Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP)

คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP)

Published by artwork minniegroup, 2023-08-08 04:34:12

Description: คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏิบัติการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพ
รองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

Search

Read the Text Version

ขน้ั ตอนที่ ผงั กระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน หลกั ฐาน/ ตัวชี้วัด ผรู้ บั ผดิ ชอบ คณุ ภาพงาน มาตรฐาน สนับสนนุ สิง่ ของทจ่ี าํ เปน ใหค วามรดู า นอนามยั สงิ่ แวดลอ ม การปฏบิ ตั งิ าน และสง เสรมิ สุขภาพทุกกลุมวัย 2. ลงพ้ืนท่ีสนับสนุนส่ิงของ เฝาระวังสขุ าภบิ าล เชน หนากากปองกัน สุขอนามัย และ อั น ต ร า ย จ า ก ส า ร เ ค มี อนามยั สงิ่ แวดลอม และส่อื สาร สรางการรบั รู ในการดแู ลสขุ ภาพเบอ้ื งตน 1. ตรวจวดั สาํ ห รั บ ผู ป ร ะ ส บ ภั ย เพือ่ เฝาระวังมลพิษ โดยเฉพาะกลมุ เสย่ี ง หรือ 2. ประเมนิ การจัดการ กลุมเปราะบาง เชน สวม/ สิ่งปฏิกลู / มลู ฝอย ผสู งู อายุหญงิ ตง้ั ครรภและ ท่เี พียงพอกบั จาํ นวน เดก็ เล็ก ผูประสบภัย ก ร ณี ท่ี มี ก า ร เ ป ด ศู น ย 3. ประเมินการปนเปอ น พกั พิงฯ ที ม ป ฏิ บั ติ ก า ร ต อ ง เช้อื โรคในนํา้ อุปโภค ดาํ เนินการตรวจประเมิน บรโิ ภค และในอาหาร ดา นสขุ าภบิ าลและอนามยั 4. ตรวจประเมินคุณภาพ สง่ิ แวดลอ มในศนู ยพ กั พงิ ฯ นํา้ ทง้ิ จากศนู ยพ ักพิง เพิม่ เตมิ ดงั น้ี - กรณีท่ีเกิดการร่ัวไหล ชั่วคราวใหเปน ไป ตามมาตรฐาน ไฟไหม หรือการระเบิด 5. ประเมนิ สภาพแวดลอ ม ของสารเคมี ใหเ ฝา ระวงั ท่ัวไป เชน ความแออัด มลพิษอากาศบริเวณ การระบายอากาศ ศู น ย พั ก พิ ง ช่ั ว ค ร า ว ความสวา ง ความปลอดภยั โดยติดตามขอมูลชนิด ทางสุขภาพ ข อ ง ส า ร เ ค มี เ ส่ี ย ง ประสานความรวมมือ จากหนวยงานตาง ๆ หนวยงานที่เก่ียวขอ ง ทเ่ี กย่ี วขอ งหรอื พจิ ารณา รว มลงพืน้ ท่ี เชน จากประเภทของ กรมสุขภาพจิต เปน ตน ส า ร เ ค มี ท่ี ใ ช ใ น สถานประกอบการหรอื โรงงานทเี่ กิดเหตุ - ประเมนิ ดา นสขุ าภบิ าล และอนามยั สง่ิ แวดลอ ม ในศูนยพักพิงชั่วคราว เชน สวม ขยะ อาหาร และนํ้า สภาพแวดลอ ม ท่ัวไป 3. ประสานความรวมมือ หนวยงานที่เกี่ยวของรวม ลงพนื้ ที่เชน กรมสขุ ภาพจติ เปนตน 45คมู่ ือมาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏิบตั กิ ารด้านอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

มาตรฐาน หลักฐาน/ ตัวชีว้ ัด คุณภาพงาน ขน้ั ตอนท่ี ผงั กระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ 9 สรปุ และรายงานผลการดาํ เนนิ งาน การปฏบิ ตั งิ าน เสนอผบู รหิ ารพิจารณา/ ผูบญั ชาการเหตุการณ ทกุ วนั / รวบรวม วเิ คราะห และสรปุ มรี ายงานผลการปฏบิ ตั กิ าร - ศูนยอนามยั ข้นึ กับ ผลการดาํ เนนิ งานตามบทบาท ทเ่ี กย่ี วขอ งตามบทบาทของ - หนว ยงาน สถานการณ ภารกิจของทีม และจัดทาํ หนวยงาน และเสนอตอ สวนกลาง รายงานเสนอผบู รหิ ารรวมทง้ั ทีป่ ระชุม EOC ทราบผล เสนอรายละเอียดตอ EOC การปฏิบตั ิงาน ระยะฟนฟหู ลงั เกิดภยั จากสารเคมี 1 - 2 วัน มีการประสานทีม SAT มสี รปุ สถานการณรายงาน - ศูนยอ นามยั หรือหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ขอ มลู พนื้ ทแี่ ละประชาชน - หนวยงาน 10 เพื่อสํารวจ รวบรวมขอมูล ทไ่ี ดร บั ผลกระทบ/ เขา รบั สว นกลาง ประสานทมี SAT หรอื หนว ยงาน พื้นท่ีและประชาชนที่ไดรับ การรักษาดวยโรคหรือ ทเี่ กยี่ วขอ ง เพื่อตดิ ตามขอ มูล ผลกระทบและเขา รบั การรกั ษา อุ บั ติ เ ห ตุ ท่ี เ กี่ ย ว ข อ ง สถานการณใ นพ้นื ทหี่ ลังเกิดเหตุ ในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ในชว งท่ีเกดิ ภยั 11 5 วนั มกี ารประสานงานหนว ยงาน ประชาชนไดร บั การตดิ ตาม - ศูนยอ นามัย วางแผนการดาํ เนินงานรวมกับ ทเี่ กี่ยวของ เชน และเฝาระวังความเสี่ยง - หนวยงาน หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งเพอื่ เฝา ระวงั - กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตฯิ สุขภาพหลังเกิดเหตุจาก สว นกลาง - กรมควบคมุ โรค หนว ยงานภาคสาธารณสขุ ในพ้ืนท่ีหลังเกิดเหตุ - กรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทย - กรมสขุ ภาพจิต เปน ตน แ ล ะ ร ว ม จั ด ทํา แ ผ น การดาํ เนินงานเฝาระวังใน พนื้ ทป่ี ระสบภยั หลงั เกดิ เหตุ 12 ขน้ึ กบั มกี ารลงพนื้ ทใ่ี นการเฝา ระวงั มสี รปุ รายงานผลเฝา ระวงั - ศนู ยอนามัย สถานการณ ดา นอนามยั สงิ่ แวดลอ ม เชน ดานอนามัยส่ิงแวดลอม - หนวยงาน ลงพ้นื ที่เฝา ระวัง คุณภาพอากาศ สุขาภิบาล หลงั เกิดเหตุ สว นกลาง ดา นอนามัยสิ่งแวดลอ ม อาหารและนํา้ ในพ้ืนที่ตาม แผนเฝา ระวังหลงั เกิดเหตุ 13 1 วัน รวบรวม วเิ คราะห และสรปุ มี ร า ย ง า น ส รุ ป ผ ล - ศูนยอนามยั ผลการดาํ เนนิ งานภาพรวมของ การดาํ เนินงานภาพรวม - หนวยงาน ติดตามและ ทีม OP และจัดทํารายงาน ของทีมปฏบิ ตั กิ าร OP สว นกลาง สรุปผลการดาํ เนินงาน เสนอผูบ ริหาร รวมท้ังเสนอ รายละเอยี ดตอ EOC 14 1 – 2 วนั มกี ารจดั ประชมุ ถอดบทเรยี น มีรายงานผลการถอด - ศนู ยอ นามยั หลงั เกดิ เหตุ เพอื่ ใหท ราบถงึ บทเรียนการดําเนินงาน - หนวยงาน ถอดบทเรียน (AAR) ปญหา ขอเสนอแนะ และ ของทีม OP สว นกลาง การดาํ เนนิ งาน เพ่ือทบทวน ปรบั ปรงุ แผนการดาํ เนนิ งาน ใหค รอบคลุม 46 คู่มอื มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏบิ ตั ิการด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

6. รายละเอียดขั้นตอนการปฏบิ ัตงิ าน ระยะเตรียมการก่อนเกิดภยั จากสารเคมี 6.1 กําหนดผรู บั ผดิ ชอบ/ กาํ หนดบทบาทหนา ท่ี การกาํ หนดเจา หนา ทผ่ี รู บั ผดิ ชอบทไี่ ดร บั มอบหมาย โดยตอ งเปน ผมู คี วามรทู างดา นสาธารณสขุ หรอื การสขุ าภบิ าล หรอื อนามยั สง่ิ แวดลอ มหรอื ผทู มี่ ปี ระสบการณ อยางนอย 1 ป ในการดําเนินการกรณีประสบภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติตาง ๆ ที่หนวยงานเห็นชอบ ใหด ําเนนิ งาน อาจจดั ตง้ั ในรปู แบบคณะทํางานหรอื บคุ คลผไู ดร บั มอบหมาย เพอื่ กําหนดบทบาทหนา ทที่ ไ่ี ดร บั มอบหมายใหช ดั เจนไมว า จะเปน การเฝา ระวงั และตดิ ตามสถานการณ การจดั เตรยี มและสนบั สนนุ วสั ดุ อปุ กรณ งบประมาณ และเจาหนา ท่ีปฏบิ ัติการสาํ หรับสนับสนนุ การดาํ เนนิ งานดานสขุ าภบิ าล สุขอนามยั และอนามัย ส่ิงแวดลอ ม รวมถึงการสนับสนนุ องคความรวู ิชาการท่เี กี่ยวของ เปนตน ทงั้ น้ี เจา หนา ทผี่ รู บั ผดิ ชอบทไ่ี ดร บั มอบหมายจําเปน ตอ งไดร บั การเสรมิ สรา งทกั ษะและพฒั นาศกั ยภาพ ดานการสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยส่ิงแวดลอม เชน การจัดการขยะ การจัดการสวม สิ่งปฏิกูล การสขุ าภบิ าลอาหารและนํา้ บรโิ ภค เปน ตน ในภาวะฉกุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ิ ตามบทบาทภารกจิ ทไี่ ดร บั มอบหมาย อยางสมา่ํ เสมอ เพ่ือเปนการเตรียมความพรอมรองรับภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติไดอยางทันทวงทีและ มีประสิทธิภาพ ซ่ึงอาจเปนการจัดการอบรมในหนวยงาน หรือเขารวมรับการอบรมจากหนวยงานภายนอก หรอื การเรยี นรผู า นหลักสตู รทเี่ ก่ยี วของในระบบออนไลน อยางนอ ยปละ 1 ครงั้ โดยตองมหี ลักฐานประกอบ การอบรม เชน รปู ภาพ สรปุ ผล หรอื One page แสดงการเขา รบั การอบรม การฝก ปฏบิ ตั หิ รอื ใบประกาศนยี บตั ร หรอื ใบผา นการอบรม เปน ตน 6.2 จัดทาํ แผนเตรยี มพรอม แผนเผชญิ เหตุ หรอื แผนปฏิบัติการรองรับภาวะฉกุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ิ ตาง ๆ ตามบทบาทหนาท่คี วามรบั ผดิ ชอบ ในการเตรียมความพรอมรองรบั ภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัตติ า ง ๆ หนวยงานตองมีการจัดทาํ แผนเตรียมพรอม แผนเผชิญเหตุ หรือแผนปฏิบัติการรองรับภาวะฉุกเฉินและ ภยั พบิ ตั ติ า ง ๆ ตามบรบิ ทพนื้ ที่ หรอื อาจจดั ทาํ เปน แบบแผนรวมทกุ ประเภทภยั กไ็ ดข นึ้ กบั หนว ยงาน โดยแผน ดังกลาวตองกาํ หนดวิธีการปฏิบัติงาน กระบวนการ ข้ันตอนการทาํ งานของหนวยงาน ซ่ึงจะตองครอบคลุม การปฏบิ ตั กิ ารทงั้ ชว งกอ นเกดิ ภยั ระหวา งเกดิ ภยั และระยะฟน ฟหู ลงั เกดิ ภยั ครอบคลมุ ดา นการบรหิ ารจดั การ กาํ ลังคน งบประมาณ ส่ิงของและวัสดุ อุปกรณตาง ๆ รวมถึงการประสานงาน การบูรณาการการทาํ งาน รวมกัน ตามบทบาทภารกิจของแตละทีมท่ีชัดเจน โดยแผนดังกลาวหนวยงานสามารถทบทวนปรับปรุง เปนระยะ เพ่ือจัดการแกไข ลดปญหาหรืออุปสรรค และปดชองวางในขณะปฏิบัติงาน รวมถึงหลีกเล่ียง ความซํ้าซอนและขอจํากัดในการปฏบิ ตั ิหนาที่ เพื่อตอบโตสถานการณใ หพ น้ื ทแ่ี ละประชาชนไดรบั ผลกระทบ นอ ยที่สุด 6.3 ซอมแผนเผชิญเหตุสําหรับหนวยงาน และแผนปฏิบัติการรองรับกรณีภัยจากสารเคมี การเตรียมความพรอมในการปองกัน และลดความสูญเสียที่อาจจะเกิดข้ึนจากภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ โดยกําหนดใหม กี ารฝก ซอ มแผนตอบโตร องรบั ภาวะฉกุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ิ หรอื ฝก ซอ มตามแผนรว มกบั หนว ยงาน สาธารณสขุ จังหวัด หรอื หนว ยงานอนื่ เพอ่ื ใหเจาหนา ทท่ี เี่ กย่ี วของเขา ใจหลกั การ ขนั้ ตอน และวธิ ีการปฏิบตั ิ สามารถจดั การสาธารณภัยไดอ ยา งทันทวงที โดยมขี ัน้ ตอน ดังน้ี 47ค่มู อื มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏิบัติการดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

1) การเตรียมการ โดยแจงเวียน ประชาสัมพันธแผนปองกันและบรรเทาสาธารณภัย หรือแผนตอบโตรองรับภาวะฉกุ เฉนิ และภัยพบิ ตั ิทน่ี าํ มาใชใ นหนว ยงาน พรอ มจดั ทาํ คาํ ส่ังแตง ต้ังคณะทํางาน หรอื ทมี งานซอ มแผน โดยกาํ หนดบทบาทหนา ทใ่ี นการดาํ เนนิ งานทชี่ ดั เจนและงบประมาณสาํ หรบั การฝก ซอ มแผน 2) ประชุมเตรียมความพรอ มและชแ้ี จงภารกิจของเจา หนาท่ที ่ีไดร บั มอบหมายตามแผนที่ กาํ หนดเพอ่ื ใหท ราบบทบาทของตนเอง และกลไกการปฏิบตั ิงานในขณะเกิดภาวะฉุกเฉนิ และภยั พิบตั ิ 3) ฝก ซอ มขน้ั ตน เปน การทดลองซอ มวางแผน อาํ นวยการ ควบคมุ สง่ั การและประสานงาน หนวยงานอน่ื ตามแผน โดยใชเ หตุการณส มมตุ ิเปน กรณีศกึ ษา หลงั จากน้ันจะเปนการประเมนิ ผลการทดสอบ ภาคทฤษฎีเบอื้ งตนกอ น 4) ฝกซอมแผนจริง โดยเลือกรูปแบบการซอมแผนตามบริบท ความเหมาะสมภายใต ขอจํากัดของทรัพยากรบุคคล งบประมาณ ระยะเวลา ซ่ึงรูปแบบการฝกซอมแผนมีหลายรูปแบบ เชน การซอ มแผนบนโตะ (Tabletop Exercise) การซอ มแผนเฉพาะหนา ที่ (Functional Exercise) การซอ มแผน เต็มรูป (Full Scale Exercise) เปนตน 5) การบูรณาการและซอมแผนรวมกับหนวยงานอื่น โดยการเชิญหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนที่เก่ียวของรวมซอมแผนตามบทบาทหนาท่ีในขณะเกิดภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ เปนการสรางความเขาใจรวมกัน ซง่ึ ในภายหลังการซอ มแผน สามารถจดั ทําเปน เอกสารหรอื วดิ ที ศั นประกอบ การฝกซอม เพ่ือผูที่เกี่ยวของไดรับทราบข้ันตอนการเตรียมความพรอม และการปฏิบัติท้ังกอนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และหลังจากท่ภี ัยผา นพน ไปแลว 6.4 จดั ทาํ รายการวสั ดุ อปุ กรณท เ่ี หมาะสมทใ่ี ชส าํ หรบั สนบั สนนุ และใหก ารชว ยเหลอื ผปู ระสบภยั ตามประเภทภัย เจาหนา ทปี่ ฏบิ ตั ิการทีม OP หรอื ผรู ับผิดชอบทีไ่ ดรับมอบหมายจดั ทาํ รายการวสั ดอุ ปุ กรณ รองรบั สถานการณภ ยั จากสารเคมหี รอื ภยั อนื่ ๆ ในพนื้ ท่ี และประสานทมี Logistic เพอื่ สํารวจ และตรวจสอบ ขอมูลการจัดเก็บ หรือขอมูล Stock ส่ิงของในคลังพัสดุของหนวยงานท่ีสามารถนาํ ไปใช เพื่อการสนับสนุน กรณเี กดิ ภยั จากสารเคมี ประกอบดว ย หนา กากปอ งกนั อนั ตรายจากสารเคมี ถงุ ดาํ สําหรบั บรรจมุ ลู ฝอย น้ําดมื่ บรรจุขวด เปนตน และเตรียมความพรอมเคร่ืองมือตรวจวัดทางวิทยาศาสตรสําหรับลงพื้นท่ีโดยตองหมั่น ตรวจสอบ วเิ คราะหค วามตอ งการ ความเพยี งพอ ความจาํ เปน ในการใชง านอายกุ ารใชง าน เพอื่ เตรยี มความพรอ ม อยูเสมอ 48 คมู่ อื มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏิบัตกิ ารด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

ตารางแสดงรายการเครื่องมอื ตรวจวัดคณุ ภาพอากาศ เพอื่ เฝาระวังความเสย่ี งสขุ ภาพของประชาชน กรณีภัยจากสารเคมี วธิ ีการตรวจวัด เคร่ืองมือตรวจวัดคณุ ภาพอากาศ พารามเิ ตอรท์ ต่ี รวจวดั ได้ ของกรมอนามัย 1.การตรวจวดั Total VOCs แบบอา นคา ไดท นั ที 1. เครื่องตรวจวัดสารอนิ ทรียร ะเหย (Direct Reading) แบบรวม เครื่องมือมีทั้งแบบหัววัดเดี่ยวและหลายหัววัดชนิด Electrochemical Sensor โดยพารามเิ ตอรข น้ึ อยู 2. เครือ่ งมอื ตรวจวัด Gas Detector กบั หวั วัดกา ซภายในเคร่ือง เชน 1. Oxygen (O2) 2. Combustible gases (LEL) 3. Carbon monoxide (CO) 4. Carbon dioxide (CO2) 5. Hydrogen sulfide (H2S) 6. Phosphine (PH3) 7. Sulfur oxide (SO2) 8. Nitrogen dioxide (NO2) 9. Chlorine (Cl2) 10. Chlorine dioxide (ClO2) 11. Ammonia (NH3) 12. Hydrogen cyanide (HCN) 13. Ozone (O3) 14. Volatile organic compounds (VOC) 3. เครื่อง GC portable เ ค รื่ อ ง มื อ ใช เ ท ค นิ ค แ ก ส โ ค ร ม า โ ต ก ร า ฟ (Gas Chromatography) เปนหัววัดชนิด Photoionization ขนาด 10.6 eV สามารถ วิเคราะหไ ดทง้ั สารอินทรยี ร ะเหยงายรวม (TVOCs) และวิเคราะหชนดิ และปรมิ าณสาร เชน 1. Acetone 2. Acrolein 3. Benzene 4. Butadiene 5. Butyl acetate 6. Carbon disulfide 7. Cyclohexane 8. Dichloroethane 9. Ethylbenzene 10. Ethylene oxide 11. Heptane 49ค่มู อื มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏบิ ัตกิ ารดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

วิธีการตรวจวัด เคร่ืองมอื ตรวจวัดคุณภาพอากาศ พารามเิ ตอร์ทตี่ รวจวัดได้ ของกรมอนามัย 2. การตรวจวัด 12. Hexane ดว ยวิธีมาตรฐาน 13. Isobutylene 14. Isopropanol 15. Methyl acrylate 16. Methyl bromide 17. Phosphine 18. Propylene oxide 19. Styrene 20. Tetrachloroethylene 21. Tetrahydrofuran 22. Toluene 23. Trichloroethylene 24. Vinyl chloride 25. Xylene 26. Butanone 27. Butyl acrylate 28. Chlorobenzene 29. Epichlorohydrin 30. Ethyl acetate 31. Ethyl acrylate 32. Acetaldehyde 33. Dibromoethane 34. Dioxane ก า ร เ ก็ บ ตั ว อ ย า ง ส า ร เ ค มี โ ด ย ใช พารามเิ ตอรแ ละวธิ กี ารเกบ็ ตวั อยา งเปน ไปตามประกาศ Personal Pump เพื่อสงตรวจวัดทาง กรมควบคุมมลพษิ เร่อื ง กาํ หนดคาเฝา ระวังสําหรับ หองปฏิบัติการ สารอนิ ทรยี ร ะเหยงา ยในบรรยากาศโดยทว่ั ไปในเวลา 24 ชั่วโมง พ.ศ. 2551 6.5 รวมจัดทาํ ฐานขอมูลพ้ืนฐานเกี่ยวกับโรงงานสารเคมีในพื้นท่ี และจัดทาํ เนียบผูเช่ียวชาญ หนวยงานที่เกย่ี วของ พรอ มชองทางการตดิ ตอ เจา หนาทีผ่ ูร บั ผิดชอบท่ีไดร ับมอบหมายประสานหนวยงาน และคณะทํางานท่ีเกี่ยวของ เพื่อรวมสํารวจและรวบรวมขอมูล เพ่ือจัดทําฐานขอมูลโรงงานสารเคมีในพื้นที่ ท่ีเคยประสบเหตุภัยจากสารเคมี พ้ืนที่เสี่ยง และประเมินประชาชนกลุมเส่ียง กลุมเปราะบาง เปนตน เพอื่ เตรยี มพรอ มใหก ารชวยเหลอื หากเกดิ เหตุ รวมถงึ จดั ทําระเบยี นหรือทาํ เนียบผูเช่ยี วชาญ หนวยงานภาคี เครือขายท่ีเกี่ยวของ ซงึ่ แสดงรายชือ่ หนวยงาน ผูประสานงาน เบอรโ ทรศัพทห รอื ชอ งทางติดตอประสานงาน ในภาวะฉกุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ิ โดยมกี ารแจง เวยี นเพอื่ ทราบในหนว ยงานและตดิ แสดงไวใ นทเ่ี หน็ เดน ชดั ทส่ี ามารถ คนขอมูลไดอยางรวดเร็วทันเหตุการณ ทั้งนี้ ควรทบทวนและปรับปรุงขอมูลตาง ๆ อยางนอยปละ 1 ครั้ง เพื่อความเปน ปจ จุบนั และตดิ ตอไดท นั ทีเมอ่ื เกดิ ภาวะฉุกเฉนิ และภัยพิบตั ิ 50 คู่มือมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกิจปฏิบัติการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

ระยะเกิดภยั จากสารเคมี 6.6 ประสานงาน ติดตามสถานการณเบอ้ื งตน จากทมี SAT หรือหนว ยงานท่ีเกีย่ วขอ งและจดั ทํา ขอ มลู สถานการณเ พอื่ รายงานประธานทมี ปฏบิ ตั กิ าร OP ในการปฏบิ ตั หิ นา ทเ่ี พอื่ เขา ชว ยเหลอื ประชาชนที่ ประสบภัย ทีมปฏิบัติการจาํ เปนตองรับขอมูลและดําเนินการรวมกับทีมคณะทํางานอื่น ๆ เชน ทีมตระหนักรูสถานการณ (SAT) เพื่อใชเปนขอมูลสาํ หรับประเมินสถานการณเบ่ืองตน เชน ขอมูลพ้ืนท่ี ประสบภยั จํานวนและทตี่ งั้ ศนู ยพ กั พงิ ชว่ั คราว จํานวนประชาชนทตี่ อ งการความชว ยเหลอื เปน ตน และรายงาน ประธานทีมปฏิบัติการ เพื่อใชเปนขอมูลในการเตรียมความพรอมวัสดุ อุปกรณ เคร่ืองมือวิทยาศาสตร ดานอนามัยส่งิ แวดลอ ม และวางแผนเตรียมความพรอ มลงสนับสนุนพื้นท่ีเกิดเหตุ 6.7 ประสาน Logistic เพอ่ื จดั เตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ สงิ่ สนบั สนนุ ในการลงพน้ื ท่ี กอ นลงพน้ื ทส่ี นบั สนนุ พน้ื ทเี่ กดิ เหตุ ทมี ปฏบิ ตั กิ ารจะตอ งเตรยี มความพรอ มวสั ดุ อปุ กรณ สง่ิ สนบั สนนุ ตา ง ๆ ทจี่ ําเปน ไดแ ก หนา กาก ปอ งกนั อนั ตรายจากสารเคมี รวมถงึ เครอื่ งมอื วทิ ยาศาสตรด า นอนามยั สง่ิ แวดลอ ม เชน เครอ่ื งมอื ตรวจวดั คณุ ภาพ อากาศ เคร่อื งมือตรวจเฝา ระวงั ดา นสขุ าภบิ าลอาหารและนํ้าใหเ พยี งพอ เปนตน 6.8 ลงพื้นท่ีเขาชวยเหลือประชาชนดวยการประเมินความเสี่ยง/ เฝาระวังผลกระทบท่ีเกิดขึ้น กอนดาํ เนินการลงพ้ืนที่ทีมปฏิบัติการตองประเมินความปลอดภัยของพ้ืนท่ีกอนลงปฏิบัติการเขาชวยเหลือ ประชาชนท่ีประสบภัยและไดรับผลกระทบทุกคร้ัง เพ่ือความปลอดภัยของเจาหนาที่ โดยเมื่อเกิดภัยจาก สารเคมี จะมกี ารกาํ หนดเขตควบคมุ อนั ตรายจากสารเคมี (Control Zones) เพอ่ื ใหเ กดิ ระบบการบรหิ ารจดั การ อยา งเปนระบบ ซึ่งจะแบงเปน 3 สวน ตามปรมิ าณสารเคมอี นั ตรายท่มี อี ยู ดังน้ี ตารางแสดงเขตควบคุมอนั ตรายจากสารเคมี (Control Zones) เขตควบคมุ บริเวณพ้ื นที่ Hot Zone มกี ารปนเปอ นสงู สดุ และเปน บรเิ วณทมี่ อี นั ตรายยง่ิ ไดแ ก บรเิ วณศนู ยก ลาง Warm Zone ของเหตุการณ หรือสถานท่ีเกิดเหตกุ ารณ บรเิ วณถดั ออกมา อาจไกลจาก Hot Zone เปนกิโลเมตร หรอื ใกลมากกไ็ ด Cold Zone เปนเขตพ้ืนท่ีท่ีมีการปนเปอนสารเคมีในทางปฏิบัติจะมีการกาํ หนด เสนคั่นไว และเปนท่ีรูกันของทีมปฏิบัติการท้ังหมด บริเวณนี้เปนบริเวณ ลดการปนเปอนท้ังคน อุปกรณ และเครื่องมือ โดยจะมีจุดลางตัวผูปวย ลา งเครอ่ื งมอื ลา งตวั ผเู ขา ชว ยเหลอื ถอดชดุ ทปี่ นเปอ นออกเรยี กวา เปน บรเิ วณ ลดความปนเปอ น (Contamination reduction zone) ไมมีการปนเปอนโดยเด็ดขาด เปนบริเวณปลอดภัยไมจาํ เปนตองใช เคร่อื งมือปอ งกนั ตนเองใด ๆ ในบริเวณนี้ ทีม่ า : คมู อื การเตรียมตวามพรอ มและตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข กรณีอบุ ัตภิ ยั สารเคม,ี กรมควบคุมโรค คู่มอื มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) 51 ของทมี ภารกจิ ปฏบิ ัติการดา้ นอนามยั สิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

เส้นแบง่ เขตอันตราย ทิศทางลม เขตควบคมุ เส้นกาํ หนดจุดสัมผสั บริเวณปนเป้ อื น สารเคมี สารเคมจี ุดเกดิ เหตุ จุดปฏบิ ตั กิ าร ดา้ นรกั ษาพยาบาล เจา้ หนา้ ที่ชาํ ระล้างสารเคมี เขตอนั ตราย เขตสัมผัสสารเคมี เขตสนับสนนุ Hot zone Warm zone Cold zone รปู ท่ี 6 ตวั อยางแผนผงั การกําหนดเขตควบคมุ อันตรายจากสารเคมี (Control Zones) ในการลงพื้นท่ีชวยเหลือประชาชน ทีมภารกิจปฏิบัติการ (Operation) ดานอนามัยสิ่งแวดลอม และสง เสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามยั จะลงพนื้ ทป่ี ฏบิ ตั งิ านในเขตสนบั สนนุ (Cold zone) โดยปฏบิ ตั งิ านทงั้ ในชมุ ชน และในศูนยพักพิงชวั่ คราว โดยในการลงพื้นที่ปฏบิ ตั กิ ารตอ งดาํ เนนิ การ ดงั นี้ 1) คาดการณและประเมินความเส่ียงผลกระทบตอสุขภาพประชาชนจากสารมลพิษที่เกิดข้ึน โดยใชโปรแกรมคาดการณและประเมินความเสี่ยงจากสารเคมี เชน ALOHA WISER และโปรแกรมอื่น ๆ ติดตามขอมูลชนิดของสารเคมีเสี่ยงท่ีเกิดข้ึนและอาจสงผลกระทบตอสุขภาพประชาชนจากหนวยงานตาง ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ งโดยตรง เชน กรมควบคมุ มลพิษ หรอื พจิ ารณาจากประเภทของสารเคมที ี่ใชใ นสถานประกอบการ หรือโรงงานที่เกิดเหตุ เพ่ือนํามาพิจารณาคาดการณและประเมินความเสี่ยงผลกระทบตอสุขภาพประชาชน ทอี่ ยูบ ริเวณใกลเคยี ง 2) สนบั สนนุ สงิ่ ของสําหรบั ปอ งกนั ตนเองเบอื้ งตน เชน หนา กากปอ งกนั อนั ตรายจากสารเคมี เปน ตน 3) สอื่ สาร สรา งการรบั รดู า นอนามยั สง่ิ แวดลอ มและสง เสรมิ สขุ ภาพทกุ กลมุ วยั ในการดแู ลสขุ ภาพ และปอ งกนั ตนเองเบื้องตนใหป ลอดภัย โดยเฉพาะกลุมเสี่ยงหรอื กลมุ เปราะบาง เชน ผูส งู อายุ หญงิ ตัง้ ครรภ และเดก็ เปนตน 4) รวบรวม วิเคราะห และสรุปผลการดาํ เนนิ งานตามบทบาทภารกิจของทีมปฏบิ ัติการ และจดั ทาํ รายงานเสนอผูบ ริหาร รวมทง้ั เสนอรายละเอียดตอท่ีประชมุ EOC กรณีทีส่ ถานการณมคี วามรนุ แรงและมีการเปดศนู ยพ ักพงิ ชั่วคราว กรณีท่ีสถานการณมีความรุนแรงถึงขั้นมีการเปดศูนยพักพิงชั่วคราว เพ่ืออพยพประชาชนท่ีไดรับ ผลกระทบออกจากพ้ืนที่ชั่วคราว ทีมปฏิบัติการตองดาํ เนินการตรวจประเมินดานสุขาภิบาลและอนามัย สิ่งแวดลอ มในศนู ยพกั พงิ ชัว่ คราวเพ่มิ เตมิ ดงั นี้ 1) สํารวจความเหมาะสมของสถานทตี่ งั้ ศนู ยพ กั พงิ ชวั่ คราวใหม รี ะยะหา งทเ่ี พยี งพอ โดยตง้ั อยบู รเิ วณ เหนอื ลม และเปนจดุ ทไ่ี มไดร บั ผลกระทบจากมลพษิ อากาศท่เี กิดข้ึน 2) ตรวจวดั มลพษิ อากาศทเี่ กดิ ขน้ึ เพอ่ื เฝา ระวงั มลพษิ อากาศบรเิ วณศนู ยพ กั พงิ ชว่ั คราว โดยตดิ ตาม ขอ มลู ชนดิ ของสารเคมเี สย่ี งทเ่ี กดิ ขนึ้ และอาจสง ผลกระทบตอ สขุ ภาพประชาชนจากหนว ยงานตา ง ๆ ทเี่ กยี่ วขอ ง เชน กรมควบคมุ มลพษิ หรอื พจิ ารณาจากประเภทของสารเคมที ใี่ ชใ นสถานประกอบการ หรอื โรงงานทเี่ กดิ เหตุ เปนตน 3) ประเมินการจัดการสวม โดยพิจารณาความเพียงพอของสวม ใหเหมาะกับจํานวนผูอพยพและ ประสานทองถนิ่ ใหดาํ เนนิ การสูบสง่ิ ปฏกิ ูลไปกําจดั ตามกําหนด 52 คู่มือมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏิบัติการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

4)จดั ใหม ถี งั ขยะแบบแยกประเภทมฝี าปด มดิ ชดิ ใหเ พยี งพอและประสานทอ งถน่ิ เกบ็ ขนไปกําจดั ทกุ วนั 5) กรณที ีม่ ีการจดั เตรียมอาหารและน้ํา เพือ่ แจกจา ยใหกับผปู ระสบภัย ทมี ปฏบิ ัตกิ ารควรมีการสมุ ตรวจการปนเปอ นของเชอื้ โรคในนํา้ อุปโภคบรโิ ภค และอาหาร 6) ตรวจปริมาณคลอรีนอิสระคงเหลือในนาํ้ อุปโภคที่ใชในศูนยพักพิงช่ัวคราวใหไดมาตรฐาน และมกี ารตรวจเฝา ระวังความเสี่ยงคุณภาพน้าํ ท้ิงอยางตอเน่อื ง 7) ประเมินสภาพแวดลอมทั่วไป เชน จาํ นวนผูอพยพไมควรหนาแนน จัดใหมีการระบายอากาศ ที่ดี มีความสวางเพยี งพอ และจัดสถานที่ใหมคี วามปลอดภยั ทางสขุ ภาพ เปน ตน 8) แนะนําใหมีการคัดกรองผูอพยพตามสถานะสุขภาพ เพื่อการวางแผนเพื่อใหการชวยเหลือ อยา งทนั ทวงที 9) ประสานความรวมมือหนวยงานที่เกี่ยวของรวมลงพื้นท่ี เชน กรมสุขภาพจิต หนวยงานภาค สาธารณสขุ ในพ้นื ท่ี เปนตน 10) รวบรวม วเิ คราะห และสรุปผลการดําเนินงานตามบทบาทภารกิจของทีมปฏิบตั กิ าร และจัด ทาํ รายงานเสนอผบู รหิ าร รวมท้ังเสนอรายละเอียดตอท่ปี ระชุม EOC ระยะฟ้ นื ฟูหลังเกิดภยั จากสารเคมี 6.9 ประสานทีม SAT หรือหนวยงานท่ีเกี่ยวของ เพ่ือติดตามขอมูลสถานการณในพ้ืนท่ี หลงั เกดิ เหตุ ภายหลงั สถานการณด ขี นึ้ และเรม่ิ เขา สภู าวะปกติ ทมี ปฏบิ ตั กิ ารตอ งดําเนนิ การประสานทมี SAT หรือหนวยงานท่ีเก่ียวของ เพื่อสาํ รวจและรวบรวมขอมูลพื้นที่ท่ีไดรับผลกระทบ รวมถึงประชาชนท่ีไดรับ ผลกระทบทั้งดานทรัพยสิน และผลกระทบดานสุขภาพท่ีเกี่ยวของ เชน ขอมูลการเขารับการรักษา ในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ในพนื้ ที่ เปน ตน 6.10 ประสานหนว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ ง รวมถงึ เครอื ขา ยเฝา ระวงั สขุ ภาพและสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ในพน้ื ที่ เพอ่ื ตดิ ตามความเสยี่ งสขุ ภาพของประชาชน ทมี ปฏบิ ตั กิ ารดําเนนิ การประสานหนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง เชน กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ ม กรมควบคมุ โรค กรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทย กรมสขุ ภาพจติ และเครอื ขา ยเฝา ระวงั สุขภาพและสถานบริการสาธารณสขุ ในพ้ืนท่ี เชน โรงพยาบาล หรือ รพ.สต. เปนตน เพอ่ื วางแผนตดิ ตามและเฝา ระวงั ความเสย่ี งสขุ ภาพของประชาชนในพนื้ ทป่ี ระสบภยั เพอื่ ใหม นั ใจวา ประชาชน ไมไ ดร บั ผลกระทบตอ สขุ ภาพตามมาในภายหลงั หรอื ในกรณที ไ่ี ดร บั ผลสามารถเขา ถงึ สถานบรกิ ารสาธารณสขุ ไดอยางทันทวงที 6.11 ลงพ้ืนที่เฝาระวังดานอนามัยส่ิงแวดลอม โดยทีมปฏิบัติการลงพื้นที่เฝาระวังดานอนามัย สงิ่ แวดลอ มทเี่ กยี่ วขอ ง เชน การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศ เพอื่ เฝา ระวงั ความเสย่ี งและผลกระทบตอ สขุ ภาพของ ประชาชนจากมลพิษทเ่ี กิดขน้ึ การเฝาระวังดา นสขุ าภบิ าลอาหารและนา้ํ ในพ้นื ท่ี รวมถึงบทบาทหนาท่ีอื่น ๆ ตามทไ่ี ดรับมอบหมาย เปนตน 6.12 ติดตาม สรุป และจัดทํารายงานผลการดาํ เนินงาน ภายหลังสถานการณเขาสูภาวะปกติ ทีมปฏิบัติการตองจัดทําขอมูลผลการดาํ เนินงานภาพรวมของทีมปฏิบัติการตามบทบาทหนาท่ี ทั้ง 2 ระยะ ไดแ ก ระยะเกดิ ภยั และระยะฟน ฟหู ลงั เกดิ ภยั เพอ่ื เสนอรายละเอยี ดตอ ผบู รหิ ารและทปี่ ระชมุ EOC เพอ่ื ทราบ 6.13 ถอดบทเรยี น (AAR) การดําเนนิ งาน เพื่อทบทวนแผนปฏบิ ัติการรองรับภยั จากสารเคมี ภายหลังสถานการณเขาสูภาวะปกติ ใหมีการถอดบทเรียนการดําเนินงานหลังเกิดภัย อาจเปนรูปแบบของ การจดั ประชมุ รว มกนั เพอ่ื วเิ คราะหข อ มลู ปญ หาทพี่ บ และขอ เสนอแนะตอ การดาํ เนนิ งาน โดยขอ มลู ดงั กลา ว อาจใชป ระกอบการปรบั ปรงุ แผนการดําเนนิ งาน เพอื่ ใหม คี วามครอบคลมุ และลดชอ งวา งการดาํ เนนิ งานรองรบั ภาวะฉุกเฉนิ กรณีภัยจากสารเคมีท่อี าจจะเกดิ ขึ้นในอนาคตได 53คมู่ อื มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏบิ ตั กิ ารด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน ชอื่ กระบวนงาน ประเภท สําหรบั ทีม Operation การจดั การอนามยั สงิ่ แวดลอ มและสง เสรมิ สขุ ภาพ ภัยจากไฟไหมบ อขยะ ดา นอนามยั ส่ิงแวดลอ ม วันทีเ่ ริม่ ใช 15 ก.พ. 2566 และสง เสริมสุขภาพ รองรบั ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ผจู ัดทํา จาํ นวน 12 หนา สาํ นกั อนามัยสิ่งแวดลอ ม ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข (Public Health Emergency) หมายถึง เหตกุ ารณท กี่ อ ใหเกดิ โรค และภยั คกุ คามสขุ ภาพ ซงึ่ ถอื เปน สาธารณภยั ประเภททกี่ อ ใหเ กดิ อนั ตรายตอ ชวี ติ สรา งความเสยี หายตอ ทรพั ยส นิ ประชาชนและเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม โดยมีลักษณะทาํ ใหเกิดผลกระทบทางสุขภาพอยางรุนแรง เปน เหตุการณทผี่ ิดปกตหิ รอื ไมเ คยพบมากอน มโี อกาสทีจ่ ะแพรไ ปสูพืน้ ที่อ่ืน และตองจาํ กดั การเคลอื่ นทข่ี อง ผคู นหรอื สนิ คา ตวั อยา งภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ เชน อทุ กภยั ดนิ โคลนถลม สนึ ามิ หมอกควนั ฝนุ ละออง ขนาดเล็ก ภัยจากสารเคมีและกัมมันตรงั สี เปน ตน ไฟไหมบ อ ขยะ เปน ภยั พบิ ตั ปิ ระเภทหนงึ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ และสง ผลกระทบตอ สขุ ภาพประชาชนจากสารเคมี หรอื ควนั พษิ ทม่ี าจากไฟไหม โดยลกั ษณะการเกดิ ไฟไหมอ าจมสี าเหตมุ าจากธรรมชาติ และเกดิ จากการกระทาํ ของคน ซ่ึงสามารถเกิดไดท้ังบริเวณพื้นผิวและสวนลึกลงไปของกองขยะ นอกจากน้ี ประเภทของบอขยะ เปน ปจ จัยหนึ่งทท่ี ําใหเ กดิ ไฟไหมไดเ ชน กัน เชน บอ ฝง กลบขยะแบบถกู หลักสุขาภบิ าล (Sanitary Landfill) ท่ีมีมาตรการในการควบคุมปองกันผลกระทบทางส่ิงแวดลอมอยางถูกตอง หรือบอขยะแบบเทกองบนพื้น (Open dumping) ซึ่งไมมีมาตรการในการควบคุมกาํ กับมลพิษที่ออกจากบอขยะที่ไดมาตรฐาน และมีการเขาไปในพื้นทไ่ี ด ดงั นนั้ เพอื่ ใหก ารปฏบิ ตั งิ านดา นการสง เสรมิ สขุ ภาพและการจดั การสขุ าภบิ าล สขุ อนามยั และอนามยั ส่ิงแวดลอมภายใตสถานการณการเกิดไฟไหมบอขยะไดอยางเปนระบบ หนวยงานรับผิดชอบมีรูปแบบ กระบวนการดาํ เนนิ การทชี่ ดั เจนเปน ไปในทศิ ทางเดยี วกนั จงึ กําหนดใหม มี าตรฐานการจดั การอนามยั สง่ิ แวดลอ ม และสง เสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ (Standard Operating Procedure : SOP) สําหรบั เจาหนา ท่ใี ชเปน แนวทางในการปฏบิ ตั กิ ารในชว งเกิดสถานการณไฟไหมบ อขยะทเี่ ปนรปู ธรรม 1. วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานขอทีมปฏิบัติการดานอนามัยสิ่งแวดลอมและสงเสริมสุขภาพ สําหรบั กรณภี ยั พบิ ตั จิ ากไฟไหมบ อ ขยะ สามารถลดความเสย่ี งและผลกระทบตอ สขุ ภาพประชาชนทปี่ ระสบภยั 2. ขอบเขต เปนกรอบการดําเนินงานดานการจัดการสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยสิ่งแวดลอม รวมท้ัง การสงเสริมสุขภาพภายใตสถานการณไฟไหมบอขยะ เพ่ือใหเจาหนาที่ท่ีมีภารกิจการดําเนินงานดานอนามัย สิ่งแวดลอมและสงเสริมสุขภาพ สามารถใชเปนแนวทางในการเตรียมความพรอมรับมือกับไฟไหมบอขยะ โดยกระบวนการปฏิบัติงานเริ่มต้ังแต การเตรียมการกอนเกิดภัย ระหวางเกิดภัย ระยะฟนฟูหลังเกิดภัย เพ่อื ประชาชนสามารถกลบั มาใชช ีวติ ไดอยางปลอดภยั ลดความเสย่ี งทางสุขภาพ 54 คมู่ อื มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏิบตั กิ ารดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

3. หน่วยงานทร่ี ับผิดชอบ ทีมภารกิจปฏบิ ัตกิ าร (Operation) ดานอนามัยสง่ิ แวดลอมและสงเสริมสขุ ภาพ กรมอนามัย 4. เอกสารอา้ งองิ 1. กรมควบคุมมลพษิ . คมู ือแนวทางการระงบั เหตุไฟไหมใ นสถานทกี่ ําจัดมูลฝอย, 2555. 2. สาํ นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. แผนปฏิบัติการดานการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ทางการแพทยและสาธารณสุข, 2564. 3. กรมปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั . แผนการปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง ชาติ พ.ศ.2558. ม.ป.ท., 2558. 4. กองสาธารณสุขฉุกเฉิน. คูมือแนวทางปฏิบัติงานทีมภารกิจปฏิบัติการ (Operation) สาํ หรับ การเผชญิ เหตุและฟน ฟูดานการแพทยแ ละสาธารณสขุ ตอโรคและภยั พบิ ัต,ิ 2565 5. สํานักอนามยั สิ่งแวดลอม กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข. คมู อื การจัดการอนามัยสง่ิ แวดลอ ม และสง เสริมสขุ ภาพสําหรบั ศนู ยพักพิงช่วั คราว, 2565. 6. สํานักอนามัยสิ่งแวดลอม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คูมือ SEhRT book สาํ หรับ ทีมปฏบิ ัตกิ ารดา นอนามัยส่ิงแวดลอ ม, 2565. 7. World Health Organization. International Health Regulation: IHR. 2005. 8. World Health Organization. Sendai Framework for Disaster Risk Reduction 2015 – 2030. 5. แผนผังแนวทางการทาํ งานรบั มอื ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข : ภัยจากไฟไหมบ้ อ่ ขยะ มาตรฐาน หลักฐาน/ ตัวช้วี ัด คณุ ภาพงาน ขนั้ ตอนที่ ผังกระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ การปฏบิ ตั งิ าน ระยะเตรียมการกอ นเกิดภยั จากไฟไหมบ อ ขยะ 1 3 วัน มีการกําหนดผูรับผิดชอบ - มคี าํ สง่ั แตง ตง้ั ผรู บั ผดิ ชอบ - ศนู ยอนามยั และบทบาทหนาที่ที่ไดรับ หรือหนังสือมอบหมาย - หนวยงาน มอบหมาย โดยเจาหนาท่ีที่ ผรู บั ผดิ ชอบทม่ี คี ณุ สมบตั ิ สวนกลาง กาํ หนดผูรับผิดชอบ ตอ งผา นกระบวนการเรยี นรู ตามมาตรฐานคณุ ภาพงาน และแบงบทบาทหนา ท่ี หรือประชุมเชิงปฏิบัติการ - หลักฐานการเขารวม หรือฝกอบรมหลักสูตร ประชุมเชิงปฏิบัติการ ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การจดั การการ การเรยี นรวู ชิ าการ หรอื สขุ าภบิ าล สขุ อนามยั อนามยั รบั การอบรมของเจา หนา ที่ สิ่งแวดลอ ม รอบรับกรณไี ฟ ในหนวยงาน อาจเปน ไหมบอขยะหรือประเด็น อบรมแบบ Onsite หรอื ท่ีเก่ียวของอยางนอยปละ Online 1 ครั้ง หรือมีประสบการณ ก า ร ทํา ง า น ด า น อ น า มั ย สง่ิ แวดลอ ม อยา งนอย 1 ป 55คมู่ อื มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏิบตั ิการดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข

มาตรฐาน หลกั ฐาน/ ตัวชี้วัด คุณภาพงาน ขนั้ ตอนที่ ผงั กระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ 2 จัดทําแผนเตรียมพรอ ม การปฏบิ ตั งิ าน 3 แผนเผชญิ เหตุ หรือแผนปฏิบัติ 5 วัน มีการจัดทาํ แผนเผชิญเหตุ แผนปฏบิ ตั กิ ารทเ่ี กยี่ วกบั - ศูนยอนามัย 4 การรองรบั ภาวะฉกุ เฉิน หรือแผนปฏิบัติการ หรือ การจดั การดา นสขุ าภบิ าล - หนว ยงาน 5 และภยั พบิ ัติตา ง ๆ กิจกรรมดําเนินการรวมกัน สุขอนามัย และอนามัย สวนกลาง ในหนว ยงาน พรอมกําหนด สงิ่ แวดลอ มรองรบั การเกดิ จัดทํารายการวัสดุ อปุ กรณ บทบาท ความรับผิดชอบ ไฟไหมบอขยะหรือเปน ทีเ่ หมาะสมตามประเภทภยั และ กรณีเกิดไฟไหมบ อขยะหรอื ภาพรวม ประสาน Logistic เพือ่ จดั เตรยี ม เปนภาพรวม วสั ดุ อปุ กรณใ หเ พยี งพอ 1 - 3 วนั มีการจัดทาํ รายการวัสดุ มีขอมูล Stock วัสดุ - ศนู ยอนามยั อุปกรณ ชุดตรวจวิเคราะห อุปกรณสนับสนุน ดาน - หนวยงาน ซอ มแผนตอบโตภาวะฉุกเฉิน อยางงาย รองรับกรณีไหม สขุ าภบิ าลสขุ อนามยั และ สว นกลาง และภยั พิบัติตาง ๆ บอขยะ ไดแก เคร่ืองมือ อนามยั สงิ่ แวดลอ มรองรบั วิทยาศาสตร ชุดปองกัน กรณไี ฟไหมบ อ ขยะ พรอ ม (ซอมภายในหนว ยงานหรือซอม อนั ตรายสว นบคุ คล หนา กาก มแี ผนเตรียมพรอมจดั ซือ้ รวมกับหนว ยงานท่เี กีย่ วขอ ง) ปองกันสารเคมี ชุดดูแล เพ่ิมเติม หรือขอรับการ รวมสาํ รวจ รวมรวม และจดั ทาํ สขุ ภาพประชาชน ชดุ ทดสอบ สนบั สนนุ จากสว นกลาง ขอ มลู บอขยะในพ้นื ท่ี วเิ คราะห ชุดเก็บตัวอยางส่ิงแวดลอม พ้นื ทีเ่ สีย่ ง พน้ื ท่ีที่เคยเกดิ ไฟ อยางนอย ปละ 1 คร้ัง ไหมบอขยะ และจดั ทาํ เนียบ และประสานทีม Logistic เพ่ือจัดเตรียม อุปกรณให ผูเชย่ี วชาญ เพยี งพอ หนวยงานที่เกี่ยวขอ ง พรอ มชอ งทางการตดิ ตอ 3 วัน จัดกระบวนการซอมแผน มหี ลกั ฐานกจิ กรรมการซอ ม - ศนู ยอ นามัย ตอบโตภาวะฉุกเฉินและ แผนตอบโตภาวะฉุกเฉิน - หนวยงาน ภัยพิบัติตาง ๆ โดยอาจ แ ล ะ ภั ย พิ บั ติ ต า ง ๆ สว นกลาง กําหนดสถานการณจําลอง โดยอาจซอ มแบบจรงิ หรอื เ พ่ื อ มี ก ล ไ ก ก า ร ทาํ ง า น ซอ มบนโตะก็ได ที่ชัดเจน และควรซอมแผน อยา งนอยปละ 1 คร้ัง 5 วัน มีการประสานหนวยงาน มีขอมูลเบอ้ื งตน ดงั นี้ - ศนู ยอ นามยั และคณะทาํ งานท่ีเกี่ยวของ - ขอมูลพื้นที่เสี่ยง และ - หนวยงาน เพ่อื รว มจดั ทําขอ มลู ไดแ ก พน้ื ทีป่ ระสบภยั พรอ ม สว นกลาง - ฐานขอ มลู บอ ขยะในพน้ื ท่ี ขอมูลกลุมเส่ียง กลุม รับผดิ ชอบ เชน จาํ นวน เปราะบางท่ีอาศัยอยู บอ ขยะสถานทต่ี ง้ั ประเภท โดยรอบพื้นท่ีใกลเคียง ขนาด ขอมูลพ้ืนท่ีเสี่ยง บอ ขยะ ท่ีที่อาจไดรับผลกระทบ - มีทาํ เนียบผูเช่ียวชาญฯ รวมถงึ พน้ื ทที่ เ่ี คยเกดิ ไฟไหม หรอื หนว ยงานทเี่ กยี่ วขอ ง บอ ขยะ เพอ่ื เตรยี มพรอ ม ทงั้ ภาครฐั เอกชน พรอ ม ใหก ารชว ยเหลอื หากเกดิ เหตุ ชอ งทางการตดิ ตอ กรณี ทเ่ี กดิ เหตุ 56 คมู่ ือมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกิจปฏิบัตกิ ารด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

ขนั้ ตอนที่ ผังกระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน หลกั ฐาน/ ตัวชวี้ ดั ผรู้ บั ผดิ ชอบ คุณภาพงาน มาตรฐาน การปฏบิ ตั งิ าน - จดั ทําทําเนยี บผเู ชย่ี วชาญฯ หรอื หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง ทง้ั ภาครัฐ เอกชน พรอม ชองทางการติดตอ และ มีการแจงเวียนเพื่อทราบ ในหนว ยงาน ทงั้ นี้ ควรมี การทบทวนขอ มลู อยา งนอ ย ปละ 1 ครง้ั ระยะเกดิ ภยั จากไฟไหมบอ ขยะ ขณะ มีการประสานงานทีม SAT มีขอมูลเบ้ืองตนเกี่ยวกับ - ศูนยอนามยั เกิดภยั เพอ่ื ตดิ ตามขอ มลู สถานการณ สถานการณไ ฟไหมบ อ ขยะ - หนวยงาน 6 เบื้องตน เพ่ือวิเคราะห เชน พนื้ ทปี่ ระสบภยั / สาร สวนกลาง ประสานงาน ติดตาม สถานการณและเตรยี มความ เคมีหรือมลพิษที่เกิดขึ้น สถานการณเบอ้ื งตน พรอมลงปฏิบัติงาน และ (ขอมูลจากหนวยงานที่มี รายงานสถานการณต อ ประธาน การตรวจวัดคุณภาพ จากทมี SAT หรือหนว ยงาน ทมี ปฏบิ ตั ิการ OP อากาศในพนื้ ท)่ี / จํานวน ท่เี กยี่ วขอ ง และจดั ทําขอ มูล ประชาชนชมุ ชนทต่ี อ งการ สถานการณเ พ่ือรายงานประธาน ทีมปฏบิ ัติการ OP ความชว ยเหลอื /จาํ นวนและ ทต่ี ้ังศนู ยพกั พงิ ชวั่ คราว 7 1 - 3 วัน มีการจัดทาํ รายการวัสดุ มวี สั ดุ อปุ กรณ ชดุ ตรวจ - ศนู ยอ นามัย อปุ กรณชดุ ทดสอบเครอ่ื งมอื เครอ่ื งมอื ทางวทิ ยาศาสตร - หนวยงาน ทางวิทยาศาสตร โดยเนน ที่ ใ ช ใ น ก า ร ล ง พื้ น ที่ สวนกลาง ชุดตรวจมลพิษทางอากาศ ประสบภัย โดยเนน ชุดเก็บตัวอยางนา้ํ ชะขยะ ชดุ ตรวจมลพษิ ทางอากาศ (Leachate) เพ่ือวิเคราะห ท่ีเกิดจากการเผาไหม ทางหองปฏิบัติการและ หรือสารเคมีอื่น เชน ประสาน Logistic เพ่อื จดั เตรียม ส่ิงสนบั สนุนอน่ื ๆ ท่ีตองใช CO, NO2, SO2, HCl, วัสดุ อุปกรณ สง่ิ สนับสนุน ในการลงพน้ื ท่ี เชน หนา กาก ฝุน ละอองขนาดเล็ก และ ในการลงพ้นื ท่ี ปอ งกนั อนั ตรายจากสารเคม/ี มลพษิ อนื่ ๆ และมสี ง่ิ ของ ชุดเฝา ระวงั DOH Test kit สนับสนุนดานสุขาภิบาล รวมถงึ เครอื่ งมอื ตรวจวดั ทาง สุขอนามัย และอนามัย วิทยาศาสตรที่ใชใน การลง สิ่งแวดลอม เพียงพอ พ้ืนท่ี และประสานงานทีม กับผปู ระสบเหตุ Logistic เพ่ือจดั เตรยี ม 8 ข้นึ กบั ระยะ ลงพน้ื ทส่ี นบั สนนุ การดาํ เนนิ การ มีสรุปผลการดําเนินงาน - ศนู ยอ นามัย เกิดภยั ดานสุขาภิบาล สุขอนามัย ประเมินความเส่ียงดาน - หนว ยงาน ลงพน้ื ทสี่ นบั สนนุ การดาํ เนนิ การ และอนามยั สง่ิ แวดลอ ม และ สขุ าภบิ าลสขุ อนามยั และ สว นกลาง ดา นสขุ าภิบาล สขุ อนามัย เขาชวยเหลือประชาชน อ น า มั ย สิ่ ง แ ว ด ล อ ม และอนามยั สง่ิ แวดลอม ที่ประสบภัย และไดรับ ในชุมชนหรือศูนยพักพิง ผลกระทบในชมุ ชน โดยเนน ชวั่ คราว ในพื้นท่ี โ ซ น ป ล อ ด ภั ย ร ว ม ถึ ง 57คูม่ อื มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏบิ ัติการดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

ขนั้ ตอนท่ี ผงั กระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน หลักฐาน/ ตัวชีว้ ดั ผรู้ บั ผดิ ชอบ คณุ ภาพงาน มาตรฐาน การปฏบิ ตั งิ าน คาดการณแ ละประเมิน ศูนยพักพิงช่ัวคราวกรณี ความเสย่ี งผลกระทบตอ สขุ ภาพ ท่ีมีการอพยพประชาชน โดยดําเนินการ ดงั น้ี ประชาชนจากสารมลพิษ 1. เฝาระวังสุขภาพของ มอบสิ่งของจาํ เปน และวัสดุ อปุ กรณป อ งกันตนเองเบือ้ งตน ประชาชนโดยคาดการณ และประเมินความเสี่ยง แกประชาชน ผ ล ก ร ะ ท บ ต อ สุ ข ภ า พ ใหค วามรดู า นอนามยั สงิ่ แวดลอ ม ประชาชนจากสารมลพิษ และสงเสริมสุขภาพทกุ กลมุ วยั ทีเ่ กิดข้นึ ประเมินความเสย่ี ง/ เฝา ระวัง 2. สนบั สนนุ สง่ิ ของจําเปน และ วสั ดุอปุ กรณป อ งกนั ตนเอง สขุ าภบิ าล สขุ อนามยั และ เบื้องตน ใหก ับประชาชน อนามัยสง่ิ แวดลอ ม ท่ปี ระสบภัย 3. ส่ือสาร สรางการรับรูใน ชุมชนท่ไี ดร บั ศนู ยพกั พิง การดูแลสุขภาพเบ้ืองตน ผลกระทบ ชั่วคราว สําหรับผูประสบภัย โดย เฉพาะกลุมเสี่ยงหรือกลุม ตรวจวดั คณุ ภาพ 1. ตรวจวัด เปราะบาง เชน ผูสูงอายุ อากาศ/ คณุ ภาพอากาศ/ หญงิ ตงั้ ครรภ และเดก็ เลก็ ระดบั มลพษิ จาก 4. ประเมนิ ความเสย่ี ง/เฝา ระวงั ระดบั มลพษิ จาก ไฟไหมบอขยะ สุขาภิบาล สุขอนามัย ไฟไหมบอขยะ และอนามัยสิ่งแวดลอม ในชุมชนและศูนยพักพิง ตรวจวดั 2. ประเมนิ การ ชั่วคราว การปนเปอ น จัดการสว ม/ สารพษิ ใน สิง่ ปฏิกูล/ 4.1 กรณสี ถานการณ ไมรุนแรง ทีมปฏิบัติการ แหลงนํ้า มูลฝอย ลงพน้ื ทปี่ ฏบิ ตั กิ ารในชมุ ชน สาธารณะ ท่ีเพียงพอ โดยดาํ เนินการดังน้ี - รว มตรวจวดั เพอ่ื เฝา ระวงั 3. เฝา ระวัง คณุ ภาพอาหาร มลพษิ อากาศทเ่ี กดิ จาก และนา้ํ บรโิ ภค ไฟไหมบ อ ขยะ เชน CO, NO2, SO2, HCl, ฝนุ ละอองขนาดเลก็ และ มลพิษอ่นื ๆ - เฝา ระวงั การปนเปอ นของ น้ํา ช ะ ล า ง ข ย ะ ล ง สู แ ห ล ง น้ํา ส า ธ า ร ณ ะ โดยการสมุ ตรวจคณุ ภาพ นํา้ ในบรเิ วณทอ่ี าจไดร บั ผลกระทบ 58 คู่มอื มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏบิ ตั กิ ารดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

ขน้ั ตอนที่ ผังกระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน หลักฐาน/ ตัวชี้วัด ผรู้ บั ผดิ ชอบ คุณภาพงาน มาตรฐาน 4. ตรวจประเมนิ คณุ ภาพน้าํ ทง้ิ การปฏบิ ตั งิ าน จากศนู ยพ ักพงิ 4.2 กรณีท่ีมีการเปด ชัว่ คราว ศนู ยพ กั พงิ ชวั่ คราวในพน้ื ที่ ใหเปน ไปตาม ที ม ป ฏิ บั ติ ก า ร ต อ ง มาตรฐาน ดําเนินการตรวจประเมิน 5. ประเมิน ดา นสขุ าภบิ าลและอนามยั สภาพแวดลอ ม สิ่งแวดลอมในศูนยพักพิง ทั่วไป เชน ชวั่ คราวเชน สว มขยะอาหาร ความแออัด และนํา้ สภาพแวดลอ มทวั่ ไป การระบายอากาศ ท้ังนี้ควรมีการตรวจวัด ความสวาง เพอ่ื เฝา ระวงั มลพษิ อากาศ ความปลอดภัย ที่เกิดจากไฟไหมบอขยะ ทางสขุ ภาพ บรเิ วณศนู ยพ กั พงิ ชว่ั คราว เชน CO, NO2, SO2, HCl, ฝุนละอองขนาดเล็ก และมลพษิ อ่นื ๆ 5. ประสานความรวมมือ หนวยงานที่เกี่ยวของรวม ลงพน้ื ทร่ี ว มกนั เพอื่ ชว ยเหลอื ประชาชนในดา นอ่ืน ๆ ประสานความรว มมอื หนวยงาน ท่ีเก่ียวของรวมลงพ้นื ท่ี เชน กรมสุขภาพจิต เปน ตน 9 ทกุ วัน/ รวบรวม วเิ คราะห และสรปุ มสี รปุ สถานการณรายงาน - ศนู ยอนามยั ข้ึนกบั ผลการดาํ เนนิ งานตามบทบาท ผลการปฏบิ ตั กิ ารทเ่ี กยี่ วขอ ง - หนวยงาน สรปุ และรายงานผล สถานการณ ภารกิจของทีม และจัดทํา ตามบทบาทของหนว ยงาน สว นกลาง การดาํ เนนิ งาน เสนอผบู ริหาร รายงานเสนอผบู รหิ ารรวมทง้ั และเสนอตอท่ีประชุม พจิ ารณา/ ผูบญั ชาการ เสนอรายละเอยี ดตอ EOC EOC ทราบผลปฏิบตั ิการ เหตุการณ ปญ หาทพี่ บ และขอ เสนอ เพอ่ื การแกไ ข ระยะฟน ฟหู ลงั เกิดภยั จากไฟไหมบ อ ขยะ 10 1 - 2 วนั มีการประสานทีม SAT มสี รปุ สถานการณรายงาน - ศูนยอนามัย หรือหนวยงานที่เก่ียวของ ขอ มลู พนื้ ทแ่ี ละประชาชน - หนวยงาน ประสานทีม SAT หรือหนวยงาน เพ่ือสํารวจ รวบรวมขอมูล ทไี่ ดร บั ผลกระทบ/ เขา รบั สวนกลาง ที่เกีย่ วของ เพอ่ื ติดตามขอ มลู สถานการณใ นพื้นทห่ี ลังเกิดเหตุ พื้นท่ีและประชาชนท่ีไดรับ การรักษาดวยโรคหรือ ผลกระทบและเขา รบั การรกั ษา อุ บั ติ เ ห ตุ ที่ เ กี่ ย ว ข อ ง ในสถานบรกิ ารสาธารณสุข ในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ในชว งที่เกิดภยั 59คมู่ อื มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏิบัติการด้านอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

มาตรฐาน หลักฐาน/ ตวั ชี้วัด คุณภาพงาน ขน้ั ตอนที่ ผังกระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ 11 ประสานหนว ยงานท่ีเก่ยี วขอ ง การปฏบิ ตั งิ าน เพ่อื รว มวางแผนการดาํ เนนิ งาน เฝาระวงั ในพืน้ ทห่ี ลังเกดิ ภัย 5 วัน มกี ารประสานงานหนว ยงาน มี แ ผ น ห รื อ แ น ว ท า ง - ศนู ยอ นามัย ที่เกี่ยวขอ ง รวมถงึ เครอื ขาย การติดตามและเฝาระวัง - หนวยงาน เฝา ระวงั สขุ ภาพในพนื้ ที่ เพอื่ ความเส่ียงสุขภาพหลัง สวนกลาง รว มจดั ทําแผนการดําเนนิ งาน เกดิ ภยั เฝาระวังในพ้ืนท่ีประสบภัย หลงั เกดิ ภัย 12 ขน้ึ กบั มกี ารลงพน้ื ทใี่ นการเฝา ระวงั มสี รปุ รายงานผลเฝา ระวงั - ศนู ยอ นามยั สถานการณ ดานอนามยั ส่ิงแวดลอม ดานอนามัยส่ิงแวดลอม - หนว ยงาน - เฝาระวังมลพิษอากาศ หลังเกิดภัย สวนกลาง ลงพืน้ ท่ีเฝา ระวัง ที่ อ า จ ส ง ผ ล ต อ สุ ข ภ า พ ดา นอนามยั ส่ิงแวดลอ ม ประชาชน ในพนื้ ที่ - เฝาระวังการปนเปอนของ นา้ํ ชะขยะลงสูแหลงน้ํา สาธารณะ โดยการสมุ ตรวจ คุ ณ ภ า พ นํ้า ใ น บ ริ เว ณ ที่อาจไดรบั ผลกระทบ 13 1 วัน รวบรวม วเิ คราะห และสรปุ มีรายงานสรุปผล การ - ศนู ยอ นามยั ผลการดาํ เนนิ งานภาพรวมของ ดาํ เ นิ น ง า น ภ า พ ร ว ม - หนว ยงาน ทีม OP และจัดทาํ รายงาน ของทมี ปฏิบัตกิ าร OP สวนกลาง ตดิ ตามสรุปผลการดาํ เนนิ งาน เสนอผบู ริหาร รวมท้งั เสนอ รายละเอยี ดตอ ศนู ยบ ญั ชาการ ภาวะฉกุ เฉิน (EOC) 14 1 - 2 วนั มกี ารจดั ประชมุ ถอดบทเรยี น มีรายงานผลการถอด - ศนู ยอ นามยั ถอดบทเรยี น (AAR) หลงั เกดิ เหตุ เพอื่ ใหท ราบถงึ บทเรียนการดาํ เนินงาน - หนวยงาน การดาํ เนินงาน เพือ่ ทบทวน ปญหา ขอเสนอแนะ และ ของทีม OP สว นกลาง แผนปฏบิ ัติการ ปรบั ปรงุ แผนการดาํ เนนิ งาน ใหครอบคลมุ 6. รายละเอยี ดขั้นตอนการปฏบิ ตั ิงาน ระยะเตรยี มการก่อนเกดิ ภัยจากไฟไหม้บ่อขยะ 6.1 กําหนดผรู บั ผดิ ชอบ/ กําหนดบทบาทหนา ที่ การกําหนดเจา หนา ทผ่ี รู บั ผดิ ชอบทไี่ ดร บั มอบหมาย ผูมีความรูทางดานสาธารณสุข หรือการสุขาภิบาล หรืออนามัยส่ิงแวดลอมหรือผูท่ีมีประสบการณอยา งนอ ย 1 ป ในการดาํ เนินการกรณีประสบภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติตาง ๆ ท่ีหนวยงานเห็นชอบใหดาํ เนินงาน โดยอาจจดั ตง้ั ในรปู แบบคณะทาํ งานหรอื บคุ คลผไู ดร บั มอบหมาย เพอื่ กาํ หนดบทบาทหนา ทท่ี ไ่ี ดร บั มอบหมาย ใหช ดั เจนไมว า จะเปน การเฝา ระวงั และตดิ ตามสถานการณ การจดั เตรยี มและสนบั สนนุ วสั ดุ อปุ กรณ งบประมาณ และเจาหนาท่ีปฏิบัติการสาํ หรับสนับสนุนการดําเนินงานดานสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยสิ่งแวดลอม รวมถงึ การสนบั สนนุ องคความรวู ชิ าการที่เกย่ี วขอ ง เปนตน 60 ค่มู อื มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกิจปฏิบัตกิ ารด้านอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

ทง้ั น้ี เจา หนา ทผี่ รู บั ผดิ ชอบทไ่ี ดร บั มอบหมายจาํ เปน ตอ งไดร บั การเสรมิ สรา งทกั ษะและพฒั นาศกั ยภาพ ดานการสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยส่ิงแวดลอม เชน การจัดการขยะ การจัดการสวม ส่ิงปฏิกูล การสขุ าภบิ าลอาหารและนํ้าบรโิ ภค เปน ตน ในภาวะฉกุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ิ ตามบทบาทภารกจิ ทไ่ี ดร บั มอบหมาย อยางสม่ําเสมอ เพ่ือเปนการเตรียมความพรอมรองรับภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติไดอยางทันทวงที และมปี ระสทิ ธภิ าพ ซงึ่ อาจเปน การจดั การอบรมในหนว ยงาน หรอื เขา รว มรบั การอบรมจากหนว ยงานภายนอก หรือการเรียนรูผานหลกั สูตรที่เกี่ยวขอ งในระบบออนไลน อยา งนอยปละ 1 ครัง้ โดยตอ งมหี ลกั ฐานประกอบ การอบรม เชน รปู ภาพ สรปุ ผล หรอื One page แสดงการเขา รบั การอบรม/ การฝก ปฏบิ ตั หิ รอื ใบประกาศนยี บตั ร หรือใบผา นการอบรม เปนตน 6.2 จดั ทําแผนเตรียมพรอม แผนเผชญิ เหตุ หรือแผนปฏบิ ัตกิ ารรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ และภยั พิบตั ิ ตา ง ๆ ตามบทบาทหนาทคี่ วามรบั ผิดชอบ ในการเตรยี มความพรอ มรองรบั ภาวะฉุกเฉนิ และภยั พบิ ัติตา ง ๆ หนว ยงานตอ งมกี ารจดั ทาํ แผนเตรยี มพรอ ม แผนเผชญิ เหตุ หรอื แผนปฏบิ ตั กิ ารรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ิ ตา ง ๆ ตามบรบิ ทพน้ื ท่ี หรอื อาจจดั ทาํ เปน แบบแผนรวมทกุ ประเภทภยั กไ็ ดข น้ึ กบั หนว ยงาน โดยแผนดงั กลา ว ตองกําหนดวธิ ีการปฏิบตั ิงาน กระบวนการ ขั้นตอนการทํางานของหนวยงาน ซ่ึงจะตอ งครอบคลุมการปฏบิ ัติ การทั้งชว งกอ นเกดิ ภยั ระหวา งเกิดภยั ระยะฟน ฟูหลงั เกิดภัย ครอบคลุมดานการบรหิ ารจัดการกาํ ลังคน งบ ประมาณ สง่ิ ของและวสั ดุ อปุ กรณต า ง ๆ รวมถงึ การประสานงาน การบรู ณาการการทํางานรว มกนั ตามบทบาท ภารกจิ ของแตล ะทมี ทช่ี ดั เจน โดยแผนดงั กลา วหนว ยงานสามารถทบทวนปรบั ปรงุ เปน ระยะ เพอื่ จดั การแกไ ข ลดปญหาหรืออุปสรรค และปดชองวางในขณะปฏิบัติงาน รวมถึงหลีกเล่ียงความซํ้าซอนและขอจํากัด ในการปฏิบตั หิ นาที่ เพือ่ ตอบโตสถานการณใ หพ น้ื ทแี่ ละประชาชนไดรบั ผลกระทบนอยทีส่ ดุ 6.3 จดั ทาํ รายการวสั ดุ อปุ กรณท เี่ หมาะสมทใ่ี ชส าํ หรบั สนบั สนนุ และใหก ารชว ยเหลอื ผปู ระสบภยั ตามประเภทภัย เจาหนา ท่ปี ฏิบัตกิ ารทีม OP หรือผรู บั ผดิ ชอบที่ไดรบั มอบหมายจดั ทาํ รายการวสั ดุอุปกรณ รองรับสถานการณไ ฟไหมบอขยะหรือภัยอื่น ๆ ในพืน้ ที่ และประสานทมี Logistic เพอื่ สาํ รวจและตรวจสอบ ขอ มลู การจดั เกบ็ หรอื ขอ มลู Stock สง่ิ ของในคลงั พสั ดขุ องหนว ยงานทส่ี ามารถนําไปใช เพอื่ การสนบั สนนุ กรณี เกดิ ไฟไหมบ อ ขยะประกอบดว ย หนา กากปอ งกนั อนั ตรายจากสารเคมี ถงุ ดาํ สาํ หรบั บรรจมุ ลู ฝอย น้าํ ดม่ื บรรจุ ขวด เปน ตน และเตรยี มความพรอ มเครอื่ งมอื ตรวจวดั ทางวทิ ยาศาสตรส าํ หรบั ลงพนื้ ที่ โดยตอ งหมนั่ ตรวจสอบ วเิ คราะหค วามตอ งการ ความเพยี งพอ ความจาํ เปน ในการใชง าน อายกุ ารใชง าน เพอื่ เตรยี มความพรอ มอยเู สมอ 6.4 ซอมแผนตอบโตภาวะฉุกเฉนิ และภัยพบิ ตั ติ าง ๆ การเตรยี มความพรอมในการปองกนั และ ลดความสูญเสียท่อี าจจะเกิดขน้ึ จากภาวะฉกุ เฉนิ และภัยพิบตั ิ โดยกาํ หนดใหมีการฝกซอ มแผนตอบโตร องรับ ภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ หรือฝกซอมตามแผนรวมกับหนวยงานสาธารณสุขจังหวัด หรือหนวยงานอื่น เพื่อใหเจาหนาท่ีท่ีเกี่ยวของ เขาใจหลักการ ขั้นตอน และวิธีการปฏิบัติ สามารถจัดการสาธารณภัย ไดอ ยา งทันทวงที โดยมขี ้ันตอน ดงั น้ี 1) การเตรียมการ โดยแจงเวียน ประชาสัมพันธแผนปองกันและบรรเทาสาธารณภัย หรือแผนตอบโตรองรบั ภาวะฉุกเฉินและภัยพบิ ตั ทิ น่ี าํ มาใชใ นหนวยงาน พรอ มจัดทําคําสงั่ แตง ตง้ั คณะทํางาน หรอื ทมี งานซอ มแผนฯ โดยกาํ หนดบทบาทหนา ทใ่ี นการดาํ เนนิ งานทช่ี ดั เจน และงบประมาณสาํ หรบั การฝก ซอ มแผนฯ 2) ประชมุ เตรยี มความพรอ มและชแี้ จงภารกจิ ของเจา หนา ทท่ี ไ่ี ดร บั มอบหมาย ตามแผนทก่ี ําหนด เพอ่ื ใหทราบบทบาทของตนเอง และกลไกการปฏิบัติงานในขณะเกดิ ภาวะฉกุ เฉินและภัยพิบตั ิ คมู่ ือมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) 61 ของทมี ภารกิจปฏบิ ัติการดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

3) ฝกซอมข้ันตน เปนการทดลองซอมวางแผน อาํ นวยการ ควบคุม ส่ังการและประสานงาน หนว ยงานอนื่ ตามแผนฯ โดยใชเ หตกุ ารณส มมตุ เิ ปน กรณศี กึ ษา หลงั จากนน้ั จะเปน การประเมนิ ผลการทดสอบ ภาคทฤษฎเี บ้อื งตนกอน 4) ฝก ซอมแผนจริง โดยเลอื กรปู แบบการซอ มแผนตามบรบิ ท ความเหมาะสมภายใตขอจํากัดของ ทรพั ยากรบคุ คล งบประมาณ ระยะเวลา ซงึ่ รปู แบบการฝก ซอ มแผนมหี ลายรปู แบบ เชน การซอ มแผนบนโตะ (Tabletop Exercise) การซอ มแผนเฉพาะหนาที่ (Functional Exercise) การซอ มแผนเตม็ รูป (Full Scale Exercise) เปนตน 5) การบูรณาการและซอมแผนรวมกับหนวยงานอ่ืน โดยการเชิญหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนท่ีเกี่ยวของรวมซอมแผนตามบทบาทหนาท่ีในขณะเกิดภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ เปนการสราง ความเขา ใจรว มกัน ซึง่ ในภายหลงั การซอ มแผน สามารถจดั ทําเปนเอกสาร หรอื วดิ ีทัศนประกอบการฝก ซอ ม เพอ่ื ผทู เี่ กย่ี วขอ งไดร บั ทราบขน้ั ตอนการเตรยี มความพรอ ม และการปฏบิ ตั ทิ ง้ั กอ นเกดิ ภยั ขณะเกดิ ภยั และหลงั จากทภี่ ยั ผานพน ไปแลว 6.5 รวมจัดทําฐานขอมูลบอขยะในพ้ืนที่ วิเคราะหพื้นที่เสี่ยง พ้ืนที่ท่ีเคยเกิดไฟไหมบอขยะ และจดั ทาํ เนียบผูเชี่ยวชาญ หนว ยงานที่เกีย่ วของ พรอ มชองทางการตดิ ตอ เจา หนาที่ผรู บั ผิดชอบทไี่ ดร ับ มอบหมายประสานหนวยงานและคณะทํางานที่เกี่ยวของ เพ่ือรวมสาํ รวจ รวบรวม และจัดทําฐานขอมูล บอขยะในพ้นื ท่ี เชน จาํ นวนบอขยะในพื้นทร่ี บั ผดิ ชอบ สถานท่ตี ง้ั ประเภทบอ ขยะ ขนาดบอขยะ ขอ มลู พ้ืนท่ี ทเ่ี คยเกดิ ไฟไหมบ อ ขยะ พน้ื ทเี่ สยี่ งทที่ อี่ าจไดร บั ผลกระทบ รวมถงึ ประเมนิ ประชาชนกลมุ เสยี่ ง กลมุ เปราะบาง เปน ตน เพอื่ เตรยี มพรอ มใหก ารชว ยเหลอื หากเกดิ ภยั รวมถงึ จดั ทําระเบยี นหรอื ทําเนยี บผเู ชยี่ วชาญ หนว ยงาน ภาคเี ครอื ขา ยทเี่ กย่ี วขอ ง ซง่ึ แสดงรายชอื่ หนว ยงาน ผปู ระสานงาน เบอรโ ทรศพั ทห รอื ชอ งทางตดิ ตอ ประสานงาน ในภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ โดยมีการแจงเวียนเพื่อทราบในหนวยงานและติดแสดงไวในท่ีเห็นเดนชัด ทส่ี ามารถคน ขอ มลู ไดอ ยา งรวดเรว็ ทนั เหตกุ ารณ ทงั้ น้ี ควรทาํ การทบทวนและปรบั ปรงุ ขอ มลู ตา ง ๆ อยา งนอ ย ปล ะ 1 คร้งั เพ่อื ความเปน ปจ จบุ ัน และตดิ ตอไดท ันทเี ม่ือเกดิ ภาวะฉกุ เฉินและภยั พิบตั ิ ระยะเกิดภัยจากไฟไหม้บอ่ ขยะ 6.6 ประสานงาน ติดตามสถานการณเบื้องตน จากทีม SAT หรอื หนวยงานที่เก่ยี วของและจัดทํา ขอ มลู สถานการณเ พื่อรายงานประธานทีมปฏบิ ตั กิ าร OP ในการปฏิบตั ิหนา ท่ีเพอื่ เขาชวยเหลอื ประชาชน ที่ประสบภัยไฟไหมบอขยะ ทีมปฏิบัติการจําเปนตองรับขอมูลและดําเนินการรวมกับทีมคณะทาํ งานอื่น ๆ เชน ทมี ตระหนักรูสถานการณ (SAT) เพือ่ ใชเ ปนขอ มลู สาํ หรบั ประเมนิ สถานการณเ บือ้ งตน เชน ขอ มลู พนื้ ท่ี ประสบภัย ขอมูลประเภทมลพิษท่ีเกิดข้ึน จํานวนและท่ีต้ังศูนยพักพิงช่ัวคราว จาํ นวนประชาชนท่ีตองการ ความชว ยเหลอื เปน ตน เพอ่ื ใชเ ปน ขอ มลู ในการเตรยี มความพรอ มวสั ดุ อปุ กรณ เวชภณั ฑ เครอื่ งมอื วทิ ยาศาสตร ดา นอนามยั สิ่งแวดลอ ม และวางแผนเตรยี มความพรอมลงสนบั สนนุ พ้ืนที่เกิดเหตุ 6.7 ประสาน Logistic เพอ่ื จดั เตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ สงิ่ สนบั สนนุ ในการลงพนื้ ทก่ี อ นลงพน้ื ที่ สนบั สนนุ พนื้ ทเ่ี กดิ เหตุ ทมี ปฏบิ ตั กิ ารจะตอ งเตรยี มความพรอ มวสั ดุ อปุ กรณ สงิ่ สนบั สนนุ ตา ง ๆ ทจ่ี าํ เปน ไดแ ก หนา กาก ปอ งกนั อนั ตรายจากสารเคมี รวมถงึ เครอ่ื งมอื วทิ ยาศาสตรด า นอนามยั สงิ่ แวดลอ ม เชน เครอื่ งมอื ตรวจวดั คณุ ภาพ อากาศ เครือ่ งมอื ตรวจเฝา ระวงั ดา นสุขาภิบาลอาหารและนา้ํ ใหเ พยี งพอ 62 ค่มู อื มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏิบัติการดา้ นอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข

6.8 ลงพนื้ ทเี่ ขา ชวยเหลอื ประชาชนดวยการสนบั สนุนการดําเนินงานดา นสขุ าภบิ าล สขุ อนามยั และอนามัยสิ่งแวดลอม กอนดําเนินการลงพื้นที่ทีมปฏิบัติการตองประเมินความปลอดภัยของพ้ืนที่กอนลง ปฏบิ ัติการเขาชวยเหลอื ประชาชนที่ประสบภัยและไดร บั ผลกระทบทกุ คร้งั เพือ่ ความปลอดภยั ของเจา หนาที่ โดยในการลงพื้นที่ชวยเหลือประชาชนจะลงพ้ืนที่ท้ังในชุมชนและในศูนยพักพิงช่ัวคราว โดยในการลงพ้ืนที่ ปฏิบตั กิ ารตอ งดําเนนิ การ ดังนี้ 1) คาดการณและประเมินความเส่ียงผลกระทบตอสุขภาพประชาชนอยูบริเวณใกลเคียง จากสารมลพษิ ทเี่ กดิ ขนึ้ โดยใชโ ปรแกรมคาดการณแ ละประเมนิ ความเสยี่ งจากสารเคมี เชน โปรแกรม ALOHA โปรแกรม WISER และโปรแกรมอืน่ ๆ และแจงเตอื นประชาชนท่ีมีแนวโนม อาจไดรบั ผลกระทบจากการแพร กระจายของมลพิษดังกลา ว 2) สนบั สนนุ สง่ิ ของจาํ เปน เพอ่ื บรรเทาทกุ ข และปอ งกนั ตนเองเบอื้ งตน จากมลพษิ อากาศทเ่ี กดิ จาก ไฟไหมบ อขยะ เชน หนากากปอ งกนั อันตรายจากสารเคมี น้าํ ดื่มบรรจขุ วด เปนตน 3) สื่อสารความเส่ียง สรางการรับรูดานอนามัยสิ่งแวดลอมและสงเสริมสุขภาพทุกกลุมวัย และความเขาใจในการดูแลสุขภาพและปองกันตนเองเบื้องตนใหปลอดภัย จากสารมลพิษท่ีมาจากการเกิด ไฟไหมบ อขยะท้ังในชมุ ชนและศนู ยพักพิงชัว่ คราว โดยเฉพาะในกลมุ เสยี่ ง หรอื กลุม เปราะบาง เชน ผูส งู อายุ หญิงต้งั ครรภ และเดก็ เปนตน 4) ประเมนิ ความเสยี่ ง/ เฝาระวงั สุขาภบิ าล สขุ อนามัย และอนามยั ส่งิ แวดลอม • กรณีที่สถานการณไ มรนุ แรง ทีมปฏิบัติการดําเนินการลงพ้ืนท่ีเขาชวยเหลือประชาชนท่ีประสบภัยและไดรับผลกระทบในชุมชน ทอ่ี ยใู กลเ คยี งพนื้ ทเ่ี กดิ ไฟไหมบ อ ขยะ รว มกบั หนว ยงานอน่ื ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ ง เชน กรมควบคมุ มลพษิ กรมปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย หนว ยงานภาคสาธารณสุขในพ้นื ท่ี โดยดําเนินการดังน้ี (1) รวมประเมินความเสี่ยงผลกระทบตอสุขภาพของประชาชนจากมลพิษที่เกิดข้ึน โดยทําการตรวจประเมนิ ระดบั การปนเปอ นของมลพษิ อากาศในชมุ ชนทอี่ ยใู กลเ คยี งพนื้ ที่ เกิดไฟไหมบอขยะ เชน ตรวจวดั กา ซคารบ อนมอนอกไซด (Carbon monoxide: CO), กาซไนโตรเจนไดออกไซด (Nitrogen dioxide: NO2) กาซซลั เฟอรไดออกไซด (Sulfur dioxide: SO2), กาซไฮโดรเจนคลอไรด (Hydrogen chloride: HCl), ฝุนละออง ขนาดเล็ก และมลพิษอ่นื ๆ (2) เก็บตัวอยางนา้ํ ในแหลงนาํ้ สาธารณะ เพ่ือตรวจวิเคราะหหาสารพิษท่ีมาจากนาํ้ ชะขยะ หรอื น้ําเสยี ทเี่ กดิ จากการดบั เพลงิ ซงึ่ อาจปนเปอ นมากบั นํ้าทใี่ ชด บั เพลงิ ในแหลง น้าํ สาธารณะ ของชุมชน • กรณีท่ีสถานการณม คี วามรนุ แรงและมกี ารเปดศนู ยพ ักพิงช่ัวคราว กรณีที่สถานการณมีความรุนแรงถึงขั้นมีการเปดศูนยพักพิงช่ัวคราว เพื่ออพยพประชาชนที่ไดรับ ผลกระทบออกจากพื้นท่ีช่ัวคราว ทีมปฏิบัติการตองดาํ เนินการตรวจประเมินดานสุขาภิบาล และอนามัย ส่ิงแวดลอมในศูนยพ ักพงิ ชวั่ คราว ดังน้ี 63คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏิบัติการดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

(1) สาํ รวจความเหมาะสมของสถานที่ตั้งศูนยพักพิงชั่วคราวใหมีระยะหางท่ีเพียงพอ โดยตง้ั อยูบ รเิ วณเหนือลม และเปนจดุ ที่ไมไ ดรบั ผลกระทบจากมลพษิ อากาศที่เกิดข้ึน (2) ประเมินความเส่ียงผลกระทบตอสุขภาพของประชาชนจากมลพิษที่เกิดขึ้น โดยทําการ ตรวจประเมินระดับการปนเปอนของมลพิษอากาศในบริเวณศูนยพักพิงชั่วคราว เชน ตรวจวดั กา ซคารบ อนมอนอกไซด (Carbon monoxide: CO), กา ซไนโตรเจนไดออกไซด (Nitrogen dioxide: NO2) กา ซซลั เฟอรไ ดออกไซด (Sulfur dioxide: SO2), กา ซไฮโดรเจน คลอไรด (Hydrogen chloride: HCl), ฝนุ ละอองขนาดเลก็ และมลพษิ อื่น ๆ (3) ประเมนิ การจดั การสว ม โดยพจิ ารณาความเพยี งพอของสว ม ใหเ หมาะกบั จํานวนผอู พยพ และประสานทอ งถ่ินใหดําเนินการสูบสิง่ ปฏกิ ลู ไปกําจดั ตามกาํ หนด (4) จดั ใหม ถี งั ขยะแบบแยกประเภทมฝี าปด มดิ ชดิ ใหเ พยี งพอ และประสานทอ งถน่ิ เกบ็ ขนไป กาํ จดั ทกุ วัน (5) กรณีทีม่ ีการจัดเตรียมอาหารและนํา้ เพ่อื แจกจายใหก ับผูป ระสบภัย ทีมปฏิบตั ิการควรมี การสุม ตรวจการปนเปอนของเชื้อโรคในนา้ํ อุปโภคบริโภค และอาหาร (6) ตรวจปรมิ าณคลอรนี อสิ ระคงเหลอื ในนํ้าอปุ โภคทใ่ี ชใ นศนู ยพ กั พงิ ชว่ั คราวใหไ ดม าตรฐาน และมกี ารตรวจเฝาระวังความเสีย่ งคณุ ภาพน้าํ ทิ้งอยางตอ เน่ือง (7) ประเมินสภาพแวดลอมทั่วไปบริเวณศูนยพักพิงชั่วคราว เชน ความแออัดของผูอพยพ การระบายอากาศท่ีเพยี งพอ ความสวา ง ความปลอดภยั ทางสขุ ภาพ เปนตน (8) แนะนาํ ใหมีการคัดกรองผูอพยพตามสถานะสุขภาพ เพื่อการวางแผนใหการชวยเหลือ อยางทนั ทวงที 5) ประสานความรวมมือหนวยงานท่ีเกี่ยวของรวมลงพื้นท่ี เชน กรมสุขภาพจิต หนวยงาน ภาคสาธารณสุขในพ้นื ท่ี เปนตน 6.9 รวบรวม วิเคราะห และสรุปผลการดาํ เนินงานตามบทบาทภารกิจของทีมปฏิบัติการ และจัดทํารายงานเสนอผูบริหาร รวมทั้งเสนอรายละเอียดตอศูนยบัญชาการภาวะฉุกเฉิน (EOC) หลังจากลงพื้นท่ีปฏิบัติการ ทีมปฏิบัติการ ตองดาํ เนินการรวบรวม วิเคราะห และสรุปผลการดาํ เนินงาน ตามบทบาทภารกจิ ของทมี และจดั ทํารายงานอาจเปน รปู แบบเลม รายงาน ไฟลน าํ เสนอ หรอื One page เสนอ ผูบรหิ าร รวมทง้ั เสนอรายละเอียดตอศูนยบัญชาการภาวะฉุกเฉนิ (EOC) 64 ค่มู ือมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏบิ ตั ิการดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

ระยะฟ้ นื ฟูหลังเกดิ ภัยจากไฟไหมบ้ อ่ ขยะ 6.10 ประสานทีม SAT หรือหนวยงานที่เก่ียวของ เพื่อติดตามขอมูลสถานการณในพื้นท่ี หลังเกิดภัย ภายหลังสถานการณดีข้ึนและเร่ิมเขาสูภาวะปกติ ทีมปฏิบัติการดานอนามัยสิ่งแวดลอม และสง เสรมิ สขุ ภาพตอ งดําเนนิ การประสานทมี SAT หรอื หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ ง เพอื่ สาํ รวจและรวบรวมขอ มลู พ้ืนท่ีที่ไดรับผลกระทบ รวมถึงประชาชนท่ีไดรับผลกระทบท้ังดานทรัพยสิน และผลกระทบดานสุขภาพ ที่เก่ียวขอ ง เชน ขอมลู การเขารับการรักษาในสถานบริการสาธารณสขุ ในพ้ืนท่ี เปนตน 6.11 ประสานหนว ยงานทเี่ กย่ี วขอ ง เพอ่ื รว มวางแผนการดาํ เนนิ งานเฝา ระวงั ในพน้ื ทหี่ ลงั เกดิ ภยั ทีมปฏบิ ัติการดําเนนิ การประสานหนว ยงานที่เกยี่ วของ เชน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติฯ กรมควบคุมโรค กรมวทิ ยาศาสตรก ารแพทย กรมสขุ ภาพจติ และเครอื ขา ยเฝา ระวงั สขุ ภาพและสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ในพน้ื ที่ เชน โรงพยาบาล หรือ รพ.สต. เปนตน เพ่ือวางแผนติดตามและเฝาระวังความเสี่ยงสุขภาพของประชาชน ในพน้ื ทป่ี ระสบภยั หลงั สถานการณเ ขา สภู าวะปกติ เพอ่ื ใหม นั ใจวา ประชาชนไมไ ดร บั ผลกระทบตอ สขุ ภาพตาม มาในภายหลัง หรือในกรณีที่ไดรับผลกระทบ ประชาชนสามารถเขาถึงสถานบริการสาธารณสุขไดอยาง ทนั ทวงที 6.12 ลงพ้ืนที่เฝาระวังดานอนามัยสิ่งแวดลอม โดยทีมปฏิบัติการลงพ้ืนท่ีเฝาระวังดานอนามัย สงิ่ แวดลอ มท่เี กย่ี วของ ไดแก 1) ตรวจเฝา ระวงั มลพษิ อากาศ เพอื่ เฝา ระวงั ความเสยี่ งและผลกระทบตอ สขุ ภาพของประชาชนจาก มลพิษทเ่ี กิดขึ้น 2) กรณีท่ีมีแหลงนํา้ สาธารณะอยูใกลบริเวณบอขยะที่เกิดไฟไหม ใหตรวจเฝาระวังสารพิษ ทีม่ าจากนา้ํ ชะกากของเสยี ในบอ ขยะ ซ่งึ อาจปนเปอนมากับนาํ้ ทใี่ ชดับเพลิงในแหลง น้าํ สาธารณะของชมุ ชน บทบาทหนา ท่อี ื่น ๆ ตามทไี่ ดร ับมอบหมาย 6.13 ติดตาม สรุป และจัดทํารายงานผลการดาํ เนินงาน ภายหลังสถานการณเขาสูภาวะปกติ ทีมปฏิบัติการตองจัดทาํ ขอมูลผลการดาํ เนินงานภาพรวมของทีมปฏิบัติการตามบทบาทหนาท่ี ท้ัง 2 ระยะ ไดแ ก ระยะเกดิ ภยั และระยะฟน ฟู เพอ่ื เสนอรายละเอยี ดตอ ผบู รหิ ารหรอื ทปี่ ระชมุ ศนู ยบ ญั ชาการภาวะฉกุ เฉนิ (EOC) เพื่อทราบ 6.14 ถอดบทเรียน (AAR) การดําเนินงาน เพื่อทบทวนแผนปฏิบัติการรองรับไฟไหมบอขยะ ภายหลังสถานการณเขาสูภาวะปกติ ใหมีการถอดบทเรียนการดําเนินงานหลังเกิดภัย อาจเปนรูปแบบของ การจดั ประชมุ รว มกนั เพอ่ื วเิ คราะหข อ มลู ปญ หาทพี่ บ และขอ เสนอแนะตอ การดําเนนิ งาน โดยขอ มลู ดงั กลา ว อาจใชป ระกอบการปรบั ปรงุ แผนการดําเนนิ งาน เพอ่ื ใหม คี วามครอบคลมุ และลดชอ งวา งการดาํ เนนิ งานรองรบั ภาวะฉกุ เฉินกรณีไฟไหมบอ ขยะท่อี าจจะเกดิ ข้นึ ในอนาคตได 65คมู่ อื มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏิบตั กิ ารด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน ช่ือกระบวนงาน ประเภท สาํ หรับทีม Operation การจดั การอนามยั สงิ่ แวดลอ มและสง เสรมิ สขุ ภาพ ภยั อทุ กภยั ดา นอนามยั สง่ิ แวดลอม วันที่เร่มิ ใช 15 ก.พ. 2566 และสงเสรมิ สขุ ภาพ รองรับภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ จาํ นวน 11 หนา ผูจัดทํา สํานักอนามยั สงิ่ แวดลอม ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข (Public Health Emergency) หมายถงึ เหตุการณท ี่กอ ใหเ กิดโรค และภยั คกุ คามสขุ ภาพ ซง่ึ ถอื เปน สาธารณภยั ประเภททก่ี อ ใหเ กดิ อนั ตรายตอ ชวี ติ สรา งความเสยี หายตอ ทรพั ยส นิ ประชาชนและเกิดผลกระทบตอส่ิงแวดลอม โดยมีลักษณะทําใหเกิดผลกระทบทางสุขภาพอยางรุนแรง เปนเหตุการณท่ีผิดปกติหรือไมเคยพบมากอน มีโอกาสท่ีจะแพรไปสูพ้ืนที่อ่ืน และตองจาํ กัดการเคล่ือนท่ี ของผูคนหรือสินคา ตัวอยางภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เชน อุทกภัย ดินโคลนถลม สึนามิ หมอกควัน ฝุนละอองขนาดเล็ก ภัยจากสารเคมแี ละกัมมันตรงั สี เปน ตน ชวงเวลาประมาณสิงหาคมจนถึงธันวาคมของแตละป จะเกิดสถานการณรองมรสุมพาดผาน หยอ มความกดอากาศ และพายหุ ลากหลายรปู แบบทง้ั พายโุ ซนรอ น ดเี ปรสชนั่ และไตฝ นุ เขา มายงั ประเทศไทย สงผลกระทบทําใหเกิดฝนตกหนัก นา้ํ ปาไหลหลาก และดินโคลนถลมจนเกิดอุทกภัยในหลายพ้ืนท่ี โดยมคี วามรนุ แรงของปญ หาเพม่ิ ขน้ึ ในทกุ ป ซง่ึ อทุ กภยั เปน สาธารณภยั ทเ่ี กดิ จากฝนตกหนกั เปน ระยะเวลานาน ทาํ ใหเกิดนํ้าทวมฉับพลันนา้ํ ทวมขัง ประชาชนไดรับผลกระทบความเดือดรอนท้ังดานสุขภาพและทรัพยสิน (ขอ มูลจากแผนการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยแหง ชาติ พ.ศ. 2558) ดงั นน้ั เพอ่ื ใหก ารปฏบิ ตั งิ านดา นการสง เสรมิ สขุ ภาพและการจดั การสขุ าภบิ าล สขุ อนามยั และอนามยั ภายใตส ถานการณก ารเกิดอุทกภัยไดอยา งเปนระบบ หนวยงานรับผิดชอบมีรูปแบบกระบวนการดาํ เนนิ การ ทชี่ ดั เจนเปน ไปในทศิ ทางเดยี วกนั จงึ กาํ หนดใหม มี าตรฐานการจดั การอนามยั สงิ่ แวดลอ มและสง เสรมิ สขุ ภาพ รองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ (Standard Operating Procedure : SOP) สาํ หรบั เจา หนา ทใ่ี ชเ ปน แนวทาง ในการปฏิบตั ิการในชว งเกดิ สถานการณอุทกภยั ไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป 1. วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานขอทีมปฏิบัติการดานอนามัยส่ิงแวดลอมและสงเสริมสุขภาพ สาํ หรับกรณจี ากอุทกภัย สามารถลดความเสย่ี งและผลกระทบตอ สุขภาพประชาชนท่ีประสบภยั 2. ขอบเขต เปนกรอบการดาํ เนินงานดานการจัดการสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยส่ิงแวดลอม รวมทั้ง การสง เสรมิ สขุ ภาพภายใตส ถานการณอ ทุ กภยั เพอื่ ใหเ จา หนา ทที่ ม่ี ภี ารกจิ การดาํ เนนิ งานดา นอนามยั สงิ่ แวดลอ ม และสงเสริมสุขภาพ สามารถใชเปนแนวทางในการเตรียมความพรอมรับมือกับอุทกภัย โดยกระบวนการ ปฏบิ ตั งิ านเรม่ิ ตง้ั แต การเตรยี มการกอ นเกดิ ภยั ระหวา งเกดิ ภยั และระยะฟ้น ฟหู ลงั เกดิ ภยั เพอื่ ประชาชนสามารถ กลับมาใชชีวติ ไดอยา งปลอดภัยลดความเส่ยี งทางสุขภาพ 66 คู่มือมาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกิจปฏิบตั กิ ารดา้ นอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

3. หน่วยงานทร่ี บั ผิดชอบ ทมี ภารกจิ ปฏิบัตกิ าร (Operation) ดานอนามัยสง่ิ แวดลอ มและสงเสรมิ สขุ ภาพ กรมอนามยั 4. เอกสารอ้างอิง 1. สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. แผนปฏิบัติการดานการปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ทางการแพทยแ ละสาธารณสขุ , 2564. 2. กรมปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั . แผนการปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง ชาติ พ.ศ. 2558. ม.ป.ท, 2558. 3. กองสาธารณสุขฉุกเฉิน. คูมือแนวทางปฏิบัติงานทีมภารกิจปฏิบัติการ (Operation) สําหรับ การเผชญิ เหตแุ ละฟนฟดู านการแพทยแ ละสาธารณสุขตอโรคและภยั พิบตั ิ, 2565. 4. สํานกั อนามยั ส่ิงแวดลอม กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข. คมู ือการจดั การอนามัยส่ิงแวดลอ ม และสง เสริมสุขภาพสําหรับศูนยพ ักพงิ ชว่ั คราว, 2565. 5. สาํ นักอนามัยสิ่งแวดลอม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คูมือ SEhRT book สาํ หรับ ทีมปฏบิ ตั กิ ารดานอนามัยส่ิงแวดลอ ม, 2565. 6. สาํ นักอนามยั ส่ิงแวดลอม กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . คูมือการบริหารจัดการดา นอนามัย ส่ิงแวดลอ ม กรณีสาธารณภยั หรือภัยพบิ ัติ (สาํ หรบั เจาหนาที)่ พ.ศ. 2555. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ ชมุ นมุ สหกรณการเกษตรหางประเทศไทย, 2555. 7. สาํ นกั อนามยั สง่ิ แวดลอ ม กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . คมู อื ประชาชน รอ้ื ...ลา ง...หลงั น้ําลด, 2564. 67คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกิจปฏบิ ตั กิ ารดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

5. แผนผังแนวทางการทาํ งานรับมือภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข : ภัยอทุ กภัย มาตรฐาน หลักฐาน/ ตวั ชีว้ ดั คุณภาพงาน ขน้ั ตอนที่ ผังกระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ การปฏบิ ตั งิ าน ระยะเตรยี มการกอนเกิดภยั อทุ กภัย 3 วัน มีการกาํ หนดผูรับผิดชอบ - มคี ําสง่ั แตง ตงั้ ผรู บั ผดิ ชอบ - ศูนยอ นามัย และบทบาทหนาท่ีท่ีไดรับ หรือหนังสอื มอบหมาย - หนว ยงาน 1 มอบหมาย โดยเจาหนาท่ีที่ ผรู บั ผดิ ชอบทม่ี คี ณุ สมบตั ิ สวนกลาง ตอ งผา นกระบวนการเรยี นรู ตามมาตรฐานคุณภาพ หรือประชุมเชิงปฏิบัติการ งาน หรือฝกอบรมหลักสูตร - หลักฐานการเขารวม กาํ หนดผรู บั ผดิ ชอบ ท่ีเกี่ยวของกับการจัดการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ และแบง บทบาทหนา ท่ี การสุขาภิบาล สุขอนามัย การเรียนรูวิชาการ อนามัยส่ิงแวดลอม รอบรับ หรือรับการอบรมของ กรณีไฟไหมบอขยะหรือ เจาหนาที่ในหนวยงาน ประเดน็ ทเ่ี กยี่ วขอ งอยา งนอ ย อาจเปนอบรมแบบ ปล ะ1ครงั้ หรอื มปี ระสบการณ Onsite หรอื Online ก า ร ทํา ง า น ด า น อ น า มั ย ส่งิ แวดลอม อยา งนอ ย 1 ป 2 5 วนั มีการจัดทําแผนเผชิญเหตุ แผนปฏบิ ตั กิ ารทเี่ กย่ี วกบั - ศนู ยอ นามัย จัดทาํ แผนเตรยี มพรอม หรือแผนปฏิบัติการ หรือ การจดั การดา นสขุ าภบิ าล - หนวยงาน แผนเผชญิ เหตุ หรอื กิจกรรมดาํ เนินการรวมกัน สุขอนามัย และอนามัย สวนกลาง แผนปฏบิ ัตกิ ารรองรบั ในหนว ยงาน พรอมกาํ หนด สงิ่ แวดลอ มรองรบั อทุ กภยั บทบาท ความรับผิดชอบ หรือเปน ภาพรวม ภาวะฉุกเฉินและภยั พิบตั ติ าง ๆ กรณีเกิดอุทกภัยหรือเปน ภาพรวม 3 จดั ทํารายการวสั ดุ อุปกรณ 1 - 3 วนั มีการจัดทาํ รายการวัสดุ ขอ มลู Stock วสั ดุ อปุ กรณ - ศูนยอ นามยั ที่เหมาะสมตามประเภทภัย อุปกรณ ชุดตรวจวิเคราะห สนับสนุนดานสุขาภิบาล - หนวยงาน และประสาน Logistic อยา งงา ยรองรบั กรณอี ทุ กภยั สุขอนามัย และอนามัย สว นกลาง เพื่อจัดเตรยี มวัสดุ อปุ กรณ ไดแก ชุดนายสะอาด สวม สงิ่ แวดลอ มรองรบั อทุ กภยั ใหเ พยี งพอ ฉุกเฉิน ปูนขาวเครื่องมือ ที่มีเหลือ พรอมมีแผน วิทยาศาสตรชุดเฝาระวัง เตรยี มพรอ มจดั ซอ้ื เพมิ่ เตมิ 4 DOH Test kit อยางนอย ซอมแผนตอบโตภ าวะฉุกเฉิน ปละ 1 ครั้ง และประสาน และภัยพบิ ัตติ าง ๆ ทมี Logistic เพ่ือจัดเตรียม (ซอ มภายในหนวยงานหรอื ซอ ม อุปกรณใ หเพยี งพอ รว มกับหนว ยงานทเี่ ก่ียวของ) 3 วนั จดั กระบวนการซอ มซอ มแผน มหี ลกั ฐานกจิ กรรมการซอ ม - ศูนยอนามยั ตอบโตภาวะฉุกเฉินและ แผนตอบโตภาวะฉุกเฉิน - หนว ยงาน ภัยพิบัติตาง ๆ โดยอาจ แ ล ะ ภั ย พิ บั ติ ต า ง ๆ สว นกลาง กาํ หนดสถานการณจาํ ลอง โดยอาจซอมแบบจริง เพ่ือมีกลไกการทํางานที่ หรอื ซอ มบนโตะ ก็ได ชัดเจน และควรซอมแผน อยางนอยปละ 1 ครง้ั 68 คู่มอื มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏิบตั ิการดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

มาตรฐาน หลกั ฐาน/ ตวั ชวี้ ัด คณุ ภาพงาน ขนั้ ตอนที่ ผงั กระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ 5 การปฏบิ ตั งิ าน 5 วนั มีการประสานหนวยงาน มีขอ มลู เบ้ืองตน ดังน้ี - ศนู ยอ นามัย และคณะทาํ งานท่ีเกี่ยวของ - ขอมูลพื้นที่เส่ียง และ - หนว ยงาน เพ่ือรวมจัดทาํ ขอมลู ไดแก พื้นที่ประสบอุทกภัย สว นกลาง 1. ฐา นขอ มูล พ้ืนท่ีเ สี่ ยง ซํ้าซาก พรอมขอมูล อทุ กภยั พนื้ ทเี่ คยประสบภยั กลมุ เสย่ี งกลมุ เปราะบาง หรือประสบภัยซา้ํ ซาก ที่อาศัยอยใู นพ้ืนท่ี รวมสาํ รวจ รวมรวม และจัดทํา พรอมขอมูลกลุมเส่ียง - มีทาํ เนียบผูเชี่ยวชาญฯ ขอ มูลพน้ื ที่เสี่ยง กลมุ เปราะบางทอี่ าศยั อยู หรอื หนว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ ง ในพ้นื ที่ เพื่อเตรยี มพรอ ม ทง้ั ภาครฐั เอกชน พรอ ม พ้ืนทปี่ ระสบอุทกภยั ซํ้าซาก ใหก ารชว ยเหลือ ชอ งทางการตดิ ตอ กรณี ในพน้ื ทต่ี นเอง และจดั ทาํ เนยี บ 2. จัดทาํ ทาํ เนยี บผเู ชยี่ วชาญ ประสบอทุ กภยั หรอื หนว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ ง ผเู ช่ียวชาญ หนวยงาน ทั้งภาครฐั เอกชน พรอม ที่เกยี่ วขอ ง พรอมชองทาง การติดตอ ชองทางการติดตอ ทั้งนี้ ควรมีการทบทวนขอมูล อยา งนอ ยปล ะ 1 คร้งั ระยะเกิดภยั อุทกภยั ขณะ มีการประสานงานทีม SAT มีขอมูลรายงานพื้นท่ี - ศนู ยอนามยั เกดิ เหตุ/ เพอ่ื ตดิ ตามขอ มลู สถานการณ ประภัยประจาํ วันจําแนก - หนวยงาน 6 ทกุ วัน เบื้องตน เพ่ือวิเคราะห ตามพื้นที่เส่ียงจาํ นวน สวนกลาง ประสานงาน ติดตาม สถานการณ และเตรียม ครวั เรอื นและกลมุ ประชาชน สถานการณเ บื้องตน ความพรอมลงปฏิบัติงาน เสี่ยงที่ไดรับผลกระทบ และรายงานสถานการณ ที่ตองดาํ เนินการเขา จากทมี SAT หรือหนวยงาน ตอ ประธานทมี ปฏบิ ตั กิ ารOP ชว ยเหลอื ที่เกี่ยวของ และจัดทําขอ มลู สถานการณเพื่อรายงานประธาน ทมี ปฏิบตั ิการ OP 7 1 - 3 วัน มีการจัดทาํ รายการวัสดุ มีวัสดุ อุปกรณ ชุดตรวจ - ศูนยอ นามยั อปุ กรณ เชน สารสม คลอรนี เฝาระวัง เคร่ืองมือทาง - หนวยงาน เมด็ คลอรนี นํ้า ปนู ขาว ถงุ ดํา วิทยาศาสตรท่ีใชในการ สว นกลาง ประสาน Logistic เพื่อจัดเตรยี ม สบหู รอื เจลลา งมอื ชดุ เฝา ระวงั ลงพื้นที่ประสบภัย และ วสั ดุ อปุ กรณ สิ่งสนบั สนนุ DOH Test kit ที่ใชใน มีส่ิงของสนับสนุน ดาน ในการลงพ้ืนท่ี การลงพื้นที่ และประสาน สขุ าภบิ าลสขุ อนามยั และ ทีม Logistic เพอ่ื จดั เตรียม อนามยั สงิ่ แวดลอ มเพยี งพอ วสั ดุอปุ กรณและสงิ่ สนบั สนนุ กับผปู ระสบเหตุ ตามรายการดงั กลา ว 8 ขน้ึ กับระยะ ล ง พื้ น ที่ ส นั บ ส นุ น ก า ร มีสรุปผลการสนับสนุน - ศนู ยอนามัย ลงพ้ืนทส่ี นบั สนุนการดาํ เนนิ การ เกดิ ภัย ดาํ เนินการดานสุขาภิบาล การดาํ เนนิ งานดา นสขุ าภบิ าล - หนวยงาน ดานสขุ าภบิ าล สุขอนามยั และ สุขอนามัย และอนามัย สุขอนามัย และอนามัย สวนกลาง อนามยั ส่ิงแวดลอม สิ่งแวดลอมทั้งในชุมชนและ สิ่งแวดลอมในชุมชนและ ศูนยพักพิงชั่วคราว โดย ศูนยพักพิงช่ัวคราวจาก ดาํ เนนิ การ ดงั นี้ น้าํ ทว มในพ้นื ที่ 69คู่มอื มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกิจปฏิบตั กิ ารดา้ นอนามยั สิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

ขน้ั ตอนท่ี ผงั กระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน หลักฐาน/ ตวั ช้วี ดั ผรู้ บั ผดิ ชอบ คุณภาพงาน มาตรฐาน การปฏบิ ตั งิ าน ชุมชน ศนู ยพักพงิ 1. สนับสนุนสิ่งของ ดาน ที่ไดร บั ชว่ั คราว สขุ าภบิ าล สขุ อนามยั และ ผลกระทบ อนามัยส่ิงแวดลอม เชน ส า ร ส ม ค ล อ รี น เ ม็ ด ชว ยเหลอื ประชาชนดว ย คลอรีนนํา้ ปูนขาว ถงุ ดํา การสนับสนนุ สงิ่ ของ สบูหรือเจลลางมือ ใหก บั ดานสุขาภิบาล สุขอนามยั ประชาชนทป่ี ระสบภยั และอนามัยสิ่งแวดลอม 2. ส่ือสาร และสรางการรบั รู ใหความรู สรางสขุ นิสยั และ ดานสงเสริมสุขภาพและ สขุ อนามยั สวนบคุ คล อนามยั สง่ิ แวดลอม ใหกับ ประชาชนผูประสบภัย เพ่อื สง เสริมสุขภาพประชาชน โ ด ย เ ฉ พ า ะ ก ลุ ม เ ส่ี ย ง ในชว งอยูประสบอทุ กภัย หรือกลุมเปราะบาง เชน ผสู งู อายุหญงิ ตงั้ ครรภและ เฝาป รระะวเมงั ดนิ าคนวสาขุมาเสภย่ีบิ งาล เดก็ เล็ก และอนสาขุ มอยั นสาง่ิ มแยัวดลอ ม กรณที มี่ กี ารเปด ศนู ยพ กั พงิ ชว่ั คราวในพืน้ ท่ี 1.ประเมินการจัดการ ที ม ป ฏิ บั ติ ก า ร ต อ ง สว ม/ สงิ่ ปฏกิ ลู / มลู ฝอย ดํา เ นิ น ก า ร ป ร ะ เ มิ น ความเสี่ยง เฝาระวัง ทเ่ี พียงพอ ดา นสขุ าภบิ าล สขุ อนามยั และอนามัยสิ่งแวดลอม ในศนู ยพ กั พงิ ชวั่ คราว เชน สวม ขยะ อาหารและ นํ้า สภาพแวดลอมทั่วไป เปนตน 2. เฝาระวงั คุณภาพ อาหารและนํ้าบริโภค 3.ตรวจประเมนิ คณุ ภาพ นํา้ ทงิ้ จากศูนยพ กั พงิ ชัว่ คราวใหเปน ไปตามมาตรฐาน 4. ประเมนิ สภาพแวดลอมทัว่ ไป เชน ความแออดั การระบายอากาศ ความสวาง ความปลอดภัย ทางสขุ ภาพ 70 คมู่ อื มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกิจปฏิบัติการดา้ นอนามยั สิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

มาตรฐาน หลักฐาน/ ตวั ชว้ี ดั คณุ ภาพงาน ขน้ั ตอนที่ ผังกระบวนการ ระยะเวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ 9 สรุปผลการดาํ เนนิ งาน การปฏบิ ตั งิ าน เสนอผูบ รหิ ารพจิ ารณา และรายงานใน EOC ทุกวนั / รวบรวม วิเคราะห และ มสี รปุ สถานการณรายงาน - ศูนยอนามัย ข้นึ กบั สรุปผลการดําเนินงานตาม ผ ล ก า ร ป ฏิ บั ติ ก า ร ท่ี - หนว ยงาน สถานการณ บทบาทภารกจิ ของทมี และ เกย่ี วขอ งตามบทบาทของ สว นกลาง จดั ทํารายงานเสนอผบู รหิ าร หนว ยงาน และเสนอตอ ท่ี รวมทงั้ เสนอรายละเอยี ดตอ ประชุม EOCทราบผล ศนู ยบัญชาการภาวะฉุกเฉนิ ปฏิบัติการ ปญหาที่พบ (EOC) และขอ เสนอเพอื่ การแกไ ข ระยะฟน ฟูหลงั เกิดภยั อุทกภัย 1 วนั สาํ รวจพนื้ ทนี่ า้ํ ทว มขงั ยาวนาน มีขอมูลพ้ืนท่ีนาํ้ ทวมขัง - ศนู ยอ นามยั และพื้นท่ีนา้ํ เนาเสีย เพ่ือ ยาวนานและนํ้าเรม่ิ เนา เสยี - หนว ยงาน 10 ประสานทีม SAT หรอื หนว ยงาน กาํ หนดพนื้ ทแี่ ละขอบเขตของ เพอื่ เตรยี มใหก ารชว ยเหลอื สวนกลาง ท่ีเกยี่ วขอ ง เพื่อตดิ ตาม ผลกระทบทปี่ ระชาชนไดร บั สถานการณและสํารวจพน้ื ท่ี น้าํ ทวมขงั ยาวนาน และพ้ืนทีน่ าํ้ เนา เสีย 11 1 - 2 วนั ประสานกรมพัฒนาที่ดิน มีองคความรูในการผลิต - ศูนยอนามยั หรือสาํ นักงานส่ิงแวดลอม และไดรับสนับสนุน EM - หนว ยงาน ประสานหนวยงานท่เี กีย่ วของ ภาคในพน้ื ทเี่ พอ่ื ขอสนบั สนนุ เพอื่ ใชล ดปญ หานา้ํ เนา เสยี สวนกลาง ขอรบั สนบั สนุน EM องคความรู และ EM เพ่อื ใช จากนํ้าทว มขงั ยาวนานและ ลดปญหานํา้ เนาเสียจาก สามารถนาํ ไปใชไดอยาง ลดความเส่ียงนํา้ เนา เสีย นา้ํ ทว มขังยาวนาน ถกู ตอง 12 ตลอดชว ง ลงพน้ื ทส่ี นบั สนนุ วสั ดุอปุ กรณ มกี ารสอ่ื สารประชาสมั พนั ธ - ศนู ยอนามัย หลงั น้าํ ลด ท่จี ําเปน และส่ือสาร สรา ง และลงพนื้ ทใ่ี หค วามรแู นว - หนวยงาน ลงพนื้ ที่สนับสนุนวัสดุอุปกรณ การรับรูเก่ียวกับวิธีการร้ือ ปฏบิ ตั ใิ นการรอ้ื ลา ง หลงั สวนกลาง และสอ่ื สารสรา งการรบั รเู กยี่ วกบั ลา งหลงั น้าํ ลดใหแ กป ระชาชน นํา้ ลดใหแ กป ระชาชนและ และสถานประกอบการ สถานประกอบการ การฟนฟูหลงั น้ําลด 13 1 วนั รวบรวม วเิ คราะห และสรปุ มีรายงานสรุปผลการ - ศนู ยอนามัย ผลการดําเนนิ งานภาพรวมของ ดาํ เนนิ งานภาพรวมของทมี - หนวยงาน ตดิ ตามและสรปุ ผล ทีม OP และจัดทํารายงาน ปฏิบตั ิการ OP สว นกลาง การดําเนนิ งาน เสนอผบู รหิ าร รวมทง้ั เสนอ รายละเอยี ดตอ EOC 14 1 - 2 วัน มกี ารจดั ประชมุ ถอดบทเรยี น มีรายงานผลการถอด - ศูนยอ นามยั ถอดบทเรียน (AAR) หลงั เกดิ เหตุ เพอื่ ใหท ราบถงึ บทเรียนการดําเนินงาน - หนวยงาน การดําเนินงาน เพ่อื ทบทวน ปญหา ขอเสนอแนะ และ ของทีม OP สวนกลาง ปรบั ปรงุ แผนการดําเนนิ งาน แผนปฏิบัติการ ใหค รอบคลุม คมู่ อื มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) 71 ของทมี ภารกจิ ปฏบิ ัตกิ ารด้านอนามยั สิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข

6. รายละเอยี ดข้ันตอนการปฏบิ ตั ิงาน ระยะเตรยี มการกอ่ นเกดิ ภยั อุทกภยั 6.1 กําหนดผรู บั ผดิ ชอบ/ กําหนดบทบาทหนา ท่ี การกาํ หนดเจา หนา ทผี่ รู บั ผดิ ชอบทไี่ ดร บั มอบหมาย โดยตอ งเปน ผมู คี วามรทู างดา นสาธารณสขุ หรอื การสขุ าภบิ าล หรอื อนามยั สง่ิ แวดลอ ม หรอื ผทู ม่ี ปี ระสบการณ อยางนอย 1 ป ในการดําเนินการกรณีประสบภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติตาง ๆ ที่หนวยงานเห็นชอบ ใหด าํ เนนิ งาน อาจจดั ตงั้ ในรปู แบบคณะทาํ งานหรอื บคุ คลผไู ดร บั มอบหมาย เพอ่ื กําหนดบทบาทหนา ทท่ี ไ่ี ดร บั มอบหมายใหช ดั เจน ไมว า จะเปน การเฝา ระวงั และตดิ ตามสถานการณ การจดั เตรยี มและสนบั สนนุ วสั ดุ อปุ กรณ งบประมาณ และเจาหนาที่ปฏิบัติการสําหรบั สนับสนุนการดาํ เนนิ งานดา นสุขาภิบาล สุขอนามยั และอนามยั ส่งิ แวดลอม รวมถึงการสนับสนุนองคค วามรูวิชาการทเ่ี กยี่ วของ เปนตน ทงั้ น้ี เจา หนา ทผ่ี รู บั ผดิ ชอบทไี่ ดร บั มอบหมายจาํ เปน ตอ งไดร บั การเสรมิ สรา งทกั ษะและพฒั นาศกั ยภาพ ดานการสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยส่ิงแวดลอม เชน การจัดการขยะ การจัดการสวม สิ่งปฏิกูล การสขุ าภบิ าลอาหารและนํ้าบรโิ ภค เปน ตน ในภาวะฉกุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ิ ตามบทบาทภารกจิ ทไี่ ดร บั มอบหมาย อยางสม่ําเสมอ เพื่อเปนการเตรียมความพรอมรองรับภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติไดอยางทันทวงทีและ มีประสิทธิภาพ ซ่ึงอาจเปนการจัดการอบรมในหนวยงาน หรือเขารวมรับการอบรมจากหนวยงานภายนอก หรอื การเรยี นรูผ า นหลักสูตรท่ีเกย่ี วของในระบบออนไลน อยา งนอ ยปล ะ 1 ครงั้ โดยตอ งมีหลักฐานประกอบ การอบรม เชน รปู ภาพ สรปุ ผล หรอื One page แสดงการเขา รบั การอบรม การฝก ปฏบิ ตั หิ รอื ใบประกาศนยี บตั ร หรือใบผา นการอบรม เปนตน 6.2 จดั ทําแผนเตรยี มพรอ ม แผนเผชญิ เหตุ หรือแผนปฏบิ ัติการรองรบั ภาวะฉุกเฉินและภยั พบิ ตั ิ ตา ง ๆ ตามบทบาทหนา ที่ความรบั ผิดชอบ ในการเตรียมความพรอ มรองรับภาวะฉกุ เฉินและภัยพบิ ตั ติ าง ๆ หนวยงานตองมีการจัดทําแผนเตรียมพรอม แผนเผชิญเหตุ หรือแผนปฏิบัติการรองรับภาวะฉุกเฉินและ ภยั พบิ ตั ติ า ง ๆ ตามบรบิ ทพน้ื ที่ หรอื อาจจดั ทาํ เปน แบบแผนรวมทกุ ประเภทภยั กไ็ ดข น้ึ กบั หนว ยงาน โดยแผน ดังกลาวตองกําหนดวิธีการปฏิบัติงาน กระบวนการ ข้ันตอนการทํางานของหนวยงาน ซ่ึงจะตองครอบคลุม การปฏบิ ตั กิ ารทงั้ ชว งกอ นเกดิ ภยั ระหวา งเกดิ ภยั และระยะฟ้นฟหู ลงั เกดิ ภยั ครอบคลมุ ดา นการบรหิ ารจดั การ กําลังคน งบประมาณ สิ่งของและวัสดุ อุปกรณตาง ๆ รวมถึงการประสานงาน การบูรณาการการทาํ งาน รว มกนั ตามบทบาทภารกจิ ของแตล ะทมี ทช่ี ดั เจน โดยแผนดงั กลา วหนว ยงานสามารถทบทวนปรบั ปรงุ เปน ระยะ เพอื่ จดั การแกไ ข ลดปญ หาหรอื อปุ สรรค และปด ชอ งวา งในขณะปฏบิ ตั งิ าน รวมถงึ หลกี เลยี่ งความซ้าํ ซอ นและ ขอจาํ กัดในการปฏิบตั ิหนา ที่ เพ่อื ตอบโตสถานการณใ หพ ืน้ ทแี่ ละประชาชนไดรับผลกระทบนอยท่ีสุด 6.3 จดั ทาํ รายการวสั ดุ อปุ กรณท เี่ หมาะสมทใี่ ชส าํ หรบั สนบั สนนุ และใหก ารชว ยเหลอื ผปู ระสบภยั ตามประเภทภัย เจาหนาท่ปี ฏบิ ตั ิการทีม OP หรอื ผูร ับผดิ ชอบทไ่ี ดร บั มอบหมายจดั ทาํ รายการวัสดุอปุ กรณ รองรับกรณีเกิดอุทกภัยหรือภัยอื่น ๆ ในพ้ืนท่ี และประสานทีม Logistic เพ่ือสาํ รวจและตรวจสอบขอมูล การจัดเก็บ หรือขอมูล Stock ส่ิงของในคลังพัสดุของหนวยงานท่ีสามารถนาํ ไปใชเพ่ือการสนับสนุน การลงพนื้ ทก่ี รณเี กดิ อทุ กภยั เชน ชดุ นายสะอาด สว มฉกุ เฉนิ ปนู ขาว สารสม คลอรนี ชดุ เฝา ระวงั DOH Test kit น้าํ ดื่มบรรจุขวด เปนตน โดยตองหม่ันตรวจสอบ วิเคราะหความตองการ ความเพียงพอ ความจําเปน ในการใชงาน อายุการใชงาน เพอ่ื เตรียมความพรอ มอยูเ สมอ 72 คมู่ อื มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏิบตั กิ ารดา้ นอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

6.4 ซอมแผนตอบโตภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติตาง ๆ การเตรียมความพรอมในการปองกัน และลดความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้นจากภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ โดยกาํ หนดใหมีการฝกซอมแผนตอบโต รองรบั ภาวะฉุกเฉินและภัยพบิ ัติ หรอื ฝก ซอ มตามแผนรว มกบั หนว ยงานสาธารณสุขจงั หวดั หรอื หนวยงานอื่น เพื่อใหเจาหนาท่ีท่ีเกี่ยวของ เขาใจหลักการ ขั้นตอน และวิธีการปฏิบัติ สามารถจัดการสาธารณภัยได อยา งทนั ทว งที โดยมขี นั้ ตอน ดงั นี้ 1) การเตรยี มการ โดยแจง เวยี น ประชาสมั พนั ธแ ผนปอ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั หรอื แผนตอบโต รองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ และภยั พบิ ตั ทิ นี่ าํ มาใชใ นหนว ยงาน พรอ มจดั ทาํ คาํ สง่ั แตง ตง้ั คณะทาํ งานหรอื ทมี งานซอ มแผน โดยกาํ หนดบทบาทหนาท่ีในการดําเนินงานทช่ี ดั เจน และงบประมาณสาํ หรับการฝกซอ มแผน 2) ประชมุ เตรียมความพรอมและชีแ้ จงภารกิจของเจา หนาทท่ี ไี่ ดร บั มอบหมาย ตามแผนทีก่ ําหนด เพื่อใหท ราบบทบาทของตนเอง และกลไกการปฏิบตั ิงานในขณะเกิดภาวะฉุกเฉินและภัยพบิ ตั ิ 3) ฝกซอมขั้นตน เปนการทดลองซอมวางแผน อํานวยการ ควบคุม ส่ังการและประสานงาน หนวยงานอ่ืนตามแผน โดยใชเหตุการณสมมุตเิ ปนกรณศี ึกษา หลงั จากนนั้ จะเปนการประเมินผลการทดสอบ ภาคทฤษฎีเบ้ืองตน กอ น 4) ฝกซอ มแผนจริง โดยเลอื กรปู แบบการซอ มแผนตามบริบท ความเหมาะสมภายใตข อจาํ กัดของ ทรพั ยากรบคุ คล งบประมาณ ระยะเวลา ซงึ่ รปู แบบการฝก ซอ มแผนมหี ลายรปู แบบ เชน การซอ มแผนบนโตะ (Tabletop Exercise) การซอมแผนเฉพาะหนา ที่ (Functional Exercise) การซอ มแผนเต็มรูป (Full Scale Exercise) เปนตน 5) การบูรณาการและซอมแผนรวมกับหนวยงานอ่ืน โดยการเชิญหนวยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนท่ีเกี่ยวของรวมซอมแผนตามบทบาทหนาท่ีในขณะเกิดภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ เปนการสราง ความเขาใจรวมกัน ซ่ึงในภายหลังการซอมแผน สามารถจัดทาํ เปนเอกสารหรือวิดีทัศนประกอบการฝกซอม เพื่อผูท่ีเกี่ยวของไดรับทราบข้ันตอนการเตรียมความพรอมและการปฏิบัติท้ังกอนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และ หลังจากทีภ่ ัยผา นพนไปแลว 6.5 รว มสํารวจ รวบรวม และจดั ทําขอมลู พ้นื ทเี่ สีย่ ง พน้ื ท่ปี ระสบอทุ กภัยซํา้ ซากในพื้นที่ตนเอง และจัดทําเนียบผเู ชีย่ วชาญ หนว ยงานที่เก่ียวของ พรอมชองทางการติดตอ เจาหนาทีผ่ รู ับผดิ ชอบทไ่ี ดร ับ มอบหมายประสานหนว ยงานและคณะทาํ งานทเี่ กย่ี วขอ ง เพอ่ื รว มสํารวจ รวบรวม และจดั ทําฐานขอ มลู พนื้ ท่ี เสยี่ งอทุ กภยั พ้ืนทีเ่ คยประสบภัยหรอื ประสบภัยซาํ้ ซาก ประเมนิ ประชาชนกลมุ เสย่ี ง กลุมเปราะบางทอี่ าศัย อยูในพ้ืนที่ เพ่ือเตรียมพรอมใหการชวยเหลือหากเกิดภัย รวมถึงจัดทาํ ระเบียนหรือทําเนียบผูเช่ียวชาญ หนว ยงานภาคเี ครอื ขา ยทเ่ี กยี่ วขอ ง ซง่ึ แสดงรายชอื่ หนว ยงาน ผปู ระสานงาน เบอรโ ทรศพั ทห รอื ชอ งทางตดิ ตอ ประสานงานในภาวะฉุกเฉินและภัยพิบัติ โดยมีการแจงเวียนเพ่ือทราบในหนวยงานและติดแสดงไวในที่เห็น เดนชัด สามารถคนขอมูลไดอยางรวดเร็วทันเหตุการณ ท้ังน้ี ควรทาํ การทบทวนและปรับปรุงขอมูลตาง ๆ อยา งนอยปละ 1 ครงั้ เพอื่ ความเปน ปจ จุบันและตดิ ตอ ไดทนั ทีเม่อื เกิดภาวะฉกุ เฉินและภัยพบิ ัติ 73คู่มือมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏบิ ัตกิ ารดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

ระยะเกดิ ภัยอกุ ทกภยั 6.6 ประสานงาน ติดตามสถานการณเ บอ้ื งตนจากทมี SAT หรอื หนว ยงานท่ีเกี่ยวขอ ง และจัดทาํ ขอ มลู สถานการณเ พ่อื รายงานประธานทมี ปฏิบัติการ OP ในการปฏบิ ัติหนา ทเ่ี พอ่ื เขาชวยเหลือประชาชน ที่ประสบภัย ทีมปฏิบัติการจําเปนตองรับขอมูลและดาํ เนินการรวมกับทีมคณะทาํ งานอื่น ๆ เชน ทีมตระหนักรูสถานการณ (SAT) เพ่ือใชเปนขอมูลสาํ หรับประเมินสถานการณเบ่ืองตน เชน ขอมูลพ้ืนท่ี ประสบภยั จาํ นวนและทตี่ งั้ ศนู ยพ กั พงิ ชว่ั คราว จํานวนประชาชนทต่ี อ งการความชว ยเหลอื เปน ตน และรายงาน ประธานทีมปฏิบัติการ เพ่ือใชเปนขอมูลในการเตรียมความพรอมวัสดุ อุปกรณ เคร่ืองมือวิทยาศาสตร ดา นอนามยั สิ่งแวดลอ ม และวางแผนเตรยี มความพรอมลงสนบั สนนุ พ้นื ท่เี กดิ ภัย 6.7 ประสาน Logistic เพอื่ จดั เตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ สง่ิ สนบั สนนุ ในการลงพนื้ ที่ กอ นลงพน้ื ทส่ี นบั สนนุ พน้ื ที่เกดิ ภยั ทีมปฏบิ ัติการจะตอ งเตรยี มความพรอมวัสดุ อุปกรณ สิง่ สนบั สนนุ ตา ง ๆ ที่จาํ เปน เชน ชุดนาย สะอาด สว มฉุกเฉิน ปูนขาว สารสม คลอรีน ชุดเฝาระวัง DOH Test kit นา้ํ ดืม่ บรรจขุ วด ใหเ พียงพอ 6.8 ลงพ้นื ทเ่ี ขาชว ยเหลือประชาชนดวยการสนับสนนุ การดําเนนิ งานดา นสุขาภิบาล สุขอนามยั และอนามยั สงิ่ แวดลอ ม การลงพน้ื ทช่ี ว ยเหลอื ประชาชนทปี่ ระสบอทุ กภยั ทมี ปฏบิ ตั กิ าร OP จะลงพน้ื ทป่ี ฏบิ ตั ิ การทัง้ ในชุมชนและในศูนยพักพิงชั่วคราว โดยดาํ เนินการ ดงั น้ี 1) สนับสนุนสิ่งของดานสุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามัยสิ่งแวดลอมที่จําเปนใหกับประชาชน ทปี่ ระสบภยั เชน สารสม คลอรนี เมด็ คลอรีนนํา้ ปนู ขาว ถุงดํา สบูหรอื เจลลางมอื 2 ) สอื่ สาร และสรา งการรบั รใู หก บั ประชาชนโดยเฉพาะกลมุ เสยี่ งหรอื กลมุ เปราะบาง เชน ผสู งู อายุ หญงิ ตง้ั ครรภ และเดก็ เลก็ ในการดแู ลรกั ษาสขุ ภาพตนเองและครอบครวั เบอ้ื งตน ในชว งฤดฝู น การปอ งกนั โรค และอนั ตรายทมี่ ากบั อทุ กภยั เชน การปอ งกนั และระวงั ตนเองจากสตั วท มี่ พี ษิ ไฟฟา รว่ั ฟา ผา การปอ งกนั ตนเอง ขณะเดินลุยนํ้าทวมขัง เปนตน รวมถึงความรูดานอนามัยส่ิงแวดลอม เชน การทําและใชสวมช่ัวคราว การทํานา้ํ สะอาดเพอื่ ใชสาํ หรบั อุปโภค เปนตน 3) ประเมินความเสย่ี ง/ เฝาระวงั สุขาภิบาล สุขอนามัย และอนามยั ส่ิงแวดลอ ม กรณมี ีการเปด ศูนยพักพิงชั่วคราว เพ่ืออพยพประชาชนที่ไดรับผลกระทบ ทีมปฏิบัติการตองดําเนินการตรวจประเมินดาน สขุ าภบิ าล และอนามยั ส่ิงแวดลอ มในศนู ยพ ักพงิ ชัว่ คราว ดงั น้ี (1) ประเมนิ ความเพยี งพอของสว มในศนู ยพ กั พงิ ชวั่ คราวใหเ หมาะสมและเพยี งพอตอ จํานวน ผูอพยพ และประสานทองถ่ินสูบส่ิงปฏิกูลไปกาํ จัดตามกาํ หนด กรณีที่ไมเพียงพอ อาจจะใชร ูปแบบสุขาเคลอ่ื นที่ สว มลอยนา้ํ หรอื สวมฉกุ เฉนิ ท้งั น้ี ตอ งใหคาํ แนะนาํ ประชาชนถงึ วธิ กี ารจัดเก็บ เพ่อื นําไปกาํ จัดอยางถูกตองดว ย (2) จัดถังขยะแบบแยกประเภทและมีฝาปดมิดชิดใหเพียงพอตอจํานวนผูอพยพ และประสานทองถ่ินเพ่อื เก็บขนและนาํ ไปกําจดั ทกุ วนั (3) สุมตรวจการปนเปอนของเช้ือโรคในอาหาร และน้าํ อุปโภคบริโภคสําหรับแจก ผูประสบภัย โดยใชชุดตรวจอยางงาย (DOH test kit) เชน ชุดตรวจ อ.11 อ.13 เปนตน รวมถึงใหคําแนะนาํ เรื่องสุขาภิบาลอาหารแกผูปรุงประกอบอาหาร และใหคําแนะนําเมนอู าหารทเี่ หมาะสมในชว งที่เกดิ อุทกภยั 74 คมู่ ือมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏิบัตกิ ารด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

(4) ตรวจเฝาระวังปริมาณคลอรีนอิสระคงเหลือในนํา้ อุปโภคท่ีใชในศูนยพักพิงชั่วคราว ใหไดมาตรฐานทุกจุดที่มีภาชนะหรือถังรองรับน้าํ ดังกลาว โดยใชเครื่องมือตรวจวัด ทางวิทยาศาสตรหรือใชชุดตรวจสอบคลอรีนอิสระคงเหลือในนํ้า (อ.31) และกรณี ท่ีมีระบบบาํ บัดน้าํ เสียในศูนยพักพิงช่ัวคราว ควรสุมตรวจเฝาระวังคุณภาพน้ําท้ิง อยา งตอเนือ่ ง (5) ประเมินสภาพแวดลอมท่ัวไป เชน ความแออัดของผูอพยพ การระบายอากาศ ที่เพียงพอ ความสวาง ความปลอดภัยทางสขุ ภาพ เปน ตน (6) แนะนาํ ใหม กี ารคดั กรองผอู พยพตามสถานะสขุ ภาพ เพอื่ การวางแผนใหก ารชว ยเหลอื อยา งทนั ทว งที 6.9 รวบรวม วิเคราะห และสรุปผลการดาํ เนินงานตามบทบาทภารกิจของทีมปฏิบัติการ และจดั ทํารายงานเสนอผบู รหิ าร รวมทงั้ เสนอรายละเอยี ดตอ ศนู ยบ ญั ชาการภาวะฉกุ เฉนิ (EOC) หลงั จาก ลงพน้ื ท่ีปฏบิ ัติการ ทีมปฏิบัตกิ ารตองดาํ เนนิ การรวบรวม วิเคราะห และสรุปผลการดาํ เนินงานตามบทบาท ภารกจิ ของทีม และจัดทํารายงานอาจเปน รูปแบบเลมรายงาน ไฟลนาํ เสนอ หรือ One page เสนอผบู รหิ าร รวมท้ังเสนอรายละเอยี ดตอศูนยบญั ชาการภาวะฉกุ เฉนิ (EOC) ระยะฟ้ นื ฟูหลงั เกดิ ภยั อุทกภัย 6.10 ประสานทีม SAT หรือหนวยงานที่เกี่ยวของ เพ่ือติดตามสถานการณและสํารวจพื้นที่ นา้ํ ทว มขังยาวนาน และพนื้ ทน่ี าํ้ เนาเสยี ทมี ปฏบิ ัติการตองทาํ การประสานขอ มูลหรอื สาํ รวจพ้นื ที่นํ้าทว มขงั ยาวนาน และพน้ื ทนี่ ้ําเนา เสยี เพอ่ื ใชก าํ หนดพนื้ ทแ่ี ละขอบเขตของผลกระทบทป่ี ระชาชนไดร บั และใชเ ปน ขอ มลู ในการจัดเตรียมสิ่งสนับสนุนที่จาํ เปนสาํ หรับชวงน้ําลด และใชสําหรับวางแผนลงพื้นที่ชวยเหลือประชาชน ใหมคี วามครอบคลมุ 6.11 ประสานหนว ยงานทเี่ ก่ียวขอ ง ขอรบั สนบั สนนุ EM ลดความเสี่ยงนา้ํ เนา เสยี ทีมปฏบิ ตั ิการ ประสานหนวยงานท่ีเกี่ยวของ เชน กรมพัฒนาที่ดิน หรือสํานักงานสิ่งแวดลอมภาคในพื้นท่ี เพ่ือขอรับ การสนบั สนุนองคค วามรู และ EM เพ่อื ใหป ระชาชนใชสาํ หรบั ลดปญหานํา้ เนา เสียจากนํา้ ทว มขังยาวนาน 6.12 ลงพ้ืนทส่ี นับสนนุ วสั ดอุ ุปกรณ และสอื่ สารสรางการรับรูเก่ียวกบั การฟน ฟหู ลังนํา้ ลด ภายหลังทสี่ ถานการณอ ทุ กภัยเรมิ่ ดีขน้ึ ทมี ปฏิบตั กิ ารตอ งลงพืน้ ที่ดําเนินงาน ดังนี้ 1) สนับสนนุ วัสดุอุปกรณท ีจ่ ําเปน เชน ชดุ นายสะอาด EM หรือวัสดุอุปกรณท่ใี ชสําหรบั ทําความ สะอาดใหก บั ประชาชนทปี่ ระสบอทุ กภยั ในพนื้ ท่ี โดยทมี ปฏบิ ตั กิ ารจะตอ งแนะนําวธิ กี ารใชง านทถี่ กู ตอ งใหก บั ประชาชนท่ีประสบภยั 2) สอื่ สาร สรางการรับรูเรอ่ื งการจดั การขยะ นา้ํ อปุ โภคบรโิ ภค การจดั การสัตวแ ละแมลงนําโรค การทําความสะอาดบา นเรอื น และการกําจดั เชอ้ื ราในบา น เพอื่ ใหป ระชาชนนําความรทู ไ่ี ดไ ปใชท ําความสะอาด บา นเรือนและสถานประกอบการ สิ่งของเครือ่ งใชตา ง ๆ ใหบ านและสถานประกอบการสะอาดและปลอดภัย 3) ใหคาํ แนะนําในการฟนฟูระบบสุขาภิบาลในพื้นที่ เชน ระบบประปา ระบบบําบัดนา้ํ เสีย ระบบบาํ บดั ส่ิงปฏิกลู การลา งตลาด เปนตน ใหกับเจาหนาทที่ ีร่ บั ผดิ ชอบ 75คู่มอื มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏบิ ัติการดา้ นอนามยั สิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

6.13 ติดตาม สรุป และจัดทาํ รายงานผลการดาํ เนินงาน ภายหลังสถานการณเขาสูภาวะปกติ ทีมปฏิบัติการตองจัดทําขอมูลผลการดาํ เนินงานภาพรวมของทีมปฏิบัติการตามบทบาทหนาท่ี ทั้ง 2 ระยะ ไดแ ก ระยะเกดิ ภยั และระยะฟน ฟหู ลงั เกดิ ภยั เพอื่ เสนอรายละเอยี ดตอ ผบู รหิ ารและทป่ี ระชมุ ศนู ยบ ญั ชาการ ภาวะฉุกเฉนิ (EOC) เพอื่ ทราบ 6.14 ถอดบทเรยี น (AAR) การดําเนนิ งาน เพื่อทบทวนแผนปฏิบัติการรองรับอุทกภยั ภายหลงั สถานการณเ ขา สภู าวะปกติ ใหม กี ารถอดบทเรยี นการดาํ เนนิ งานหลงั เกดิ เหตุ อาจเปน รปู แบบของการจดั ประชมุ รวมกัน เพ่ือวิเคราะหขอมูลปญหาที่พบ และขอเสนอแนะตอการดาํ เนินงาน โดยขอมูลดังกลาวอาจใช ประกอบการปรับปรุงแผนการดาํ เนินงาน เพ่ือใหมีความครอบคลุมและลดชองวางการดาํ เนินงานรองรับ ภาวะฉกุ เฉินกรณีอทุ กภยั ทอี่ าจจะเกิดขึน้ ในอนาคตได ศนู ศยนู อยพอยพพยพ 76 คมู่ อื มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏิบตั กิ ารดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข

ภาคผนวก 77ค่มู อื มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏบิ ัติการดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

ส่ือความรูดานการจัดการอนามยั สิ่งแวดลอ มและสงเสริมสขุ ภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข หวั ขอ้ /ประเดน็ งาน ตวั อยา่ ง QR code 1. ภัยจากโรคระบาด โรคอบุ ัตใิ หม โรคอบุ ัตซิ ้าํ 1.1 คูม ือการเฝาระวงั และประเมนิ ความเสย่ี ง ดา นอนามยั สิง่ แวดลอ มในสถานการณ การแพรร ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สาํ หรับทมี ปฏิบตั กิ าร ระดบั พ้นื ที่ (Operation Team) 1.2 คมู อื สาํ หรบั เจา พนักงานตามพระราชบญั ญตั ิ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และทีแ่ กไ ขเพ่มิ เติมในการกํากบั ดูแลกิจการ และกิจกรรมตามมาตรการปลอดภัย สาํ หรบั องคก ร (COVID-Free Setting) เพื่อปอ งกนั การระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 1.3 คูมอื แนวทางการเฝา ระวงั การระบาด ของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ดวยนาํ้ เสยี 78 คู่มอื มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏบิ ตั ิการดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

หัวข้อ/ประเด็นงาน ตัวอยา่ ง QR code 1.4 คมู ือการจัดการดา นอนามัยสงิ่ แวดลอม (Community Isolation : CI) ในศนู ยแยกกกั ผปู ว ยโควดิ 19 ในชุมชน สาํ หรับเจา หนาที่ 1.5 คาํ แนะนําการระบายอากาศ เพื่อปองกนั การแพรร ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 1.6 แนวทางการจดั การอนามยั ส่ิงแวดลอม โรงพยาบาลสนาม กรณี การแพรระบาด ของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 79คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏบิ ตั กิ ารด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

หัวขอ้ /ประเดน็ งาน ตัวอย่าง QR code 1.7 คมู ือการจัดการมูลฝอยตดิ เช้อื กรณีไวรสั อีโบลา 1.8 คมู ือโรงพยาบาลสนาม สะอาด ปลอดภยั มั่นใจ สขุ อนามยั ดี 1.9 ชุดสอื่ ความรูวชิ าการที่เกยี่ วของ ภัยจาก โรคระบาด โรคอบุ ัตใิ หม โรคอบุ ัติซา้ํ 80 คมู่ อื มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกิจปฏิบัตกิ ารดา้ นอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

หวั ข้อ/ประเดน็ งาน ตวั อยา่ ง QR code 2. ภยั แลง 2.1 คูมอื การจดั การดานสุขาภบิ าล และอนามยั สิ่งแวดลอม กรณภี ัยแลง 2.2 ชดุ สอ่ื ความรูวชิ าการท่เี กย่ี วของ กรณภี ัยแลง 3. ภยั จากความรอ น 3.1 ชุดสอ่ื ความรวู ิชาการทเ่ี ก่ยี วของ กรณีภัยจากความรอน คมู่ ือมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) 81 ของทมี ภารกิจปฏิบตั กิ ารด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข

หัวขอ้ /ประเด็นงาน ตวั อยา่ ง QR code 4. ภยั จากฝุนละอองและหมอกควนั 4.1 ชดุ สอ่ื ความรูวชิ าการที่เก่ยี วขอ ง กรณีภัยจากฝุนละอองและหมอกควนั 4.2 คมู ือการดาํ เนินงานสาํ หรบั เจา หนาท่ี กรณภี ัยจากฝุน ละอองและหมอกควัน 4.3 แบบฟอรม PM_DOH1 สาํ รวจการจัดการ ดานสิ่งแวดลอมสาํ หรับบานเรือนและอาคาร สาธารณะ กรณี PM2.5 82 คมู่ ือมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏบิ ัติการดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรับภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

หัวข้อ/ประเด็นงาน ตวั อยา่ ง QR code 4.4 แบบฟอรม PM_DOH2 แบบสาํ รวจผลกระทบ ตอ สขุ ภาพและพฤตกิ รรมการปอ งกันตนเอง 4 health (https://4health.anamai. moph.go.th/assessform) 4.5 แบบฟอรม PM_DOH3 รายงานผล การลงพน้ื ทท่ี ีมปฏบิ ตั ิการ กรณฝี นุ ละออง ขนาดไมเ กนิ 2.5 ไมครอน 5. ภัยจากสารเคมี 5.1 ชุดสอ่ื ความรูวชิ าการทเี่ ก่ียวขอ ง กรณีภัยจากสารเคมี 83คมู่ ือมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏิบตั กิ ารดา้ นอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

หวั ข้อ/ประเด็นงาน ตัวอย่าง QR code 6. ภยั จากไฟไหมบอขยะ 6.1 ชุดสือ่ ความรูวชิ าการทเ่ี ก่ยี วขอ ง กรณีไฟไหมบอ ขยะ 7. ภัยอกุ ภยั 7.1 คูมอื ประชาชน “ร้อื ลาง หลังน้ําลด” 7.2 คมู ือการเฝา ระวงั และประเมนิ ความเส่ียง ดา นอนามยั สงิ่ แวดลอ มเตรยี มความพรอ มรองรบั สถานการณก ารเกดิ อทุ กภยั 84 คู่มือมาตรฐานการปฏบิ ัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏบิ ตั ิการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

หวั ข้อ/ประเด็นงาน ตัวอยา่ ง QR code 7.3 ชุดความรู คําแนะนําสาํ หรับประชาชน เพอ่ื การดแู ลปอ งกนั ความเสยี่ งสขุ ภาพจากนาํ้ ทว ม • สว มเฉพาะกิจในวันนา้ํ ทว ม • รบั มือนํา้ ทว มอยา งปลอดภยั • พายมุ าแลวรับมืออยา งไร • หลกั 3×5 รับมอื พายุ ฝนฟาคะนอง น้าํ ทวมฉับพลัน น้าํ ปาไหลหลาก • ระวัง! อนั ตรายจากนํา้ ทวม • รับมอื น้ําทวมอยางปลอดภัย • 5 ทางรอดสําคญั รบั มอื อยา งไรใหผ าน วกิ ฤตนาํ้ ทว ม • รอื้ ... ลาง... หลังน้าํ ลด • 5 ภัยสขุ ภาพ จากนา้ํ ทว ม • 8 ขอแนะนาํ ปอ งกันงูเขา บา นชว งหนา ฝน • การฆา เช้อื โรคในนํ้าดวยคลอรีน • การจดั การสขุ าภบิ าลและอนามยั สงิ่ แวดลอ ม รองรบั นา้ํ ทว มในศนู ยอพยพ 7.4 ชดุ สือ่ ความรวู ิชาการทีเ่ กยี่ วขอ ง กรณีอทุ กภยั 8. สอ่ื ความรูอ ื่น ๆ เกีย่ วกบั การจดั การอนามยั ส่งิ แวดลอ มและสงเสริมสุขภาพ 8.1 ชดุ ส่อื ความรูว ชิ าการท่เี กยี่ วของ กรณอี ุทกภัย 85ค่มู ือมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทีมภารกจิ ปฏบิ ัติการด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

หัวขอ้ /ประเดน็ งาน ตวั อย่าง QR code 8.2 คมู อื ดา นอนามยั สงิ่ แวดลอ มรองรบั สาธารณภยั และภัยสขุ ภาพ SEhRT Book สาํ หรับ ทมี ภารกิจปฏิบตั ิการดา นสงเสรมิ สุขภาพ และอนามัยสิง่ แวดลอม 8.3 เครื่องมือวทิ ยาศาสตรภ าคสนามพ้ืนฐาน ในงานดานอนามยั ส่ิงแวดลอ ม 8.4 คมู อื การบญั ชาการเหตกุ ารณแ ละมาตรฐาน การปฏิบตั ิงาน ดานอนามัยสงิ่ แวดลอม ในภาวะฉุกเฉนิ และสาธารณภยั 86 คมู่ อื มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏิบัติการดา้ นอนามัยสิ่งแวดล้อมและส่งเสรมิ สุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข

หัวข้อ/ประเด็นงาน ตวั อยา่ ง QR code 8.5 คมู อื แนวทางการปฏบิ ตั งิ านทมี ภารกจิ ปฏบิ ตั กิ าร (Operation) สาํ หรับการเผชญิ เหตุและฟนฟูดา นการแพทย และสาธารณสขุ ตอ โรคและภยั พบิ ตั ิ 8.6 ชดุ สอ่ื ความรูดา นสาธารณภัยอืน่ ๆ 8.7 เวบ็ ไซตคณะทํางานตอบโตภ าวะฉุกเฉนิ ฯ กรมอนามยั 87คูม่ ือมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกจิ ปฏบิ ัตกิ ารด้านอนามัยสิ่งแวดลอ้ มและส่งเสรมิ สุขภาพรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

คณะผู้จดั ทํา ที่ปรกึ ษากรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข นายแพทยส ุวรรณชยั วฒั นายง่ิ เจรญิ ชัย อธบิ ดกี รมอนามัย นายแพทยอรรถพล แกวสมั ฤทธ์ิ รองอธิบดีกรมอนามยั นายสมชาย ตแู กว ผอู ํานวยการสาํ นกั อนามัยสง่ิ แวดลอ ม นายภญิ ญาพัชญ จุลสุข ผูอํานวยการกองอนามยั ฉุกเฉิน กรมอนามัย ผู้จดั ทําเน้ือหา กองอนามยั ฉกุ เฉนิ กรมอนามยั กองอนามัยฉุกเฉนิ กรมอนามัย นางสาวพรรนกิ าญจน วังกุม กองอนามัยฉุกเฉิน กรมอนามยั นางชตุ มิ า แกวชว ย กองอนามยั ฉกุ เฉนิ กรมอนามัย นางสาวเกศกนก หอดขุนทด กองอนามัยฉกุ เฉนิ กรมอนามยั นางสาวฐติ ิพร ผาสอน สํานกั สุขาภบิ าลอาหารและนา้ํ นางสาวฐติ ิรัตน รุง ฤทธิ์ สํานักสุขาภบิ าลอาหารและนํา้ นางสาวองั คณา คงกนั กองประเมนิ ผลกระทบตอ สขุ ภาพ นางสาวปรียานุช เรืองหริ ัญวนชิ กองประเมนิ ผลกระทบตอ สขุ ภาพ นางสาววรวรรณ พงษป ระเสริฐ กองประเมนิ ผลกระทบตอสขุ ภาพ นางสาวกลุ สตรี ชัชวาลกิจกุล นางสาวทพิ ยกมล ภมู พิ ันธ 88 คมู่ อื มาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของทมี ภารกิจปฏบิ ัติการดา้ นอนามยั สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมสุขภาพรองรบั ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข



คูมือ กรมอนามยั สง่ เสรมิ ใหค้ นไทยสขุ ภาพดี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook