการทางกฎหมาย สนบั สนนุ การปองกนั และลดการเกิดมลพิษท่ีตนทาง การดำเนนิ งานภายใตพ ระราชบญั ญตั กิ ารสาธารณสขุ พ.ศ. 2535 และทแ่ี กไ ขเพม่ิ เตมิ เปน เครอ่ื งมอื สนับสนุนการลดฝุนละอองขนาดเล็กจากแหลงกำเนิด และการจัดการเหตุรำคาญจากฝุนละออง โดยไดจัดสงคำแนะนำ และชแ้ี จงแนวทางการใชพ ระราชบญั ญตั กิ ารสาธารณสขุ แกส ำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ (อปท.) และใหคำปรึกษาผานกลไกคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัดและ Call Center 0 2590 4219 รวมทั้งประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรูแนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยการสาธารณสุขและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของแบบบูรณาการ รวมกบั องคกรปกครองสว นทองถ่นิ ทง้ั น้ี มผี ลการดำเนินงานของหนว ยงานในระดบั พ้นื ท่ี ดังนี้ 1) จังหวัดนครราชสีมา ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกแหงในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา (ยกเวน องคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั นครราชสมี า) จดั ทำประกาศ เรอ่ื ง กำหนดพน้ื ทค่ี วบคมุ เหตรุ ำคาญและประกาศใหป ระชาชน ทราบ รวมทั้งสนับสนุนการใชพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แกไขเพิ่มเติมเปนเครื่องมือเพื่อควบคุม การปลอ ย PM2.5 จากแหลง กำเนดิ ในพน้ื ท่ี และการจดั การเหตรุ ำคาญจากฝนุ ละอองผา นกลไกคณะกรรมการสาธารณสขุ จงั หวัด (คสจ.) หรือคณะกรรมการอื่น ๆ ในระดบั พ้ืนที่ 2) จังหวัดชัยภูมิ สงเสริมสนับสนุนการใชพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แกไข เพิ่มเติม เปนเครื่องมือในการบังคับใชกฎหมายสำหรับองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) เพื่อลดมลพิษที่แหลงกำเนิด โดยใชก ลไกคณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด ซึ่งจังหวัดชัยภูมไิ ดม อบอำนาจใหพนกั งานเจา หนา ทีพ่ ิจารณาเปรยี บเทียบ ผูกระทำผิด กรณีไฟปา หมอกควัน และฝุนละอองขนาดเล็ก ตามมาตรา 27 28 และ 28/1 และพิจารณาเสนอกำหนด พื้นที่ควบคุมเหตุรำคาญ กรณี PM2.5 สนับสนุนให อปท.ออกขอบัญญัติทองถิ่นตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 หมวด 3 หมวด 7 หมวด 8 และหมวด 9 พรอมทั้งสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น (อปท.) จัดทำ ขอมูลสถานประกอบการที่เปนแหลงมลพิษ ควบคุม กำกับ ติดตามการดำเนินงานตามกฎหมาย โดยมีการสำรวจ แหลง กำเนดิ ฝนุ PM2.5 ทเ่ี ปน กจิ การตามพระราชบญั ญตั กิ ารสาธารณสขุ พ.ศ. 2535 ไดแ ก โรงงานอตุ สาหกรรม โรงโมย อ ย ระเบดิ หนิ รานอาหาร รถเข็นอาหาร (โดยเฉพาะทีม่ กี ารปงยาง) ฯลฯ สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 52 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

3) กรุงเทพมหานคร ประสานและบูรณาการดำเนินงานรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของในการควบคุม แหลง กำเนดิ ฝนุ ละอองภายใต พรบ.การสาธารณสขุ พ.ศ. 2535 และทแ่ี กไขเพ่มิ เตมิ ดงั น้ี แจง เวยี นแนวทางการควบคมุ ปอ งกนั ผลกระทบจากฝนุ ละออง PM2.5 ตามคำแนะนำของคณะกรรมการ สาธารณสุขใหสำนักงานเขตดำเนินการและสงสื่อการปองกันตนเองแกประชาชนทางกลุมไลน หากพบวาสถานการณ ฝุนละอองมีผลกระทบตอสุขภาพของประชาชน และเขาหลักเกณฑการประกาศพื้นที่ควบคุมเหตุรำคาญ ใหนำเรียน ผูบริหารเพื่อดำเนินการออกประกาศ เพื่อกำหนดมาตรการควบคุมเหตุรำคาญในพื้นที่ ซึ่งในป 2563 ที่ผานมา ไมไดอ อกประกาศพ้ืนท่ีควบคมุ เหตรุ ำคาญ เน่ืองจากสถานการณไ มร ุนแรง เขมงวดการตรวจสอบเตาเผาศพใหเปนไปตามมาตรฐานควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสีย โดยการ รณรงคขอความรวมมือวัดที่มีเตาเผาศพทุกวัดตรวจสอบและบำรุงรักษาเตาเผาศพใหมีสภาพการใชงานปกติอยูเสมอ กำชบั เจา หนา ทผ่ี มู หี นา ทฌ่ี าปนกจิ ศพเขม งวดในการปฏบิ ตั งิ านเผาศพอยา งถกู วธิ ี และใหส ำนกั งานเขตควบคมุ กำกบั ดแู ล และใชม าตรการทางกฎหมายกบั วดั ทม่ี คี า มลพษิ ทางอากาศไมเ ปน ไปตามมาตรฐาน ทง้ั น้ี สำนกั อนามยั รว มกบั สำนกั งาน เขตพน้ื ท่ี ไดม กี ารตรวจสอบเตาเผาศพเปน ประจำทกุ ปท กุ วดั จำนวนทง้ั สน้ิ 308 วดั เพอ่ื ควบคมุ กำกบั ดแู ลวดั ในการปลอ ย คา มลพษิ ทางอากาศใหเ ปน ไปตามมาตรฐาน กรณไี มไ ดม าตรฐานไดข อความรว มมอื สำนกั งานเขตควบคมุ กำกบั ดแู ลและใช มาตรการทางกฎหมาย รวมทั้งไดขอความรว มมือศาลเจา ตา งๆ ลดการเผากระดาษและจดุ ธูปภายในศาลเจา เปนตน ตรวจสอบและบังคับใชกฎหมายกับกิจการที่เปนอันตรายที่ใชหมอไอน้ำในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยประสานสำนักงานเขตสำรวจขอมูลสถานประกอบกิจการทั้งหมดที่ใชหมอไอน้ำและตรวจสอบ ควบคุม กำกับดูแล สถานประกอบกิจการใหเปนไปตามมาตรฐานควบคุมการปลอยทิ้งอากาศเสีย ทั้งนี้ สำนักอนามัยไดสำรวจขอมูลนำรอง ในกิจการประเภทโรงแรม ซึ่งไดสำรวจโรงแรมที่มีการใชหมอไอน้ำที่สมัครใจเขารวมโครงการ จำนวนทั้งสิ้น 297 แหง พบวา จำนวนโรงแรมทม่ี หี มอ ไอนำ้ จำนวน 54 แหง แบง ออกตามประเภทเชอ้ื เพลงิ ทใ่ี ช คอื กา ซธรรมชาติ จำนวน 26 แหง กาซ LPG จำนวน 3 แหง น้ำมันเตา จำนวน 9 แหง และอื่นๆ จำนวน 21 แหง โดยพบวา มีระบบบำบัดมลพิษ จำนวน 19 แหง ไมม รี ะบบบำบดั มลพษิ จำนวน 31 แหง และไมไ ดร ะบขุ อ มลู 4 แหง ซง่ึ จะไดค วบคมุ กำกบั ดแู ลสถานประกอบ กจิ การใหเ ปนไปตามมาตรฐานควบคุมการปลอยทิง้ อากาศเสียตอไป 53 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

การดำเนินงานภายใตพระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2562 ในการเฝาระวังสถานการณฝุนละออง PM2.5 ผานคณะกรรมการควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและ โรคจากสิ่งแวดลอมจังหวัด ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องชื่อหรืออาการสำคัญของโรคจากสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2563 ภายใตพระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดลอม พ.ศ. 2562 ไดประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเลม 138 ตอนพิเศษที่ 23 เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2564 ซึ่งมีผลใชบังคับ ตั้งแตวันที่ 2 กุมภาพันธ 2564 เปน ตน ไป สำนกั งานเลขานกุ ารคณะกรรมการควบคมุ โรคจากการประกอบอาชพี และโรคจากสง่ิ แวดลอ ม ไดจ ดั ทำ หนงั สอื ขอความอนเุ คราะหใ หจ งั หวดั ทม่ี สี ถานตี รวจวดั คณุ ภาพอากาศ กรมควบคมุ มลพษิ ดำเนนิ การเฝา ระวงั สถานการณ ฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) โดยใชขอมูลตรวจวัดคุณภาพอากาศจากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ ในพน้ื ทเ่ี พอ่ื จดั ทำรายงานสถานการณ เพอ่ื ใชใ นการเฝา ระวงั เตอื นภยั เหตกุ ารณ และเตรยี มความพรอ มในการสอบสวน โรคทนั ที หากพบผปู วย นอกจากนี้ หนวยงานสาธารณสุขในระดับ เขตสุขภาพและจังหวัด มีการดำเนินงานสนับสนุนมาตรการ ทางกฎหมายอื่น ๆ รวมกับหนวยงานตาง ๆ ในพื้นที่ ไดแก พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติ ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2540 พระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 พระราชบัญญัติ สงเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมแหงชาติ พ.ศ. 2535 พระราชบญั ญตั กิ ารจราจรทางบก พ.ศ. 2522 พระราชบญั ญตั ิ ปา ไม พ.ศ. 2484 และพระราชบญั ญตั สิ งวนแหง ชาติ พ.ศ. 2507 โดยประกาศหามเผา ตั้งแตวันที่ 15 มกราคม 2564 – 30 เมษายน 2564 กำกบั ดแู ลสถานประกอบการโรงงานอตุ สาหกรรม ทม่ี คี วามเสย่ี งกอ ใหเ กดิ ฝนุ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 เชน โรงงาน ที่มีการใชเชื้อเพลิงแข็ง (ชีวมวล) โรงงานที่มีกระบวนการผลิต ทก่ี อ ใหเ กดิ ฝนุ ปรมิ าณมากเชน โรงโมหนิ โรงงานผลติ คอนกรตี ผสมเสร็จ เปนตน ตรวจระบบบำบัดมลพิษทางอากาศของ โรงงานใหม คี วามพรอ มและมปี ระสทิ ธภิ าพเพยี งพอตอ การบำบดั ตรวจสภาพถุงกรองฝุนใหมีความพรอม กำชับมาตรการดูแล การฟุงกระจายของฝุน รวมทั้งเฝาระวังติดตามการหีบออย การเผาออย และการเผาในท่โี ลง สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 54 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

กรณีศึกษา : การดำเนนิ การควบคุมฝนุ ละอองขนาดเลก็ จังหวดั อบุ ลราชธานี การดำเนินการควบคุมฝุนละอองขนาดเล็กของพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานีในระดับจังหวัด โดยสำนักงานปองกัน และบรรเทาสาธารณภยั เปน เลขานกุ ารคณะกรรมการระดบั จงั หวดั ไดอ อกประกาศควบคมุ การเผา ในชว งเดอื นมนี าคม- เมษายน และมีหนวยเคลื่อนที่เร็วระดับอำเภอ ในการควบคุมไฟปา โดยแบงพื้นที่ คือ ถาพบไฟปาในเขตปาสงวนให สำนักควบคุมไฟปาดำเนินการ กรณีไฟไหมในเขตทางหลวงใหสำนักทางหลวงดำเนินการ และไฟไหมในพื้นที่เกษตร ใหมหาดไทยและองคกรปกครองสว นทองถนิ่ ดำเนนิ การ โดยทใี่ หม กี ารตง้ั ทมี ระดับอำเภอ สำหรับพื้นที่ที่เปนแหลงกำเนิดของฝุนละอองขนาดเล็ก คือ อำเภอวารินชำราบที่มีสถานประกอบการเผาอิฐ กระถางตนไม เตาปงยาง เผาถาน จำนวนรวม 279 แหง นายอำเภอไดมีการประชุมคณะทำงานระดับอำเภอเพื่อแกไข ปญ หาในระยะยาว โดยมสี ถาบนั การศกึ ษา คอื มหาวทิ ยาลยั อบุ ลราชธานแี ละมหาวทิ ยาลยั ราชภฎั อบุ ลราชธานี ลงพน้ื ท่ี ตรวจแหลง กำเนดิ มลพิษและวางแผนปรบั ปรุงเพ่ือลดฝนุ ละอองขนาดเลก็ อำเภอวารินชำราบ โดยนายอำเภอใชกระบวนการ พชอ. เชิญทุกภาคสวนเขามามีสวนรวมในการแกปญหา มีการกำหนดกติกา และระบบการประเมินผลอยางชัดเจน ผูประกอบการใหความรวมมือ และวางกรอบการแกปญหา อยา งยั่งยนื รวมกับสถาบันการศกึ ษาท่จี ะพฒั นานวตั กรรมเพื่อลดปรมิ าณฝุน ละอองขนาดเล็ก ปจจัยความสำเรจ็ คือ การนำเสนอขอ มูลทีถ่ กู ตองชดั เจน และส่ือสารถงึ ผมู ีสวนไดส ว นเสีย (Advocacy) ผนู ำใชกระบวนการ M&E ในการตดั สนิ ใจ ซ่ึงเปน วิทยาศาสตร 55 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

การเพ่ิมพืน้ ท่ีสีเขียวในเมือง เป็ นประโยชนก์ บั พวกเราหลาย ๆ ดา้ น เพ่ิมอากาศบริสุทธิ ์ เพ่ิมความชุ่มชืน้ ในบรรยากาศ และยงั ช่วยดูดซบั ฝ่ ุนท่ีกาํ ลงั เป็ นปัญหา ในเมืองใหญ่ ๆ ได้ ซ่งึ หากเรามีพืน้ ท่ีสีเขียวมากพอ ก็สามารถลดปริมาณฝ่ ุนไดเ้ ฉล่ียรอ้ ยละ 7 – 24 และยงั ทาํ ใหอ้ ากาศท่ีเราหายใจ สะอาดขนึ้ อีกดว้ ย ท่มี า : The Nature Conservancy

2.2.6 การสงเสริมตน แบบองคก รลดมลพิษทางอากาศและพืน้ ที่สเี ขยี ว กระทรวงสาธารณสขุ ไดใ หค วามสำคญั กบั การสง เสรมิ ตน แบบองคก รลดมลพษิ ทางอากาศและพน้ื ทส่ี เี ขยี ว และสั่งการใหหนวยงานสาธารณสุขทุกหนวยงานจัดกิจกรรมองคกรปลอดฝุนในสำนักงานและสถานบริการสาธารณสุข ในสังกัด ปลูกตนไมเพิ่มพื้นที่สีเขียว และลดกิจกรรมที่กอใหเกิดฝุนละอองขนาดเล็ก เชน การบำรุงรักษาเครื่องยนต ของหนวยงานอยางสม่ำเสมอตามมาตรฐานมลพิษ ไมติดเครื่องยนตขณะจอดรถ ลดการใชรถยนตสวนตัว หรือ Work from Home หากคาฝนุ อยใู นระดับท่มี อี ันตรายตอสขุ ภาพ รวมท้ังจดั หองปลอดฝุนในองคก รสำหรบั กลุม เสยี่ ง ทง้ั น้ี ป 2564 ไดม หี นว ยงานตวั อยา งดำเนนิ การตน แบบองคก รลดมลพษิ ทางอากาศและพน้ื ทส่ี เี ขยี ว เชน กรมควบคมุ โรค ดำเนนิ การตรวจวดั มลพษิ อากาศและระดบั เสยี งจากรถยนตร าชการในสงั กดั หนว ยงาน สวนกลางภายในกรมควบคมุ โรค จำนวน 96 คนั โดยขอความอนุเคราะหใหก รมควบคมุ มลพิษเปนผดู ำเนนิ การตรวจวัด ระหวางวันท่ี 25 – 26 สงิ หาคม 2563 และ 9 ตลุ าคม 2563 57 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา มีการสงเสริมตนแบบองคกรลดมลพิษทางอากาศและ พ้นื ที่สีเขียวจงั หวดั นครราชสมี า ไดแ ก 1) การพฒั นาตน แบบชมุ ชนจดั การความเสย่ี งตอ สขุ ภาพจาก PM2.5 ไดแ ก คณะกรรมการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ อําเภอคงและคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตอำเภอดานขุนทด โดยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตอําเภอคง ไดร บั รางวลั ตน แบบรณรงคล ด PM2.5 เวทศี นู ยอ นามยั ท่ี 9 นครราชสมี าจากรองผวู า ราชการจงั หวดั นครราชสมี า ป 2563 2) การสง เสรมิ ตน แบบองคก รลดมลพษิ ทางอากาศและพน้ื ทส่ี เี ขยี ว สโู รงพยาบาล สำนกั งานสาธารณสขุ อำเภอ โรงพยาบาลสงเสรมิ สขุ ภาพตำบล และสวนราชการตา ง ๆ 3) หนวยงานราชการเปน ตนแบบตรวจสภาพรถยนต ลด PM2.5 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกำแพงเพชร สงเสริมตนแบบองคกรลดมลพิษทางอากาศและพื้นที่ สเี ขยี วในโรงพยาบาลโกสมั พนี คร โรงพยาบาลไทรงาม และโรงพยาบาลโพธิ์ทะเล โดย 1) การจัดตั้งคลินิกมลพิษในหนวยบริการ ณ โรงพยาบาลโกสัมพีนคร ใหความรูและการปฏิบัติตนกับ ผูปวยโรคระบบทางเดินหายใจที่เกี่ยวของกับ PM2.5 การทำงานบูรณาการรวมกันในภาพ CUP โกสัมพีนคร การรณรงค ใหป ระชาชนลดการเผาขยะในบา น เก็บขยะในหมูบานไปจำหนา ย 2) ใหความรู อสม. และในชุมชน/สงเสริมใหเจาหนาที่บุคลากรของโรงพยาบาลรณรงคใชจักรยานใน โรงพยาบาลทุงโพธิ์ทะเล 3) รณรงคสรางพื้นที่สีเขียวในโรงพยาบาลไทรงาม รณรงคปนจักรยานมาทำงานเพื่อลดมลพิษ PM2.5 และสงเสริมใหบุคลากรมีสุขภาพดี สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 58 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย สงเสริมตนแบบองคกรลดมลพิษทางอากาศและพื้นที่สีเขียว ในหนวยงานสาธารณสุขผาน GREEN & CLEAN Hospital และองคกรปกครองสวนทองถิ่นนาอยู เพื่อเปนตนแบบ ขยายลงสูชุมชนตอ ไป สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั อตุ รดติ ถ การดำเนนิ งาน 5 ส. ในทกุ หนว ยงาน เพอ่ื ลดปญ หาฝนุ PM2.5 การตดิ ตง้ั เครอ่ื งกรองฝนุ เพอ่ื ฟอกอากาศในหอ งประชมุ สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั และหอ งทำงาน หอ งผบู รหิ าร และ การประชุมใหค วามรแู กเ จาหนาท่ีในการทำหอ งทำงานใหปลอดฝนุ การทำความสะอาดสม่ำเสมอ และการลดขยะ สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวดั แพร ดำเนนิ การทำ Big Cleaning Day ทกุ วนั ศกุ รเ พอ่ื ทำความสะอาด และขจดั ฝุนละอองขนาดเลก็ ในสถานท่ที ำงานและบรเิ วณโดยรอบ กรงุ เทพมหานคร อนรุ กั ษส ง่ิ แวดลอ ม โดยรณรงคก ารปลกู ตน ไม ลดการเผาแกเ จา หนา ทใ่ี นหนว ยงาน และขอความรวมมือประชาชน หนวยงานตางๆเปดระบบฉีดน้ำละอองฝอยเพื่อดักจับฝุนละออง โดยเปดน้ำละอองฝอย 3 เวลา คือ 06.00 น. 12.00 น.และ 19.00 รวมทั้ง ตรวจสอบสภาพรถและตรวจควันดำรถยนตราชการตามระยะเวลา ที่กำหนดทุกคัน โดยใหความรูกับเจาหนาที่ในการดูแลรักษารถยนต มีการตรวจสภาพและตรวจควันดำตามระยะเวลาที่ กำหนดทุกคัน รวมทั้งกำชับเจาหนาที่ดูแลตรวจสภาพรถยนตสวนบุคคลตามระยะที่กำหนด ตลอดจนไมเผาขยะหรือ เผาหญา ทบ่ี าน เปน ตน 59 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

สภาลมหายใจ จงั หวัดเชียงใหม ดำเนินการปอ งกันฝนุ ละอองขนาดเล็กแบบยั่งยืน ดังน้ี - “บานสูฝุน” จังหวัดเชียงใหม การประกวดบานสูฝุน 14 อปท.เขตอำเภอเมืองเชียงใหม โดยคณะ กรรมการประกวดบา นสฝู นุ ในเขตพน้ื ทเ่ี ทศบาลนครเชยี งใหม รว มลงพน้ื ทส่ี มาชกิ ชมุ ชนทส่ี ง บา นเขา รว มประกวด 9 ชมุ ชน 22 หลงั คาเรือน - พฒั นาแผนการทอ งเท่ียวชมุ ชนบานมง ดอยปุยและบานขุนชา งเคี่ยน - ชมุ ชนบา นปง ฟน ฟรู ากตน ไมใ หญบ นฐานวชิ าการรกุ ขกร ทว่ี ดั บา นปง และไดม อบรางวลั การประกวด สวนผักในชุมชนใหแกผูชนะและรางวัลชมเชย และไดแจกดินใหแกบานที่นำเมล็ดพืชพันธุไปเพาะเพื่อเปนขวัญกำลังใจ ใหแ กค นในชุมชน - ชุมชนแจงเตือนสขุ ภาพดว ยเครื่องวดั คุณภาพอากาศ DustBoy และสีแจงเตือน สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 60 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

2.3 การบูรณาการเพอื่ ดูแลสุขภาพประชาชนในระดับประเทศและระดบั พ้ืนท่ี 2.3.1 ความรวมมอื กบั ภาคีเครือขายในระดบั ประเทศ กระทรวงสาธารณสขุ ไดบ รู ณาการการดำเนนิ งานรวมกับหนว ยงานภาคตี า ง ๆ เพอ่ื การดแู ลและปอ งกนั ผลกระทบตอสุขภาพของประชาชน เชน กระทรวงศึกษาธิการ : หารือมาตรการปองกัน แกไขปญหาฝุนละอองขนาดเล็ก (PM2.5) พรอมคูมือ แนวทางลดและปอ งกนั ผลกระทบตอ สขุ ภาพจากฝนุ PM2.5 สำหรบั สถานศกึ ษา และการขบั เคลอ่ื น “โรงเรยี นรอบรู สฝู นุ ” ในพน้ื ทเ่ี ส่ยี งจากมลพษิ ทางอากาศ กระทรวงมหาดไทย : บรู ณาการความรว มมอื ในการดแู ลและปอ งกนั ผลกระทบตอ สขุ ภาพของประชาชน รวมทัง้ การใชพระราชบัญญัตกิ ารสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แกไขเพ่มิ เตมิ ในการลดแหลงกำเนดิ ฝนุ ละอองในชุมชน กระทรวงการทองเทีย่ วและกีฬา : จดั ทำคำแนะนำการการจดั กิจกรรมกีฬากลางแจง / วง่ิ มาราธอน กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรวิจัยและนวัตกรรม : บูรณาการความรวมมือในการเฝาระวัง ปริมาณ PM2.5 ดวยเครื่องตรวจวัดฝุนละอองแบบเซนเซอร Dust Boy ในชุมชน และสถานบริการสาธารณสุข เพื่อใหมี การสอื่ สาร แจงเตอื น ในระดบั พ้นื ท่ไี ด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม : ประสานเชื่อมขอมูลสถานการณ PM2.5 เพื่อสื่อสาร แจง เตือนประชาชน และสถานตี รวจวัดคณุ ภาพอากาศ ณ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ 61 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

2.3.2 ความรว มมอื กับภาคเี ครือขายในระดับพน้ื ที่ ขับเคลื่อนการดำเนินงานรวมกับภาคีเครือขาย หนวยงานราชการ องคกรเอกชน และภาคีเครือขาย ภาคประชาชนในพน้ื ท่ี ไดแ ก องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ คณะกรรมการสาธารณสขุ จงั หวดั คณะกรรมการพฒั นาคณุ ภาพ ชีวิตระดับอำเภอ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบาน แกนนำชุมชน แกนนำกลุมวัยตาง ๆ ในชุมชนกลุมจิตอาสา พระราชทานสมัชชาสุขภาพ หอการคาแพร สมาคมคนแพร สภาลมหาย และสมัชชาสุขภาพ (ภาคประชาชน) ศนู ยเ ฝา ระวงั สขุ ภาพหนง่ึ เดยี ว (PODD) สำนกั งานหลกั ประกนั สขุ ภาพเขตท่ี 1 เชยี งใหม และสำนกั งานการวจิ ยั แหง ชาติ (วช.) เพ่อื การดูแลและปองกันผลกระทบตอสุขภาพของประชาชน ไดแ ก ประสานความรวมมือทุกภาคสวนในการปองกันและแกไขปญหาผลกระทบตอสุขภาพจากฝุน PM2.5 ผา นเวทกี ารประชุมตา ง ๆ ประสานองคกรปกครองสวนทองถิ่น สนับสนุนหนากากอนามัยประชาชนในพื้นที่เสี่ยง และใหติดตั้ง แอปพลิเคชนั Air4Thai กรมควบคุมมลพิษ เพ่อื เฝาระวงั คณุ ภาพอากาศ ทีมประชารัฐ บูรณาการทุกภาคสวน ไดแก การลาดตระเวนเฝาระวังและดับไฟ การดำเนินการลด ฝุนละอองในอากาศโดยการลางถนน การประชาสัมพันธใหคำแนะนำประชาชน การแจกจายหนากากอนามัย และการ จดั พ้ืนทีป่ ลอดมลพษิ การดำเนนิ งานในรูปแบบของคณะกรรมการระดับจงั หวัดโดยมหี นวยงานทีเ่ ก่ยี วของหลายหนวยงาน รวมกนั ดำเนินงาน การติดตามตรวจสอบ และควบคมุ กำกบั แหลง กำเนิดมลพษิ ทางอากาศอยา งเขม งวดและตอเน่อื ง จัดกิจกรรมรณรงคปองกันลดผลกระทบจากฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 รวมกับภาคีเครือขาย สวนราชการ มหาวทิ ยาลยั โรงเรียน วัด อปท. คสจ. พชอ. ภาคเอกชน แกนนำชมุ ชน สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 62 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

กรณศี กึ ษา : กลไกการขบั เคล่ือนการดำเนนิ งานในพื้นท่ีจังหวดั เชียงใหม จงั หวดั เชยี งใหม มรี ะบบการทำงานรว มกบั ภาคเี ครอื ขา ย มหาวทิ ยาลยั โรงเรยี น วดั องคก รปกครองสว นทอ งถน่ิ (อปท.) คณะกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (คสจ.) คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) ภาคเอกชน แกนนำชมุ ชน ทุกระดบั ต้งั แต จังหวัด อำเภอ ตำบล หมบู าน ไดแก ระดับจงั หวัด ไดแก ระดับอำเภอ ไดแก 1) คณะกรรมการศูนย อำนวยการแกไข 1) คณะกรรมการศูนยอำนวยการแกไข ปญหาฝนุ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 จังหวัดเชียงใหม ปญหาฝุนละอองขนาดเลก็ PM2.5 อำเภอ 2) คณะทำงานศูนยบัญชาการปองกัน 2) คณะทำงานศูนยบัญชาการปองกัน แกไขปญหาไฟปาและฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 จังหวัด แกไขปญหาไฟปาและฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 อำเภอ เชียงใหม ประจำป 2564 ประจำป 2564 3) ศูนยปฏิบัติการฉุกเฉินดานการแพทย 3) ศูนยปฏบิ ัตกิ ารฉกุ เฉนิ ดานการแพทย และสาธารณสขุ (Public Health Emergency Operation และสาธารณสขุ (Public Health Emergency Operation Center : PHEOC) กรณี หมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเลก็ Center : PHEOC) กรณี หมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเลก็ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม โดยมีคณะทำงาน PM2.5 ประจำอำเภอ กลุมงานอนามัยสิ่งแวดลอมและอาชีว อนามัย สำนักงาน ผลการดำเนินงานเดน การดำเนินงานใน สาธารณสขุ จงั หวดั เชยี งใหม ปฏบิ ตั กิ ารตามแนวทางปฏบิ ตั กิ าร จังหวัดเชียงใหม โดยมีผูวาราชการจังหวัดเชียงใหม ดูแล ดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ 5 มาตรการหลกั กระทรวง และสง่ั การจดั การระบบแบบ single command สง ผลตอ สาธารณสขุ ป 2564 ภายใตก ารดำเนนิ งานโดยคณะกรรมการ การจัดการระบบดูแลสุขภาพประชาชนกลุมเสี่ยงจังหวัด ดา นการแพทยและสาธารณสุข ดังน้ี มาตรการท่ี 1 พัฒนา เชยี งใหม การจดั เตรยี มหอ งปลอดฝนุ การแจง เตอื นประชาชน ฐานขอมูลเฝาระวังและแจงเตือนความเสี่ยงตอสุขภาพ On ground อสม. ครอบคลุมทุกตำบลในจงั หวัดเชยี งใหม มาตรการท่ี 2 เฝา ระวงั ผลกระทบตอ สขุ ภาพ และสอบสวน และการดูแลสขุ ภาพทีมอาสาปอ งกนั ไฟ โรคอยา งทนั ทว งที มาตรการท่ี 3 ยกระดบั ความรอบรแู ละ ตอบโตความเสี่ยงตอสุขภาพ มาตรการที่ 4 ดูแลสุขภาพ ประชาชนทุกกลุมวัยในพื้นที่เสี่ยง และมาตรการที่ 5 มาตรการทางกฎหมาย 63 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

ประชมุ ศูนยบญั ชาการปองกัน แถลงขา วตอสอ่ื มวลชน แกปญหาไฟปา และฝนุ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ทุกวัน รณรงคประชาสัมพนั ธ Chiang Mai Better Breathing 2021 อําเภอ/ชมุ ชน รณรงค ปองกันผลกระทบตอ สขุ ภาพ “เชยี งใหมเ พือ่ ลมหายใจทด่ี กี วา ” จากฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 รณรงคประชาสัมพนั ธ เปด PHEOC ตอบโตภ าวะฉุกเฉนิ ชวงฝนุ ละอองเกนิ มาตรฐาน จาํ นวน 4 ครั้ง ปจจยั ความสำเรจ็ การปฏิบตั ิการแบบเปนหน่ึงเดยี ว โดยเปดศนู ยบญั ชาการปองกัน ดแำกเนไ ขนิ ปงาญนหถาา ไยฟรปะดา แับลจะาฝกนุจลงั หะอวอดั งสขอู นำาเภดอเลต็กำPบMล2ห.5มจูบังหานวัดอเชยียางงฉใหับมไว สามารถจดั การแกไขตน เหตุของการเผาไหม การจดั การทางกฎหมาย การลดฝุนละอองขนาดเล็ก และการปอ งกันสขุ ภาพของประชาชนกลมุ เสีย่ งไดรบั การดแู ลอยางมปี ระสทิ ธิภาพ สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 64 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

กรณีศกึ ษา : การขบั เคลื่อนการดำเนนิ งานในพื้นที่จงั หวดั ลำปาง กลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงานของจังหวัดลำปาง โดยศูนยรวบรวมขอมูลและสั่งการ War Room ระดับ จงั หวดั และระดบั อำเภอ เฝา ระวงั สถานการณไ ฟปา และหมอกควนั และผลกระทบจากฝนุ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 จงั หวดั ลำปาง โดยมสี ว นราชการ ประกอบดว ย ปกครองจงั หวดั สำนกั งานปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัด สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม สำนักงานเกษตรและสหกรณ สำนักงานปฏิรูปที่ดิน สำนักงาน ขนสงจังหวัด ตำรวจภูธรจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมือง แขวงทางหลวงลำปางที่ 1 แขวงทางหลวงลำปางที่ 2 แขวงทางหลวงชนบท สำนักงานอุตสาหกรรม สำนักงานอุตุนิยมวิทยา โครงการสงน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนกิ่วคอหมา สำนักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 3 ลำปาง สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษที่ 13 สาขาลำปาง โดยมีการประชุม war room จงั หวัด ทกุ วันจันทรและวันพุธ โดยสำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดลำปางรวมประชุม WAR ROOM การปองกันและแกไ ข ปญหาไฟปาและหมอกควัน จังหวัดลำปางทุกวันจันทร เริ่มตั้งแตวันที่ 1 มีนาคม 2564 พรอมรายงานสถานการณทาง ผลกระทบทางดานสขุ ภาพและการดแู ลสุขภาพในภาวะหมอกควัน การขับเคลื่อนในระดับอำเภอ และระดับพื้นที่ ใชกลไกระดับอำเภอ ตำบล โรงเรียน วัด อปท. พชอ. และ แกนนำชุมชน รวมกันประชาสัมพันธและสรางความตระหนักการเฝาระวังผลกระทบจากฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 และเฝาระวังแหลงกำเนดิ ฝนุ ละอองขนาดเลก็ เชน ควันจากไฟปา แหลงโรงงานอตุ สาหกรรม เปนตน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำปาง ดำเนินการตาม มาตรการในการปองกันผลกระทบตอสุขภาพจาก PM2.5 ประกอบดวย 1) การเฝาระวังคุณภาพอากาศและแจงเตอื น สถานการณ 2) การเฝาระวังผลกระทบทางสุขภาพจาก ภาวะฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 (เปาหมายผูปวยลดลงจาก ป 2562 รอ ยละ 70) 3) การสอ่ื สารสรา งความรอบรใู นการปฏบิ ตั ติ น 4) การดูแลสุขภาพประชาชน จัดบริการ ปจ จัยความสำเร็จ สาธารณสขุ และคลินิกมลพิษ (โรงพยาบาลลำปาง) ผบู ริหารระดบั จังหวดั ใหความสำคญั 5) มาตรการทางกฎหมาย ตามพระราชบญั ญตั ิ และตดิ ตามอยางตอ เนอื่ ง การสาธารณสขุ พ.ศ. 2535 และทแ่ี กไ ขเพม่ิ เตมิ (องคก รปกครอง ในชวงเฝา ระวงั มีการติดตามทุกสปั ดาห สว นทอ งถน่ิ ) รวมทง้ั จดั ทำแผนการดแู ลสขุ ภาพประชาชน แบง เปน 3 ระดบั ไดแ ก ระดบั ปกติ (สเี หลอื ง), ระดบั เรม่ิ มผี ลกระทบ (สีสม ) และระดบั มีผลกระทบตอสขุ ภาพ (สีแดง) 65 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

รายละเอยี ดแตละมาตรการ ดงั นี้ 1) การเฝาระวังคุณภาพอากาศและแจงเตือนสถานการณ โดยเฝาระวังติดตามสถานการณ PM2.5 จากเว็บไซต Air4thai ทุกวัน และประชาสัมพันธคุณภาพอากาศ ทุกวัน เวลา 9.00 น. ตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2564 ผานชอ งทางเวบ็ ไซต Facebook / line group 2) การเฝาระวังผลกระทบทางสุขภาพจากภาวะฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 จากรายงานผูปวยใน โปรแกรมการเฝา ระวงั ฯ สำนกั งานปอ งกนั ควบคมุ โรคท่ี 1 เชยี งใหม ทกุ วนั โดยสรปุ ผปู ว ยทไ่ี ดร บั ผลกระทบจากฝนุ ละออง ขนาดเลก็ PM2.5 พบวา ผูปวยโรคระบบทางเดินหายใจ และระบบหัวใจและหลอดเลอื ด จังหวัดลำปาง วันท่ี 1 มกราคม -31 พฤษภาคม ป 2562-2564 มีแนวโนมลดลง โดยในป 2563 จำนวนผูปวยลดลงจากป 2562 จำนวนรอยละ 70.91 และป 2564 จำนวนผปู วยลดลงจากป 2562 รอยละ 77.91 3) การสื่อสารสรางความรอบรูในการปฏิบัติตน โดยเผยแพรประชาสัมพันธความรูเรื่อง PM2.5 ใหเขา ถึงประชาชนในพื้นที่จังหวัดลำปาง ไดแก จัดทำสื่อ เผยแพรประชาสัมพันธความรูเรื่อง PM2.5 เผยแพรทุกวันพฤหัสบดี แจกแผน พบั โปสเตอร จำนวน 50,030 แผน จดั ทำสอ่ื 3 เรอ่ื ง สนบั สนนุ สปอตวทิ ยคุ วามรู เพอ่ื เผยแพร จำนวน 2 เรอ่ื ง และสื่อสารความรูเรื่อง PM2.5 ผานประชาสัมพันธจังหวัด, กลุมไลน 49 กลุม 4,096 คน, เว็บไซตหนวยงาน และ Facebook เวลา 9.00 น. ทุกวัน และกลุมไลน Mr. PM2.5 ของโรงพยาบาล และ สสอ. ทุกอำเภอ เพอ่ื สง ตอขอ มูลไปยัง รพ.สต. และอสม. ทัง้ ในและนอกสถานบริการ สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 66 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

4) การดูแลสุขภาพประชาชน จัดบริการสาธารณสุข และคลินิกมลพิษ หนวยบริการสาธารณสุข ทกุ แหง ดำเนนิ การตามแนวทางการดแู ลสขุ ภาพจากภาวะหมอกควนั หนว ยบรกิ ารสาธารณสขุ เตรยี มความพรอ มบคุ ลากร ทางการแพทย เวชภัณฑ วัสดุอุปกรณในการใหบริการรักษาพยาบาล/หองสะอาด พรอมใหบริการประชาชนกลุมเสี่ยง โรงพยาบาลทกุ แหง เตรยี มหอ งสะอาดเพื่อรองรับผปู ว ย ไดแก (1) จัดทำทะเบียนกลมุ เสีย่ ง จำนวน 193,647 คน (2) เย่ียมบา นกลมุ เสีย่ งทกุ ราย โดยทมี หมออนามัยครอบครัว/อสม. และแจกหนากากอนามยั จำนวน 30,300 ชน้ิ (3) เตรยี มหอ งสะอาด จำนวน 965 หอ ง เพอ่ื รองรบั ประชาชน จำนวน 37,161 คน ไดแ ก สถานบรกิ าร สาธารณสุข จำนวน 195 หอง (ครบทกุ แหง ) อปท. โรงเรยี น วัด และศูนยเด็ก จำนวน 770 หอง สงเสริมใหร า นอาหาร และรานกาแฟ จัดทำพื้นที่ปลอดฝุน Safe Zone ในรานอาหาร เมื่อประเมินผานเกณฑจะไดรับสติ๊กเกอรหองปลอดฝุน PM2.5 จังหวัดลำปาง รณรงคท ำความสะอาดบานเรือน/สถานบรกิ าร (4) โรงพยาบาลทุกแหงจัดทำคลินิกมลพิษ เพื่อใหการรักษาและปรึกษาผูปวยที่ไดรับผลกระทบจาก ฝุน ละอองขนาดเลก็ PM2.5 จำนวน 13 แหง (5) สถานบริการสาธารณสุขทุกแหง ดำเนินการจัดทำระบบพนฝอยละอองน้ำรอบอาคาร เพื่อสราง ความชมุ ช้นื และลดฝนุ ละออง โรงพยาบาล จำนวน 13 แหง โรงพยาบาลสงเสรมิ สุขภาพตำบล จำนวน 141 แหง (6) การเปดศูนย EOC เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ 2564 สรุปสถานการณทุกสัปดาห และประชุมคณะ ทำงาน EOC คร้งั ที่ 2 เมือ่ วนั ที่ 2 มีนาคม 2564 (ประชุมทุก 2 สัปดาห) และประชมุ สรปุ สถานการณทกุ วนั ศกุ ร 5) มาตรการทางกฎหมาย ดำเนินงานตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แกไข เพมิ่ เตมิ โดยองคกรปกครองสวนทองถ่ิน 67 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

กรณีศกึ ษา : การแกไขปญ หาฝุน ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ในพ้นื ทก่ี รุงเทพมหานคร กรงุ เทพมหานครไดด ำเนินการตามมาตรการแกไ ขปญ หาฝนุ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 ดงั นี้ 1. แตงตั้งคณะกรรมการปองกันและแกไขปญหาฝุนละอองขนาดเล็ก (PM2.5) ในกรุงเทพมหานคร โดยมี ผวู า ราชการกรงุ เทพมหานครเปน ประธาน เพอ่ื จดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ ารแกไ ขปญ หาฝนุ ละออง PM2.5 ในพน้ื ทก่ี รงุ เทพมหานคร เฝาระวัง คาดการณและแจงเตือนสถานการณ เพื่อตอบสนองไดอยางทันทวงที ในการลดการระบายฝุนละอองจาก แหลงกำเนิด โดยบรู ณาการดำเนนิ งานระหวา งหนว ยงานท่เี ก่ียวของ 2. จดั ทำแผนการปฏบิ ตั กิ ารแกไ ขปญ หาฝนุ ละออง PM2.5 ในพน้ื ทก่ี รงุ เทพมหานครป 2564 ภายใตแ ผนปฏบิ ตั กิ าร ขับเคลื่อนวาระแหงชาติ “การแกไขปญหามลพิษดานฝุนละออง” โดยแผนปฏิบัติการฯ ประกอบดวย มาตรการสำหรับ ใชเ ปน แนวทางใหผ วู า ราชการกรงุ เทพมหานครสง่ั การตามสถานการณฝ นุ ละอองใน 3 ระดบั ไดแ ก 1) ควบคมุ ยานพาหนะ 2) ควบคุมโรงงานอุตสาหกรรม/สถานประกอบการ 3) ควบคุมการกอสราง 4) ควบคุมการเผาในที่โลง 5) โรงเรียน 6) การปองกันดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชน ดังนั้น กรุงเทพมหานครจำเปนตองประสานงานเพื่อบูรณาการทำงาน รว มกบั หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง โดยใชอ ำนาจตามกฎหมายในความรบั ผดิ ชอบของแตล ะหนว ยงานขบั เคลอ่ื นการดำเนนิ งาน ตามแผนปฏิบัติการฯ ทั้งหนวยงานภายในและหนวยงานภายนอกกรุงเทพมหานคร เชน กรมควบคุมมลพิษ กองบังคับการตำรวจจราจร กรมการขนสงทางบก องคการขนสงมวลชนกรุงเทพ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กรมอุตุนิยมวิทยา กรมอนามยั กรมควบคมุ โรค เปน ตน 3. เตรียมพรอมรับมือกับสถานการณฝุนละออง PM2.5 โดยผูวาราชการกรุงเทพมหานครในฐานะประธาน คณะกรรมการและผูบัญชาการเหตุการณ (Single Command) ไดประชุมเตรียมรับมือและมอบหมายใหทุกหนวยงาน เรง ดำเนนิ การตามแผนปฏบิ ตั กิ ารแกไ ขปญ หาฝนุ ละออง PM2.5 ในพน้ื ทก่ี รงุ เทพมหานคร และยกระดบั มาตรการเปน ระยะ ตามสถานการณฝ นุ ละออง ไดแก - มาตรการระยะท่ี 1 สำหรบั สถานการณ ฝุนละอองไมเกิน 50 มคก./ลบ.ม. ไดแก การลางถนน กำกับดูแล สถานที่กอสราง บริการตรวจเช็คควันดำ เครอ่ื งยนตฟ รี ควบคมุ โรงงานอตุ สาหกรรมในการปลอ ยควนั ดำ กวดขันไมใหมีการเผาในที่โลง งดกิจกรรมกลางแจงของ เดก็ เลก็ และประชาสมั พนั ธใ หส วมใสห นา กากอนามยั ตดิ ตง้ั เครอ่ื งวดั ปรมิ าณฝนุ บรเิ วณสวนสาธารณะ เปด คลนิ กิ มลพษิ ทางอากาศในโรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร และ การประชาสัมพันธใหประชาชนใชบริการติดตามคุณภาพ อากาศผา นแอปพลิเคชนั และชองทางประชาสมั พันธอ นื่ ๆ สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 68 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

- มาตรการระยะท่ี 2 สำหรบั สถานการณ ที่มีคาฝุนละอองขนาดเล็กระหวาง 51-75 มคก./ลบ.ม. ไดแ ก การปด การเรยี นการสอนโรงเรยี นสงั กดั กรงุ เทพมหานคร ครั้งละไมเกิน 3 วัน การบังคับใชกฎหมายกับผูกระทำ ความผิดในการเผา การงดกิจกรรมกอสรางทุกประเภท ที่เกิดฝุน การจัดใหมี Safe Zone ในทุกโรงเรียนและ ศนู ยเ ดก็ เลก็ สงั กดั กรงุ เทพมหานคร การจดั เกบ็ ขยะมลู ฝอย ใหแ ลวเสรจ็ กอนเวลา 14.00 น. - มาตรการระยะท่ี 3 สำหรบั สถานการณ ที่มีคาฝุนละอองขนาดเล็กมากกวา 76 มคก./ลบ.ม. ไดแก การปด การเรยี นการสอนครง้ั ละไมเ กนิ 15 วนั ใหบ คุ ลากร ของกรงุ เทพมหานครเหลอ่ื มเวลาการทำงานและลดการใช รถยนตสวนตัว ใชมาตรการจับปรับจอดรถไมดับเครื่อง และประสานใหหนวยงานราชการใชระบบขนสงมวลชน การบงั คบั ใชก ฎหมายอยา งเขม งวดกบั ผกู ระทำผดิ ในการเผา การตรวจวดั ควนั ดำรถโดยสารไมป ระจำทางทกุ คัน ปจ จัยความสำเร็จ : กรุงเทพมหานคร รวมตทาง้ัมเไแฝดผาดนรำะปเวนฏงันิ บิคกัตาาดกิ รกาตราาแรมณกมไ แขาจตปงรญเกตหาอื รานแฝสกุนถไลขาะปนอญกอาหงราณPฝMุน เ2พล.5อ่ืะใอตนออพงบขืน้ สนทนา่ีกอดรงเุงไลเดท็กอพยPมาMหง2ทา.5นันคทรว งที ในการลดการระบายฝนุ ละอองจากแหลงกำเนิด โดยบูรณาการดำเนนิ งานระหวางหนวยงานท่ีเก่ียวขอ ง 69 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

4. ส่ังการหนว ยงานในสงั กดั กรุงเทพมหานคร เขมงวดดำเนินมาตรการเพอื่ ลดฝุนละอองที่แหลง กำเนดิ ดังน้ี 1) ตรวจวดั รถยนตควนั ดำทุกประเภทรวมกบั หนวยงานทเ่ี กย่ี วขอ งตามแผนทีก่ ำหนด 2) ประสานสถานตี ำรวจทองทอ่ี ำนวยความสะดวกการจราจรหรือจดั การจราจรใหคลอ งตวั 3) รณรงคไมข บั ...ชว ยดบั เครอ่ื ง 4) ประชาสัมพันธผูขับข่ีรถยนตหมน่ั ดูแลรกั ษาเครือ่ งยนต 5) ขอความรว มมือใหประชาชนลดการใชร ถยนตสว นตัว เปลย่ี นมาใชร ะบบขนสง มวลชน 6) ควบคุมสถานประกอบกิจการในพื้นทไ่ี มใหป ลอ ยมลพิษอากาศเกนิ คา มาตรฐานทก่ี ฎหมายกำหนด 7) ควบคุมกิจกรรมที่กอใหเกิดฝุนละอองจากการกอสรางทุกประเภท ใหปฏิบัติตามกฎหมาย พรอม ทง้ั ดแู ลไมใหนำรถท่ีมคี วนั ดำมาใชง านบนถนน 8) ควบคมุ ไมใหมีการเผาขยะหรอื การเผาในท่ีโลง ทุกประเภท 9) กำชับเจาหนา ทผ่ี มู ีหนาท่ีฌาปนกิจศพใหปฏิบตั ติ ามข้นั ตอนทถี่ ูกตองตามหลักวชิ าการ 10) เพิ่มความถใ่ี นการลา งและดูดฝุน ถนน และฉีดลางใบไม 11) ประชาสัมพันธใ หความรู แนะนำวิธปี องกนั สขุ ภาพอนามยั ผา นส่ือออนไลนข องสำนกั งานเขตและ สื่อประชาสัมพันธตาง ๆ ของกรุงเทพมหานคร การประกาศเสียงตามสายของชุมชนและแอปพลิเคชันไลนของหมูบาน และโรงเรยี นในสังกดั เปนตน 12) ใหรายงานผลการดำเนินมาตรการใหสำนักสิ่งแวดลอมทราบทางแอปพลิเคชันไลนกลุม PM2.5 #50 เขต ทกุ วันจนกวา คาฝนุ ละออง PM2.5 อยใู นเกณฑม าตรฐาน 5. รายงานสถานการณฝ นุ ละออง PM2.5 อยา งเปน ปจ จบุ นั ประชาชนสามารถตดิ ตามขอ มลู คณุ ภาพอากาศ ผา น ชอ งทางตา ง ๆ ไดแ ก www.bangkokairquality.com, www.prbangkok.com, www.air4bangkok.com, Facebook : กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง สำนักสิ่งแวดลอม Facebook : กรุงเทพมหานคร โดยสำนักงานประชาสัมพันธ และแอปพลิเคชัน Air BKK มีความถี่การแจงเตือนวันละ 3 รอบเวลา คือ 07.00 น. 12.00 น.และ 15.00 น. และขอ ความรวมมือประชาชนดูสุขภาพและปองกันตนเองจากฝุนละออง PM2.5 โดยเฉพาะในกลุมเสี่ยง ผูสูงอายุ เด็กเล็ก และ ผูที่ตองดูแลสุขภาพเปนพิเศษ และวางแผนการทำงาน การทำกิจกรรมโดยเฉพาะในพื้นที่ที่คุณภาพอากาศอยูในระดับ เริ่มมีผลกระทบตอสุขภาพ ควรลดระยะเวลา หรืองดการทำกิจกรรมกลางแจง หากมีความจำเปนควรสวมใสหนากาก อนามยั หรอื หนากากปองกันฝุน PM2.5 ทุกครง้ั กอ นออกจากบา น สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 70 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

ส่วนท่ี 3 ปจั จยั ความสาํ เร็จ ปัญหา อุปสรรคและ ขอ้ เสนอต่อการดาํ เนินงาน

ส่วนที่ 3 ปั จจยั ความสําเร็จ ปั ญหา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ ต่อการดาํ เนินงาน 3.1 ปจ จัยความสำเร็จ 3.1.1 ระดับนโยบาย 1) ประเด็นหมอกควันและฝุนละอองขนาดเล็ก ป 2564 เปนประเด็นสำคัญ ซึ่งคณะรัฐมนตรี มีมติให “การแกไขปญหามลภาวะดานฝุนละออง” เปนวาระแหงชาติเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ 2562 ผูบริหารทุกระดับ ทั้งใน ระดับกระทรวง ระดับกรม ระดับเขตสุขภาพ และระดับจังหวัดใหความสำคัญ ทำใหการดำเนินงานตาง ๆ ขับเคลื่อน อยา งบูรณาการทกุ ภาคสวน 2) ระบบการสั่งการจังหวัดแบบ Single command สงผลใหการดำเนินงานถายระดับจากจังหวัด สอู ำเภอ ตำบล หมบู า น อยา งฉบั ไว การเนน ยำ้ ใหม กี ารใชก ฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ ง ปรบั และจบั ใหโ ทษแกผ จู ะกระทำความผดิ ทำใหการดำเนินงานมีรูปธรรมที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น สามารถลดฝุนละอองขนาดเล็กและปองกันสุขภาพของประชาชน กลมุ เสีย่ งไดรบั การดแู ลอยางมีประสทิ ธิภาพ 3) เจาหนาที่สาธารณสุขในพื้นที่ มีความตั้งใจในการทำงานที่ไดรับมอบหมาย และไดรับขวัญกำลังใจ จากผูบ รหิ าร สง ผลใหป ระชาชนไดรบั บรกิ ารทดี่ ี สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 72 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

3.1.2 การบูรณาการความรวมมือและภาคีเครอื ขาย โดยการบูรณาการหนวยงานที่เกี่ยวของ ทุกภาคสวนทั้งหนวยงานภาครัฐ เอกชน มหาวิทยาลัย องคกรปกครองสวนทองถิ่น เครือขาย อสม. แกนนำชุมชน ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม เปนตน เพื่อสรางกลไก ขับเคลื่อนการดำเนินงานแบบบรู ณาการ เชอ่ื มโยงขอมูลและการดำเนนิ งานจากทุกภาคสวนทเ่ี กีย่ วขอ งแบบองคร วม 3.1.3 การพฒั นาศักยภาพและสรา งความรอบรูแ กภาคีเครอื ขา ยและประชาชน โดยเสริมสรางศักยภาพชุมชน ประชาชน และผูมีสวนไดสวนเสีย เพื่อพัฒนากลไกขับเคลื่อนการดำเนิน งานปองกันแกไขปญหาฝุนละอองขนาดเล็ก ทำใหชุมชน ประชาชนและผูมีสวนเกี่ยวของมีความรูและเกิดความรอบรู ดานสุขภาพและตระหนักตอปญหา ทำใหเกิดความรวมมือในการขับเคลื่อนปญหาฝุนควันในพื้นที่ มีระบบเฝาระวังเพื่อ ปองกัน สือ่ สารความเส่ยี งฝนุ ควันแกป ระชาชนในหมบู าน รวมทั้งการแกปญ หาโดยชุมชนเพื่อชุมชนอยางย่งั ยืน 73 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

3.1.4 การสือ่ สารขอ มูล สถานการณ และผลกระทบตอ สขุ ภาพท่ีถกู ตองชดั เจน การใชห ลกั วทิ ยาศาสตร เพอ่ื ชใ้ี หเ หน็ ถงึ อนั ตรายและผลกระทบตอ สขุ ภาพจากภาวะฝนุ ควนั โดยวเิ คราะห เชอ่ื มโยงใหประชาชนตระหนกั ถึงผลกระทบตอสุขภาพท่เี กิดข้ึน และใชกระบวนการตดิ ตาม ประเมินผล ในการตดั สนิ ใจ แกไ ขปญ หา รวมทง้ั การสอ่ื สารขอ มลู ในรปู แบบทห่ี ลากหลาย รวดเรว็ เชน สอ่ื ออนไลน ธงสเี ตอื นภยั สอ่ื บคุ คล ทง้ั แกนนำ ผนู ำชุมชน อสม. และประชาชน หอกระจายขาว เสยี งตามสาย social media หรอื application ไลน เปน ตน 3.1.5 การสนบั สนนุ และบูรณาการงบประมาณจากหนวยงานตาง ๆ ในการดำเนนิ งานหมอกควนั และฝนุ ละอองขนาดเลก็ ป 2564 เชน การสนบั สนนุ งบประมาณจากกองทนุ สุขภาพตำบลในการพัฒนาศักยภาพผูเกี่ยวของทั้งในระดับตำบลและชุมชน ทำใหขับเคลื่อนการดำเนินงานเปนไปอยาง มีประสทิ ธิภาพ 3.1.6 การกำกับ ติดตาม ผูบริหารใหความสำคัญในการกำกับติดตามการดำเนินงาน และคืนขอมูลอยางสม่ำเสมอทำให การขับเคลื่อนงานบรรลุเปาหมาย รวมทั้งการนำเอากฎหมายพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แกไข เพิ่มเติมมาประยุกตใชในการดำเนินงาน โดยใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนผูควบคุมและกำกับการดำเนินงาน จงึ ทำใหการดำเนนิ งานแกไ ขปญ หาหมอกควันและฝุน ละอองขนาดเลก็ เปนไปอยา งมีประสิทธิภาพ สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 74 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

3.2 ปญ หา อุปสรรค และขอเสนอแนะตอ การดำเนนิ งาน จากการวิเคราะหการดำเนินงานที่ผานมา ยังคงพบปญหา อุปสรรค ในประเด็นตาง ๆ เชน ขอมูลดานสุขภาพ และการเฝา ระวงั การเจบ็ ปว ยทเ่ี กย่ี วขอ งกบั PM2.5 การดแู ลสขุ ภาพประชาชนและเจา หนา ท่ี การสอ่ื สาร สรา งความเขา ใจ ในการปองกันตนเองแกประชาชน การบังคับใชกฎหมาย การขับเคลื่อนการดำเนินงานและบูรณาการเครือขายเพื่อการ ดูแลสุขภาพประชาชน รวมทั้งองคความรู นวัตกรรม ซึ่งจากประเด็นดังกลาวไดนำมาสูการใหขอเสนอแนะตอ การดำเนนิ งานดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ กรณี หมอกควนั และฝุน ละอองขนาดเลก็ ในปต อ ไป ดังน้ี 3.2.1 ขอ มลู ดานสุขภาพและการเฝาระวังการเจบ็ ปว ยทเี่ กีย่ วขอ งกบั PM2.5 แมวาการใชขอมูลโรคจากระบบเฝาระวังการเจ็บปวยของสถานพยาบาลจะนำมาใชเปนตัวชี้วัดที่บงชี้ ความเสี่ยงตอสุขภาพจากการรับสัมผัส PM2.5 ได แตยังมีขอจำกัด เนื่องจากปญหาโรคและภัยสุขภาพจาก มลพิษทางอากาศ มีความซับซอน อาการของโรคไมชัดเจน ระยะเวลาเกิดโรคนาน ยากตอการวินิจฉัย และระบบ การรายงานและการเฝา ระวงั สขุ ภาพจากขอ มลู Health Data Center (HDC) กระทรวงสาธารณสขุ ขอ มลู ไมเ ปน ปจ จบุ นั เนอ่ื งจากโรงพยาบาลจะรายงานขอ มลู เขา ในระบบอยา งนอ ย 1 สปั ดาห ทำใหข อ มลู ลา ชา และจำนวนผปู ว ยมากเกนิ จรงิ เนื่องจากรวมขอมูลผูปวยที่มาตามนัดและมารับยา จึงทำใหมีผูปวยที่ไดรับผลกระทบจาก PM2.5 มีจำนวนสูงขึ้นตาม การรายงาน ซึ่งไมสอดคลองกับคาฝุน PM2.5 ในพื้นที่ ในสวนของการเฝาระวังผลกระทบตอสุขภาพในเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เปนการรายงานขอมูลที่ไมใชระบบปกติของโรงพยาบาล และขอมูลถูกรายงานจาก โรงพยาบาลเพียงบางแหงเทานั้น ยังไมครอบคลุมทุกพื้นที่ สงผลใหพื้นที่โรงพยาบาลที่มีการรายงานขอมูลพบจำนวน ผูปวยมากกวา บริเวณอ่ืน 75 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

ขอเสนอแนะตอ ขอมลู ดา นสขุ ภาพและการเฝาระวงั การเจบ็ ปวยท่เี กยี่ วขอ งกับ PM2.5 ดังน้ี 1) ควรเพิ่มรหัสการรับสัมผัส PM2.5 ในการวินิจฉัยโรค เพื่อบงชี้ความเสี่ยงตอสุขภาพจากการรับสัมผัส PM2.5 และควรพัฒนาระบบคัดกรองหรือวินิจฉัยโรคที่อาจจะมีสาเหตุจากมลพิษสิ่งแวดลอมในโรงพยาบาลทุกระดับ รวมทั้งพัฒนาการจดั บริการเวชกรรมสิ่งแวดลอมโรงพยาบาลทุกระดับใหไดต ามมาตรฐานอยา งตอเนือ่ ง 2) ระบบการเฝาระวังสุขภาพจาก HDC ควรพิจารณาปรับใชขอมูลจากแผนกฉุกเฉิน (ER) และแผนก ผปู ว ยใน (IPD) แทน และพจิ ารณาตดั ขอ มลู หรอื ตวั แปร ทผ่ี ปู ว ยมาจากการนดั ตดิ ตามอาการ (F/U) หรอื นดั มารบั ยาตา ง ๆ และเพม่ิ การเขา ถงึ ขอ มลู เรอ่ื งของการ Re admit และการเขา รบั บรกิ ารซำ้ กอ นวนั นดั ของผปู ว ยทม่ี โี รคประจำตวั COPD จะสามารถนำขอมูลมาเชื่อมโยงดูขอมูลการไดรับผลกระทบจากหมอกควันและฝุนละอองขนาดเล็กไดมากยิ่งขึ้น และ ควรปรับแก Template ใหม โดยกำหนดสัปดาหของการรายงานในแตละป ตามสัปดาหระบาดของกองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค (ท้ังน้ไี ดม ีประสานการดำเนินการเพ่อื แกไ ขปญ หาเรยี บรอยแลว ) 3) การเฝาระวังผลกระทบตอสุขภาพในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ควรพัฒนาระบบการ รายงานใหเปนระบบเดียวกันกับระบบของโรงพยาบาล (HIS) หรือสามารถ export จาก HIS ของสถานพยาบาล และ ควรประสานหนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง เชน สำนกั อนามยั กรงุ เทพมหานคร เพอ่ื ใหม กี ารรายงานขอ มลู การเฝา ระวงั ผลกระทบ จาก PM2.5 จากศูนยบรกิ ารสาธารณสุขในพน้ื ที่ 4) ควรมกี ารดำเนนิ งานในรปู 5 โรค 5 มติ ิ บรู ณาการใหเ หมอื นโรคตดิ ตอ เหมอื นทเ่ี คยดำเนนิ การมากอ น ท่จี ะตัดกลุมโรคจากการประกอบอาชพี และสิ่งแวดลอ มออกจากรายงาน 506 5) ควรเพิ่มการทำ Sentinel surveillance ในสถานประกอบการ หรือสถานที่ที่มีกลุมเสี่ยง และ ประชากรกลมุ เสย่ี งเพอ่ื บง ชค้ี วามเสย่ี งตอ สขุ ภาพ สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 76 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

3.2.2 การดูแลสุขภาพประชาชนและเจาหนาที่ หอ งปลอดฝนุ มใี นบางสถานท่ี ยงั ไมค รอบคลมุ ในพน้ื ทเ่ี สย่ี ง นอกจากน้ี ตอ งมกี ารใหค วามรใู นการเตรยี ม ความพรอ มของรางกายและการรกั ษาเม่อื เกิดเหตุ สำหรบั เจา หนา ที่อาสาสมคั รดับไฟปา โดยขอเสนอแนะตอการดแู ลสขุ ภาพประชาชนและเจาหนาท่ี ดังนี้ 1) ควรประสานความรวมมือกับภาคเอกชนรวมจัดทำหองปลอดฝุนและสนับสนุนงบประมาณในการ ดำเนนิ งานหองปลอดฝุนในบา น ชุมชน สถานศกึ ษา ศนู ยเดก็ เลก็ รวมทัง้ ขยายหอ งปลอดฝนุ ในสถานบริการสาธารณสขุ ใหเพียงพอและครอบคลุมพน้ื ทีเ่ สย่ี ง 2) ควรเตรียมสำรองและสนบั สนุนหนา กากอนามยั แกประชาชน โดยเฉพาะกลุมเสี่ยงใหเพยี งพอ 3) ควรจดั ทำแนวทางการเชค็ รางกายกอ นปฏิบัติการ ระหวา งปฏบิ ัตงิ าน และแนวทางการปฐมพยาบาล เมือ่ เกดิ เหตสุ ำหรับเจาหนาที่ดบั ไฟปา 77 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

3.2.3 ความตระหนกและการส่ือสารขอ มลู ท่เี ปนเท็จ ที่ผานมา พบวา ประชาชนมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับเรื่อง PM2.5 กับสุขภาพ และการมีสวนรวมเพื่อ ลดมลพษิ ทางอากาศยงั นอ ย เชน การดแู ลรกั ษาเครอ่ื งยนตอ ยา งสมำ่ เสมอ เพอ่ื ลดมลพษิ การเลอื กใชบ รกิ ารขนสง มวลชน และการลดเผาในที่โลง โดยเฉพาะในชวงที่มีคาฝุนละออง PM2.5 เกินมาตรฐาน นอกจากนี้ ยังพบการรายงานขาวที่เปน เชงิ ลบ ทำใหประชาชนมคี วามตระหนกมากยงิ่ ขน้ึ โดยขอเสนอแนะตอการสื่อสาร สรางความเขา ใจในการปอ งกันตนเองแกป ระชาชน ดังน้ี 1) ควรสำรวจความรูสกึ หรือพฤติกรรมของประชาชนเปนระยะ (เตรยี มการ/เกิดเหตุ/วิกฤต) และจดั ทำ ขอ มลู ท่สี อดรบั กบั ขอ มลู ทปี่ ระชาชนตอ งการ 2) เพิ่มชองทางสื่อสารขอมูลใหประชาชนที่เหมาะสมกับทุกกลุมวัย ทุกรูปแบบในทุกระดับ อาทิเชน การจัดทำระบบ Online (Line official ของจังหวัด ดานฝุนละออง) On air (การจัดรายการวิทยุ) Infographic (การแจงเตอื นประชาชน) On ground การทำงานเชิงรุกในกลมุ อสม. และสนับสนนุ สื่อประชาสมั พันธ ความรูเรื่องการ ดูแลสุขภาพเพือ่ ปอ งกันตนเองจากปญ หาฝนุ ละอองขนาดเลก็ เชน แผน พับ โปสเตอร ไวนิล เปนตน 3) ทกุ หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งควรสอ่ื สารความเสย่ี ง ประชาสมั พนั ธ เพอ่ื สรา งความรคู วามรอบรทู เ่ี กย่ี วกบั ฝนุ PM2.5 ใหเ ขา ถงึ ประชาชนทกุ กลมุ เพม่ิ คำแนะนำในการดแู ลตนเองรายกลมุ อายหุ รอื กลมุ เสย่ี ง โดยใชข อ มลู ชดุ เดยี วกนั ในการส่อื สารเตือนภัย เพอื่ ลดการสับสนของประชาชน 4) ควรประสานเครอื ขา ยในการสอ่ื สารขอ มลู แกป ระชาชน เพอ่ื ใหก ารสอ่ื สารเขา ถงึ ประชาชนมากยง่ิ ขน้ึ 5) ควรเพม่ิ กจิ กรรมการสอ่ื สารความเสย่ี งอยา งเหมาะสม เพอ่ื ใหป ระชาชนปอ งกนั และเฝา ระวงั ผลกระทบ จากมลพษิ สง่ิ แวดลอ ม และขอความรว มมอื จากประชาชนใหม คี วามตระหนกั อยา งจรงิ จงั และมสี ว นรว มในการลดมลพษิ ทางอากาศ เชน การดแู ลรกั ษาเครอ่ื งยนตอ ยา งสมำ่ เสมอ เพอ่ื ลดมลพษิ การเลอื กใชบ รกิ ารขนสง มวลชน การใชร ถโดยสาร ปลอดควนั ดำรว มกนั รบั สง นกั เรยี น และการลดเผาในทโ่ี ลง ผา นสอ่ื ตา ง ๆ เชน สอ่ื โทรทศั น วทิ ยุ Facebook LINE เปน ตน สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 78 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

3.2.4 การบังคบั ใชกฎหมาย ขาดความเขมงวดในการบังคับใชกฎหมายที่เกี่ยวของกับ PM2.5 ของหนวยงานทองถิ่น และในบางพื้นที่ มีการลักลอบเผาปาออย เผาวัสดุทางการเกษตร เผาบอขยะ เผาขยะเปนระยะ ความหนาแนนของจราจรติดขัดใน ชวงเวลากอนและหลังเลิกเรียนหรือทำงาน และปญหาควันดำ รวมทั้งมีการฝาฝนขอบัญญัติทองถิ่นที่องคกรปกครอง สวนทองถิ่นบัญญัติ และฝาฝนประกาศพื้นที่ควบคุมเหตุรำคาญ และการออกนโยบายและขอบังคับตาง ๆ เกี่ยวกับ การควบคมุ มลพษิ ทางอากาศจากแหลงกำเนิดไมเปน ไปตามแผนที่กำหนดไว โดยขอเสนอแนะตอการบังคบั ใชก ฎหมาย ดงั นี้ 1) ควรนำกฎหมายที่เกี่ยวของมาใชกับ PM2.5 เชน พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่ แกไขเพิ่มเติม มาใหหนวยงานทองถิ่นบังคับใชอยางจริงจัง เพื่อปองกันปญหาที่จะเกิดจากแหลงกำเนิด PM2.5 และ หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งควรพจิ ารณาเรง รดั การออกนโยบายระดบั ประเทศและขอ บงั คบั ตา ง ๆ เพอ่ื ควบคมุ และลดการระบาย ฝุนละออง PM2.5 จากแหลงกำเนิด เชน กำหนดใหบังคับใชมาตรฐานการระบายมลพิษจากรถยนตใหมใหเปนไปตาม มาตรฐาน Euro 5 และ Euro 6 สง เสรมิ การจดั ซอ้ื จดั จา งรถยนตไ ฟฟา โดยภาครฐั สง เสรมิ การทำเกษตรทป่ี ลอดการเผา อยางจริงจัง พิจารณาเรงรัดการปรับปรุงคามาตรฐานควบคุมมลพิษทางอากาศจากยานพาหนะ เปนตน เพื่อควบคุม และลดปรมิ าณมลพิษทางอากาศจากแหลง กำเนิดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ 2) องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรประชาสัมพันธเสียงตามสาย เวทีประชุมตาง ๆ ทุกเครือขาย เรื่องขอบัญญัติทองถิ่นที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นบัญญัติ ฝาฝนประกาศพื้นที่ควบคุมเหตุรำคาญ ลดการเผาปาออย เผาวัสดุทางการเกษตร เผาบอขยะ เผาขยะ วาหากฝาฝนนั้นมีความผิด และควรสื่อสารอยางตอเนื่อง ทำงานรวมกับ ตำรวจและปกครองอำเภอหรอื ตำบลในพนื้ ทีอ่ ยา งจริงจัง ประชาสมั พันธใหป ระชาชนทราบและปฏิบัตติ ามกฎหมาย 79 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

3.2.5 การบริหารจัดการ การขับเคลื่อนการดำเนินงาน และการบูรณาการเครือขายเพื่อการดูแลสุขภาพ ประชาชน การแกปญหามลพิษฝุนละอองขนาดเล็ก ไมสามารถแกไขไดเพียงพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง เนื่องจากฝุนละออง สามารถลอยไปยงั บรเิ วณอน่ื ๆ ได ตอ งอาศยั ความรว มมอื กนั ของภาคเี ครอื ขา ย การจดั การปญ หายงั คงตอ งอาศยั การประสาน และบรู ณาการกบั หลายหนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งอยา งเปน รปู ธรรม ทง้ั การเผาในทโ่ี ลง การเผาเพอ่ื การเกษตรและหมอกควนั ขา มแดน โดยขอเสนอแนะตอการการบริหารจัดการ การขับเคลื่อนการดำเนินงาน และการบูรณาการเครือขาย เพอ่ื การดูแลสขุ ภาพประชาชน ดังนี้ 1) การสรางความรวมมือของภาคีทั้งภายในและภายนอกหนวยงานสาธารณสุขทุกระดับ รวมทั้งพื้นที่ ตำบล อำเภอ จังหวัด เขตสุขภาพที่มีพื้นที่ติดตอกัน ในการแกปญหาฝุนละอองขนาดเล็ก จะทำใหการแกปญหา มีประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จไดอ ยา งยั่งยนื 2) บูรณาการการทำงานรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของที่มีอำนาจหนาที่ตามกฎหมาย และเขมงวดกับ มาตรการการบังคับใชกฎหมายใหมีประสิทธิภาพ และดำเนินการเฝาระวังติดตามในสวนที่เกี่ยวของอยางตอเนื่อง เชน การจำกัดแหลงกำเนิดฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5 การเฝาระวังไฟปา การเผาในที่โลง เฝาระวังแหลงกำเนิดฝุนละออง มาตรการการควบคมุ และลดมลพษิ ดา นการคมนาคมและขนสง มาตรการการบงั คบั ใชก ฎหมาย เรง รดั ใหม กี ารใชเ ครอ่ื งจกั ร ในการตัดออยแทนการเผา เปนตน รวมทั้งประสานไปยังประเทศเพื่อนบาน ใหมีการควบคุมการเผาปา รวมทั้งการเพิ่ม พนื้ ท่ีสเี ขยี วเพอ่ื ใหการแกไขปญ หามปี ระสทิ ธิภาพมากขึน้ 3) ควรออกตรวจเยี่ยมเสริมพลัง พัฒนางานในพื้นที่อำเภอเสี่ยงสูง ในรูปแบบบูรณาการหนวยงาน จงั หวัดเย่ียมเสริมพลัง ทอ งถ่ินทุกแหงปฏิบัตติ ามมาตรการอยา งตอ เนอื่ ง 4) ควรใหมียกรางและกำหนดนโยบายสาธารณะในการแกไขปญหาตนเหตุการณเกิดฝุนอยางยั่งยืน โดยสมชั ชาสุขภาพแหงชาติ สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 80 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

เอกสารอา งอิง กระทรวงสาธารณสขุ . (2564). การปวยดวยโรคจากมลพิษทางอากาศ.จาก http://hdc.ntwo.moph.go.th/hdc/reports/ กรมควบคุมมลพิษ. (2564). รายงานสถานการณแ ละคุณภาพอากาศประเทศไทย ป 2564. จาก http://air4thai.pcd.go.th/webV2/ กองประเมนิ ผลกระทบตอ สุขภาพ กรมอนามยั . (2564). การสำรวจผลกระทบตอ สุขภาพและพฤติกรรม การปอ งกันตนเองจากการรับสัมผสั ฝนุ ละอองขนาดเลก็ PM2.5. จาก https://datastudio.google.com/u/0/reporting/fd2ccfdd-0695-4673-8b3b-b53dbb0118dc/ page/9XSsB กองระบาดวิทยา กรมควบคมุ โรค. (2564). สถานการณก ารเฝา ระวงั ผลกระทบตอ สขุ ภาพจากมลพิษอากาศ ฝนุ ละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในพ้นื ทก่ี รงุ เทพมหานครและปริมณฑล. จาก https://datastudio.google.com/embed/u/0/reporting/2ea905aa-5e45-41e9-8ed9-867bdcf70cae/page/R0Li สำนกั งานพัฒนาเทคโนโลยอี วกาศและภูมสิ ารสนเทศ (องคการมหาชน) หรอื GISTDA . (2564). ขอ มลู รายงานสถานการณไ ฟปา . จาก http://fire.gistda.or.th/ 81 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

ภาคผนวก

รายนามที่ปรึกษา นายแพทยเกียรติภูมิ วงศรจิต ปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทยธงชัย กีรติหัตถยากร รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทยยงยศ ธรรมวุฒิ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายแพทยสุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย นายแพทยโอภาส การยกวินพงศ อธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทยสมศักดิ์ อรรฆศิลป อธิบดีกรมการแพทย นายแพทยธเรศ กรัษนัยรวิวงค อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ นายแพทยดนัย ธีวันดา รองอธิบดีกรมอนามัย นายแพทยขจรศักดิ์ แกวจรัส รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทยมานัส โพธาภรณ รองอธิบดีกรมการแพทย นายแพทยภานุวัฒน ปานเกตุ รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ นายวิรัตน มนัสสนิทวงศ ผูอำนวยการสำนักสิ่งแวดลอม กรุงเทพมหานคร นางปานฤดี มโนมัยพิบูลย ผูอำนวยการสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร นายสุขสันต กิตติศุภกร ผูอำนวยการสำนักการแพทย กรุงเทพมหานคร 83 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

คณะทำงานจดั ทำรายงานสถานการณ และผลการดำเนนิ งานดา นการแพทยแ ละสาธารณสขุ กรณี หมอกควนั และฝุนละอองขนาดเล็ก ป 2564 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 84 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

85 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

กระทรวงสาธารณสขุ มคี วามมงุ ม่ันทีจ่ ะขบั เคล่ือนการดำเนินงานอยา งตอเนอื่ ง เพ่อื ลดจำนวนการเจ็บปว ยของประชาชน ใหบ รรลุเปา หมายของวาระแหง ชาติและการพฒั นาอยา งยงั่ ยนื สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 86 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

เนนยำ้ การดำเนินงานอยางเต็มกำลงั เพ่อื ลดความเสยี่ งตอสขุ ภาพจากฝนุ ละอองขนาดเล็ก และสง เสริมสุขภาพในทุกจงั หวัด ทุกพน้ื ท่ี และใหการดแู ลสุขภาพประชาชนอยา งใกลช ดิ ทงั้ การเฝาระวัง แจงเตอื น การสรางความรอบรูใหป ระชาชนดแู ล และจดั การความเส่ียงตอ สุขภาพของตนเองได รวมทง้ั ใหคำปรกึ ษาและดำเนินการรกั ษา เม่อื เกิดการเจบ็ ปวย 87 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

คลปิ วดิ ีโอสรปุ ผลการดำเนินงานดานการแพทยและสาธารณสขุ กรณฝี ุนละอองขนาดเลก็ ป 2564 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข 88 กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564

ตดิ ตามส่ือประชาสัมพันธทเ่ี กย่ี วของ เพจคนรกั อนามยั ใสใ จอากาศ PM2.5 กรมอนามัย กรมควบคุมโรค คลนิ กิ มลพิษออนไลน กองประเมนิ ผลกระทบตอสขุ ภาพ 89 สถานการณ์และผลการดําเนินงาน ด้านการแพทย์และสาธารณสุ ข กรณี หมอกควันและฝ่ ุนละอองขนาดเล็ก ปี 2564


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook