1 เคร่อื งมือช่างพนื้ ฐาน เครือ่ งมือสําหรับการวดั เคร่อื งมือสาํ หรบั การวัด มีหลายประเภท ขน้ึ กบั ลกั ษณะของงาน เชน่ ไม้บรรทัด ตลบั เมตร สายวัด ไม้โพรแทรกเตอร์ 1. วัดความยาว รูปท่ี 1 ไมบ้ รรทัด 1.1 ไม้บรรทดั การใชง้ าน เป็นเคร่ืองมอื สําหรับวดั ความยาว ของวัตถใุ นแนวระนาบและช่วย ในการขีดเสน้ ใหต้ รง ทาํ จากวัสดุ หลายประเภท เช่น พลาสตกิ ไม้ อะลูมเิ นียม เหล็ก และมีหลาย ขนาด ต้ังแต่ 14 เซนติเมตรจนถงึ 100 เซนติเมตรในหน่งึ ไม้บรรทัด ขอ้ ควรระวงั ควรเลือกใช้ไมบ้ รรทดั ใหต้ รงกบั ประเภทของงาน 1.2 ตลบั เมตร รปู ที่ 2 ตลบั เมตร การใช้งาน เปน็ เคร่อื งมอื ใช้สาํ หรบั วดั ระยะทาง หรือวตั ถุทีม่ ขี นาดตั้งแต่ 0-10 เมตร สายวัดทําจากแผ่นเหล็กบาง สามารถ มว้ นเก็บได้ ปลายสายมขี อเก่ยี วสาํ หรับ เกยี่ วให้ติดกับวัตถุทต่ี อ้ งการวัด ขอ้ ควรระวงั การม้วนสายเขา้ เก็บในตลับ ควรใชม้ อื จบั ชว่ ยผ่อนแรงไม่ให้สายวดั หมนุ เขา้ ตลับ เร็วจนเกนิ ไป เพราะอาจทําใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อผใู้ ชไ้ ด้ การอบรมครูออนไลน์วชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ปี 2562 สสวท.
2 รปู ท่ี 3 ไม้โพรแทรกเตอร์ 2. วัดมมุ 2.1 ไมโ้ พรแทรกเตอร์ การใชง้ าน เป็นเคร่ืองมอื ใชส้ ําหรับวดั มมุ มที งั้ แบบคร่ึงวงกลมและส่ีเหลี่ยมผืนผา้ หนว่ ยการวดั ขนาดของมุมเรียกวา่ องศา ข้อควรระวงั ไมค่ วรขีด หรอื ทาํ เครือ่ งหมายลงบน ไมโ้ พรแทรกเตอร์ เพราะอาจทาํ ใหเ้ ส้น หรือตัวเลขลบเลอื นได้ เครอ่ื งมอื สําหรับการตัด ในการออกแบบและสร้างสรรค์ชนิ้ งานจําเป็นต้องใช้เคร่ืองมือในการตดั ซึ่งมีอยู่หลายประเภท ด้วยกนั ข้ึนอย่กู บั ลกั ษณะของงาน เช่น กรรไกร คัตเตอร์ เลอ่ื ยมือ คมี ตดั 1. กรรไกร กรรไกรตดั กระดาษ กรรไกรตัดผ้า การใช้งาน ใชส้ ําหรบั การตดั วสั ดใุ หเ้ ป็นเส้นตรง เส้นโคง้ หรือเสน้ หยกั กรรไกรมีหลาย ประเภทขึ้นอยู่กบั ลกั ษณะของงาน เชน่ ตัดกระดาษ ตัดผา้ ตัดเหลก็ ตดั พลาสติก ขอ้ ควรระวัง ในปฏิบตั งิ านจําเป็นตอ้ งเลือกใช้ กรรไกรตัดโลหะ กรรไกรให้เหมาะสมกับประเภทของวสั ดุ เชน่ กรรไกรตดั กระดาษ กรรไกรตดั ผ้า รูปที่ 4 กรรไกรประเภทตา่ ง ๆ กรรไกรตดั โลหะ การอบรมครูออนไลน์วชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ปี 2562 สสวท.
3 2. คัตเตอร์ รูปที่ 5 คตั เตอร์ การใชง้ าน เป็นเครอ่ื งมอื สาํ หรบั ตดั ปอก ขดู เหมาะสาํ หรบั ตัดกระดาษ พลาสติกลูกฟกู ไมบ้ ัลซา ที่เป็น ลักษณะของการตัดตรง ขูดลบั ความคมของดินสอ ขอ้ ควรระวัง คัตเตอรเ์ ป็นของมคี ม ควรใชง้ านอย่างระมดั ระวัง หากวัสดุเป็นแผน่ หนา ไมค่ วรใช้แรงกดมากเกินไป เพือ่ ให้วสั ดุขาดจากกนั ในครง้ั เดยี ว ควรกรดี หรือตัด ซ้าํ รอยเดมิ หลาย ๆ คร้งั เพือ่ ความปลอดภัย 3. เลอื่ ยมือ เปน็ เคร่ืองมอื สาํ หรับการตดั ซ่ึงมหี ลายประเภท ในการปฏิบตั งิ านจาํ เป็นตอ้ งเลือกใชเ้ ลอ่ื ยให้ เหมาะสมกบั ประเภทของวสั ดุ เช่น เลอ่ื ยรอ เลือ่ ยฉลุ 3.1 เลอื่ ยฉลุ การใช้งาน เป็นเครื่องมอื สําหรับงานไม้ เหมาะสําหรับ รูปท่ี 6 เลื่อยฉลุ งานตัดโคง้ ทาํ ลวดลายกับชิ้นงานไมท้ ไี่ มห่ นา และใหญม่ าก ข้อควรระวงั เม่อื เลิกใชง้ านควรถอดใบเลือ่ ยออกจาก โครงเลือ่ ยฉลทุ นั ที 3.2 เลือ่ ยลนั ดา รูปท่ี 7 เลื่อยลันดา การใช้งาน เหมาะสําหรบั ตดั ไมท้ ่ัวไป ตวั เลอื่ ยทําจาก เหล็ก สว่ นมือจบั ทําด้วยไม้หรอื พลาสตกิ ข้อควรระวัง ใบเลอ่ื ยเปน็ ของมีคม ดงั น้ันควรใช้งานด้วย ความระมดั ระวงั ท้ังต่อตนเองและผอู้ นื่ การอบรมครอู อนไลนว์ ิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ปี 2562 สสวท.
4 รูปที่ 8 คีมตัด 4. คมี ตดั การใช้งาน ใช้สําหรบั งานตัด ปอกวสั ดชุ ิ้นเลก็ ท่ีไมแ่ ข็งมากนัก เช่น สายไฟ เส้นลวด ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้คมี ตดั โลหะทีม่ ขี นาดใหญห่ รอื หรือแขง็ เกินไป เมือ่ เลกิ ใชง้ านควรทาํ ความสะอาดเกบ็ เข้าท่ี และหยอดนํา้ มนั เสมอ วัสดแุ ละเครอื่ งมือสําหรบั การติดยึด ในการออกแบบและสรา้ งสรรคช์ ิน้ งานจําเปน็ ต้องใช้เคร่ืองมือในการติดยดึ ซ่ึงมีอยหู่ ลาย ประเภทด้วยกัน ขึน้ อยู่กบั ลกั ษณะของงาน เช่น กาว ปนื กาว 1. กาว กาวมีหลายประเภท เชน่ กาวลาเทก็ ซ์ กาวร้อน กาวยาง กาวแท่ง การใช้งานขึ้นอยู่กบั พน้ื ผิว ของวัสดุทต่ี อ้ งการให้ตดิ ยดึ เข้าดว้ ยกนั 1.1 กาวลาเท็กซ์ รูปท่ี 9 กาวลาเท็กซ์ การใชง้ าน เหมาะสําหรบั ยดึ ติดวัสดปุ ระเภทไม้ กระดาษ ผา้ กาวชนดิ น้ีแห้งชา้ ควรท้งิ ไว้สักระยะหน่งึ โดยเฉพาะไม้ควรทงิ้ ไว้ขา้ มคนื เมือ่ กาวแหง้ แลว้ จะยึดตดิ วสั ดไุ ด้แน่นมาก กาวชนิดน้ีไมเ่ ป็น อนั ตรายมาก ผ้ใู ช้งานทเ่ี ป็นเด็กสามารถใช้งานได้ ขอ้ ควรระวัง ใช้งานเสรจ็ ควรปดิ ฝาเพือ่ ปอ้ งกันการแหง้ ของกาว การอบรมครอู อนไลนว์ ชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ปี 2562 สสวท.
5 1.2 กาวร้อน รปู ที่ 10 กาวร้อน การใชง้ าน ยึดติดวสั ดุต่าง ๆ ได้เกือบทุกชนิด แห้งเรว็ มาก เหมาะสาํ หรับวสั ดปุ ระเภทยาง พลาสติก โลหะ เซรามกิ ขอ้ ควรระวงั ต้องระวังไมใ่ ห้สัมผสั กับผวิ หนงั หากถูกสัมผสั ใหล้ ้างออกโดยเรว็ ดว้ ยนา้ํ และไขมนั เมือ่ ใช้งานเสร็จควรปดิ ฝาเกบ็ ใหม้ ดิ ชิด 1.3 กาวยาง รปู ที่ 11 กาวยาง การใชง้ าน ใช้ยึดตดิ วสั ดุตา่ ง ๆ ไดเ้ กือบทกุ ประเภท เนอื้ กาวมีลกั ษณะเปน็ ของเหลวมที ั้งท่ี เป็นสเี หลืองและสีใส เมือ่ ทากาวแล้ว ควรท้งิ ไวอ้ ย่างน้อย 1 ชวั่ โมง เหมาะ สาํ หรับงานเฟอร์นเิ จอรห์ รืองานซ่อมแซมต่าง ๆ ข้อควรระวงั กาวชนิดน้ลี ะลายน้ําได้ จงึ ไม่เหมาะกบั งานที่ ตอ้ งใชก้ ลางแจ้งหรือทีต่ ้องสมั ผัสกับนาํ้ 1.4 กาวแทง่ รปู ที่ 12 กาวแทง่ การใชง้ าน ใช้ยึดตดิ วสั ดปุ ระเภทกระดาษ เน้อื กาวมีลักษณะเปน็ ของแข็ง แฉะ เนือ้ กาวติดเรยี บ ไมเ่ ลอะเทอะ ไมท่ ําใหก้ ระดาษย่น ข้อควรระวงั ใช้งานเสรจ็ ควรปดิ ฝาเกบ็ ให้เรยี บร้อย การอบรมครูออนไลน์วิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ปี 2562 สสวท.
6 2. ปนื กาว ปนื กาวมสี ว่ นประกอบสาํ คญั 2 ส่วน คอื ส่วนทมี่ ีลักษณะคล้ายปนื มสี ายไฟตอ่ สําหรบั ใช้กบั ปล๊กั ไฟ ทําหนา้ ทเี่ ป็นตวั ให้ความร้อนและสว่ นที่สองคอื กาว มลี ักษณะเปน็ แทง่ ใสหรอื ขาวขนุ่ เม่อื ใส่แทง่ กาว ลงไปในตัวปนื ความร้อนจะทาํ ใหแ้ ท่งกาวละลายเปน็ เน้อื กาวท่ีมีความเหนยี ว การใชง้ าน ใชส้ ําหรับงานยึดติดวสั ดปุ ระเภทกระดาษ ไม้ ยาง พลาสติก ข้อควรระวงั การใชง้ านควรระวงั ไมใ่ ห้สัมผสั กับกาว รปู ที่ 13 ปนื กาว เน่ืองจากมีความรอ้ นคอ่ นขา้ งสูง 3. สกรู มีลกั ษณะคล้ายตะปูแตม่ เี กลียวโดยรอบ จงึ มชี ือ่ เรยี กอกี อย่างว่า ตะปูควง หรอื ตะปูเกลียว ใช้ สําหรับยึดวัตถุสองชิ้นเข้าด้วยกันโดยใช้เกลียวเป็นตัวหมุนเจาะเข้าไปในเน้ือวัสดุหรือรูของวัตถุข้ึนอยู่กับ ชนิดของวสั ดุน้นั สกรูมีหลายชนิด ในท่ีนจ้ี ะยกตัวอยา่ งในการใชง้ านทั่วไป 2 ชนดิ ดงั น้ี 3.1 สกรูเกลยี วปลอ่ ย รปู ท่ี 14 สกรเู กลยี วปลอ่ ย เป็นสกรูท่ีมีปลายแหลม ใช้สาํ หรบั ยึดชิ้นงานที่ต้องการแรงยดึ ตรงึ สูง โดยสว่ นเกลียว จะแทรกเขา้ ไปฝงั เขา้ กบั เนื้อวสั ดขุ องชนิ้ งาน สามารถทนต่อแรงดึงได้ดี หัวสกรมู ีหลายแบบ เชน่ แบบหัวกลม แบบหวั เรียบ แบบหัวแฉก แบบหัวผา่ การใชง้ าน ใช้สําหรับยดึ ชนิ้ งานไม้เขา้ ดว้ ยกนั โดยใช้ไขควงชว่ ยในการขันเกลยี ว เข้าไปในเนื้อวสั ดโุ ดยตรง ข้อควรระวงั การขันเข้าและคลายออกหลายครัง้ อาจทําให้ชิน้ งานเสยี หายได้ การอบรมครอู อนไลนว์ ิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ปี 2562 สสวท.
7 3.2 สกรูและนอต นอต เป็นสกรทู ่ีมีปลายตัด ตอ้ งใช้รว่ มกับ สกรู รูปท่ี 15 สกรแู ละนอต นอตทม่ี ขี นาดเกลยี วที่เข้ากนั ได้ ใช้หลกั การบบี อัด วัตถุ 2 ชิน้ เขา้ ด้วยกัน โดยการขันนอตให้แน่น หัวสกรูมหี ลายแบบ เช่น สกรูหวั แฉก สกรูหวั ผา่ สกรแู ฉกเรียบ การใชง้ าน ใช้ยึดชิน้ งานทเ่ี ป็นโลหะเขา้ ด้วยกนั โดยตอ้ งเจาะรู ช้นิ งานขนาดพอดกี บั สกรู แล้วจงึ ขนั สกรูและนอต สามารถถอดและยึดเพื่อประกอบชน้ิ งานใหม่ได้ ขอ้ ควรระวัง การขนั เขา้ สกรกู ับนอต ต้องวางตําแหนง่ ใหต้ รงกันก่อนขนั เพราะอาจทําให้ เกลยี วชํารุดได้ 4. ไขควง เปน็ เคร่ืองมือช่างทใ่ี ชส้ ําหรบั ขนั หรือคลายสกรู โดยลกั ษณะของไขควงน้ันประกอบด้วยด้าม จับ ลําตัวหรอื ก้าน และปากไขควง โดยสามารถแยกประเภทของไขควงได้ 2 ประเภท คือ 4.1 ไขควงปากแบน รปู ที่ 16 ไขควงปากแบน มีลักษณะปากแบนแบบเสน้ ตรงคล้ายคมมีด สําหรบั ใช้ขันหรือคลายสกรทู ่ีหวั สกรเู ปน็ ร่องเสน้ เดียว (หัวผ่า) การใชง้ าน ใช้ขันหรือคลายสกรทู ่มี ีลกั ษณะหวั ผ่า สําหรบั งานประเภทสลักเกลียวท่ยี ึดไม้ พลาสติก หรอื โลหะ ขอ้ ควรระวงั เลือกขนาดไขควงใหเ้ หมาะสมกับหวั สกรู การอบรมครูออนไลน์วชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ปี 2562 สสวท.
8 4.2 ไขควงปากแฉก รูปที่ 17 ไขควงปากแฉก มลี กั ษณะปากเปน็ สี่แฉก ใช้ขนั สกรูทีม่ หี วั ส่ีแฉก เวลาบดิ จะต้องใชแ้ รงกดที่ด้ามมากกว่าไขควงปากแบน เพื่อไม่ใหเ้ หลย่ี มของไขควงหลุดออกจากรอ่ ง การใช้งาน ใช้ขันหรอื คลายนอตที่มลี ักษณะหวั แฉก สาํ หรับงานประเภทสลกั เกลยี วท่ยี ดึ ไม้ พลาสติก หรอื โลหะ ข้อควรระวงั เลอื กขนาดไขควงให้เหมาะสมกับหวั สกรู เคร่ืองมือสําหรับการเจาะ ในการออกแบบและสร้างสรรคช์ ้ินงานบางอยา่ งจําเป็นต้องใชเ้ ครอ่ื งมอื ในการเจาะ ในท่ีนจ้ี ะ แนะนําเครอื่ งมอื สาํ หรับเจาะคอื ที่เจาะกระดาษ สวา่ นมือ สว่านไฟฟา้ 1. ทเี่ จาะกระดาษ เป็นเครอื่ งมอื ใช้สาํ หรบั ในการเจาะกระดาษ มีหลายขนาด ทํามาจากเหลก็ การใชง้ าน ใช้เจาะรูขนาดเล็ก รปู ที่ 18 ท่ีเจาะกระดาษ เหมาะสาํ หรบั เจาะกระดาษ ข้อควรระวงั ไม่ควรเจาะกระดาษทีห่ นาจนเกนิ ไป การอบรมครอู อนไลนว์ ิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ปี 2562 สสวท.
9 2. สวา่ นมือ เป็นเครือ่ งมือเจาะรูทใ่ี ชร้ ว่ มกับดอกสว่าน มีเฟืองเป็นเคร่ืองผอ่ นแรงช่วยขับดอกสวา่ นให้หมุนเจาะรู ปลายดอกสว่านจะเปน็ ตัวเจาะวัสดแุ ละนาํ เศษวัสดทุ ถี่ ูกเจาะ ออกไปจากรู การใช้งาน ใช้เจาะรขู นาดเลก็ เหมาะสาํ หรบั งานไม้ รปู ที่ 19 สว่านมือ งานโลหะ งานพลาสตกิ ทม่ี ชี น้ิ งานไมห่ นามาก ข้อควรระวงั การใส่ดอกสวา่ นควรจับยึดให้ดี ถ้าใส่ดอกสว่านไม่ดี จะหลดุ หรือหกั ได้งา่ ย 3. สวา่ นไฟฟา้ รูปที่ 20 สว่านไฟฟา้ เป็นเครอื่ งมือเจาะที่ใชร้ ่วมกบั ดอกสวา่ น ใช้กาํ ลงั ขับ จากมอเตอรไ์ ฟฟา้ ใชใ้ นการเจาะรใู นงานโลหะหรืองานไม้ ปจั จุบันสว่านไฟฟา้ เปน็ ทีน่ ิยมใชก้ ันมากกวา่ สวา่ นชนิดอ่นื ๆ เพราะมีความสะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา ประสิทธิภาพ การทาํ งานสงู การใช้งาน ใช้เจาะรู เหมาะสาํ หรบั งานไม้ งานโลหะ งานกอ่ สร้าง ขอ้ ควรระวงั ไม่ควรใช้ดอกสวา่ นผิดประเภท เชน่ ดอกสวา่ นเจาะคอนกรีตไม่ควรนาํ ไปเจาะเหลก็ การอบรมครอู อนไลนว์ ิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ปี 2562 สสวท.
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: