Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 7

หน่วยที่ 7

Published by 6032040034, 2018-08-29 00:43:57

Description: หน่วยที่ 7

Search

Read the Text Version

หนว่ ยท่ี 7ส่อื กลางการส่งข้อมลู

แบบฝึกหดั เครือข่าย LAN ไร้สาย1. เครอื ข่ายแลนไร้สาย มีขอ้ แตกต่างจากเครือขา่ ยแลนแบบมีสายอยา่ งไร จงอธบิ าย ตอบ เครือข่ายแลนแบบมีสายจะใช้สายเคเบิลเป็นสื่อกลางการส่งสัญญาณไฟฟ้าหรือแสง ในขณะที่เครือข่ายไร้ สายจะใช้คลนื่ วิทยุเป็นสื่อกลางส่งผา่ นขอ้ มูล สาหรับเครอื่ งคอมพวิ เตอร์เดสก์ทอปทวั่ ไป สามารถเชือ่ มตอ่ เครือข่าย ไร้สายด้วยการ์ดเครือข่ายไร้สาย ซ่ึงมีลักษณะเป็นการ์ดใช้สาหรับเสียบเข้ากับสล็อตบนเมนบอร์ดภายในเคส คอมพิวเตอร์ แต่ในปัจจุบันนี้ เราสามารถใช้การ์ดเครือข่ายแบบไร้สายท่ีอยู่ในรูปแบบของ USB NIC ท่ีสามารถ เสียบเข้ากบั พอร์ต USB ไดท้ ันที ซึ่งนับได้ว่าช่วยเพิ่มความสะดวกและเคลื่อนยา้ ยไดง้ ่าย รวมถึงยังมีการด์ เครือขาย ไร้สายชนิดพีซีการ์ดทน่ี ามาใช้กับโนต้ บุ๊ค คอมพวิ เตอร์ อย่างไรก็ตาม สาหรบั โน้ตบคุ๊ รนุ่ ใหม่ในปัจจุบนั มกั จะผนวก การด์ เครอื ขา่ ยไรส้ ายมาใหเ้ รยี บร้อย2. ในอนาคตเครือข่ายไร้สายจะนามาใช้ทดแทนเครือข่ายแบบมีสายทั้งหมด เป็นคากล่าวท่ีจริง หรอื ไม่ จงบอกเหตุผล ตอบ เป็นจริง เพราะเครอื ข่ายไร้สายนน้ั มีการติดต้ังอุปกรณท์ ี่ไมย่ ุงยากซับซ้อนและไม่ตอ้ งมีสายแลนโยงให้ เกะกะ3. วิธีการเช่ือมต่อเครือข่ายแลนไร้สายแบบ Ad-Hoc แตกต่างจากInfrastructureอย่างไร จง อธบิ าย ตอบ การเช่ือมต่อแบบกลุ่มส่วนตัว(Ad-Hoc) เป็นการเช่ือมต่อท่ีประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 2 เคร่ืองขึ้นไปท่ีติดตั้งการ์ดแลนไร้สาย ทาเช่ือมต่อส่ือสารโดยไม่ผ่านอุปกรณ์กระจายสัญญาณ(Access Point) โดยเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถส่ือสารแลกเปล่ียนข้อมูลต่างๆ ได้เช่น แชร์ไฟล์ต่างๆ เครื่องพิมพ์ เปน็ ต้น การเช่ือต่อแบบกลุ่มโครงสร้าง(Infrastructure) เป็นการเช่ือมต่อที่มีอุปกรณ์กระจายสัญญาญ (Access Point) เป็นตัวกลางทาหน้าที่รับส่งสัญญาณจากเคร่ืองคอมพิวเตอรไ์ ร้สายและไปสู่เครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ี่อยู่ ในโครงสรา้ งเดยี วกนั โดยสามารถแชรไ์ ฟลต์ ่างๆ เครอ่ื งพิมพ์ เปน็ ต้น

4. การจดั การกบั ระบบความปลอดภยั บนเครอื ข่ายไร้สาย ด้วย SSID เป็นอยา่ งไร จงอธิบาย ตอบ การใช้งาน Service Set Identifier เป็นช่ืออ้างอิงในการเข้าใช้ระบบเครือข่ายไร้สายเครื่อง คอมพิวเตอร์ ที่ต้องการเชื่อมโยงเข้าใช้เครือข่ายจะต้องกาหนด SSID ของเครื่องให้ตรงกับ SSID ของ เครือขา่ ย แต่การ SSID ในการรักษาความปลอดภยั ควรที่จะ Disable ฟังกช์ น่ั SSID Broadcast ของอปุ กรณ์ Access Point เพ่ือไม่ให้เครื่องคอมพิวเตอร์จากภายนอกเครือข่ายสามารถตรวจจับ SSID ท่ีแพร่กระจาย ออกมา และเข้าใช้งานเครือข่ายไร้สายโดยไม่ได้รับอนุญาต การใช้ระบบรักษาความปลอดภัยด้วย SSID ถือ เป็นการรักษาความปลอดภัยระดับพ้ืนฐานมีความปลอดภัยไม่มากนกั ควรใช้งานร่วมกับระบบความปลอดภัย ไม่มากนัก ควรใช้รว่ มกับระบบความปลอดภัยในเครอื ข่ายไร้สายแบบอน่ื ๆ5. การจัดการกับระบบความปลอดภัยบนเครือข่ายไร้สาย ด้วยการกลั่นกรองหมายเลขแมค แอดเดรส มีประโยชนอ์ ย่างไร ตอบ เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการรักษาความปลอดภัยเครือข่ายไร้สาย ด้วยการตั้งค่า MAC Address ของ อปุ กรณ์เครือข่ายเป็นการอ้างอิง ซึ่งค่า MAC Address เป็นหมายเลขที่ไม่ซ้ากันเลย ทาให้การควบคุมหรือ การกลั่นกรองผใู้ ช้ทาได้ง่ายขึ้น เหมาะสาหรับการใช้งานระบบเครือข่ายไร้สายภายในบ้าน หรือสานักงาน ที่ มจี านวนผู้ใชง้ านไม่มากนักระบบการกรองค่า MAC Address สามารถระบุตัวตนของผู้ใช้ว่ามีสิทธิเช่ือมต่อ เข้ามาในระบบหรือไม่ เพราะระบบจะมีข้อมูล MAC Address ที่สามารถเข้าใชง้ านได้เก็บเปน็ ฐานข้อมูลอยู่ ในเคร่ือง เคร่ืองคอมพิวเตอรท์ ่ไี ม่อยูใ่ นฐานข้อมูลก็ไมส่ ามารถเขา้ มาในระบบได้6. จงสรุปความแตกต่างของวธิ ีการเข้ารหสั ลับแบบWEPกบั WPA มาพอเข้าใจ ตอบ WEP (Wired Equivalent Privacy) เป็นเทคโนโลยีท่ีสร้างความปลอดภัยให้กับเครือข่ายไร้สาย โดย WEP นั้นมีหน้าทีเ่ ข้ารหัสและถอดรหัสข้อมูล การตรวจสอบผ้ใู ชโ้ ดยคีย์ขนาด 64 บติ หรือ 128 บิต ใน การเข้ารหสั ข้อมลู การตรวจสอบผู้ใช้ (Authentication) จะถูกกาหนดเอาไว้ 2 แบบคือ ไม่มีการตรวจสอบ รหัสลับ และมีการตรวจสอบรหสั ลับเพื่อเปน็ กลไกท่ีจะตรวจสอบวา่ ผูใ้ ช้มสี ทิ ธจิ ะเขา้ มาในเครือข่ายหรือไม่ WPA (Wi-Fi Protected Access) เป็นมาตรฐานการรักษาความปลอดภัย ในเครือข่ายไร้สายท่ีพัฒนา โดย Wi-Fi Alliiance (WECA) เพื่อเป็นการอุดช่องโหว่ของการรักษาความปลอดภัยให้กับเครือข่ายแบบไร้ สายแบบ WPA เป็นหน่ึงในกลไกการตรวจสอบผู้ใช้ โดยอาศัยการเข้ารหัสและถอดรหัส 2 วธิ ีคือ แบบแรก เป็นรูปแบบ TKIP (Temporal Key Integrity Protocol) ร่วมกับ MIC (Message Integrity Code) และ แบบที่ปลอดภัยสูงกว่าวิธีของ WEP และอุปกรณ์ Wireless สาหรบั เครือข่ายกห็ ันมาใชเ้ ทคโนโลยีนก้ี ันมาก ข้ึน ในอนาคตจะมีการนาเอาระบบการเข้ารหัสแบบใหม่ที่เรียกว่า AES (Advanced Encryption Standard)

7. ความเร็วของเครอื ข่ายไร้สาย ขน้ึ อยู่กบั ปจั จยั อะไรบา้ ง จงอธิบาย ตอบ เกี่ยวข้องกับมาตรฐานเครือข่ายที่นามาใช้งานบนเครอื ข่ายไรส้ ายด้วย เช่น มาตรฐาน 802.11b จะมี ความเร็วที่ 11 Mbps ในขณะท่ี 802.11g จะมีความเร็วท่ี 54 Mbps เป็นต้น นอกจากนี้ปัจจัยด้าน ระยะทางก็ส่งผลต่อความเร็ว กล่าวคือหากระยะทางของโหนดท่ีติดต่อกบั อุปกรณ์แอกเซสพอยต์น้ันอยหู่ ่าง เกนิ รัศมีของสัญญาณ ดังน้ันบริเวณนอกขอบเขตรัศมีดังกล่าว อาจติดตอ่ สอื่ สารไดอ้ ยู่ แต่ความเรว็ จะลดลง ซ่ึงอาจเหลือเพียง 1 Mbps เท่าน้ัน หรืออาจติดต่อไม่ได้เลยกรณีขอบเขตท่ีไกลออกไป สาหรับปัจจัย สุดท้ายที่จะกล่าวถึงก็คือ การถูกแทรกแซงด้วยสัญญาณรบกวน เช่น บริเวณใกล้เคียงมีเสารับส่งวิทยุที่ทา ใหม้ คี ลื่นวทิ ยุแทรกแซงเข้ามา รวมถึงอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกสท์ ี่ใช้งานตามบา้ นท่ัวไป เช่น เครื่องทาความเย็น มอเตอร์ไฟฟา้ และเครื่องปรับอากาศ เปน็ ต้น8. ขอบเขตรศั มขี องเครือข่ายไรส้ ายทคี่ รอบคลุมตามบรเิ วณตา่ งๆ จะถูกลดทอนลงดว้ ยอะไรบ้าง ตอบ บริเวณนนั้ มีตกึ อาคาร ซงึ่ เปน็ คอนกรีต9. หากตอ้ งการเชอื่ มโยงเครือขา่ ยไรส้ ายใหไ้ กลยง่ิ ยิง่ ขึ้นกว่าเดมิ ควรใชว้ ธิ ีใด จงอธบิ าย ตอบ ใช้ Wireless Signal Booster เป็นอุปกรณ์เครือข่ายไร้สายท่ีใช้เพิ่มระยะทางและประสิทธิภาพการ ทางานของ Access Point โดยการเพ่มิ กาลังส่งของสัญญาณเพือ่ ใหไ้ ด้รัศมีการใช้งานทีม่ ากขึ้นกวา่ เดิม

10. Wi-Fi Allianceคืออะไร มบี ทบาทสาคญั ตอ่ เครือขา่ ยไร้สายอยา่ งไร ตอบ ถูกออกแบบมาสาหรับใช้งานบนอุปกรณ์ประเภท Internet of Things โดยเฉพาะ ซึ่งมีคุณสมบัติ เด่นคือกนิ พลังงานต่า เหมาะสาหรับการใช้งานในสมารท์ โฮม ชิ้นส่วนรถยนต์ หรอื อุปกรณ์ทางการแพทย์ เปน็ มาตรฐาน Wi-Fi ทใ่ี ช้งานบนยา่ นความถี่ 900 MHz มีจดุ เด่นคือกินพลังงานน้อยลงกว่ามาตรฐาน Wi- Fi ในปัจจบุ ัน แต่สามารถส่งสัญญาณได้ไกลกว่าเกือบ 2 เท่า และเนื่องจาก HaLow มีความยาวคล่นื ที่สูง กว่ามาตรฐาน Wi-Fi ปกติ ส่งผลให้มีอานาจในการทะลุทะลวงกาแพงหรือสิ่งกีดขวางได้ดีกว่า จึงเหมาะ สาหรับการใช้งานกับอุปกรณ์ประเภท Internet of Things ซ่ึงเป็นอุปกรณ์ขนาดเล็กและจาเป็นต้อง เชอ่ื มต่อหากันตลอดเวลา11. ฮอตสปอต หมายถงึ อะไร จงยกตวั อย่างสถานที่ท่นี ักศึกษาเคยใช้บรกิ าร ตอบ เป็นคาทว่ั ไปท่ีใช้กับสถานที่ในบรเิ วณเฉพาะ ท่ีเปิดบริการเครือข่ายไร้สายเพ่ือบริการแกล่ ูกค้า ตาม จุดที่แอกเซสพอยต์สามารถส่งสัญญาณเพือ่ การเชื่อมต่อไร้สายได้ โดยปกตมิ ักนาฮอตสปอตไปใช้งานตาม จุดพ้ืนที่สาธารณะ ไม่ว่าจะเป็นแหล่งธุรกิจ ห้างสรรพสินค้า และโดยท่ัวไปการใช้งานจะถูกจากัดบริเวณ เพ่ือเตรียมไว้สาหรับบริการลูกค้าภายในร้านโดยเฉพาะ แต่อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันฮอตสปอตบางพ้ืนที่ ไดเ้ ปดิ บริการให้ใช้ฟรี โดยไม่เสยี ค่าใชจ้ า่ ย สถานท่ที ่เี คยใช้ ได้แก่ หา้ ง Lotus หา้ ง Big c ห้าง โรบนิ สัน วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาเพชรบุรี12. จงสรุปวิธีการกระจายคลนื่ เครือข่ายไร้สายด้วยวิธี DSSS, FHSSและOFDM ตอบ Direct Sequence Spread Spectrum (DSSS) เป็นเทคนิคที่ยังใช้คล่ืนพาหะท่ีต้องระบุ ความถ่ีท่ีใช้ โดยมันสามารถส่งข้อมูลได้มากกว่าแบบ Narrow Band วิธีนี้เป็นวิธีที่เหมาะกับ

สภาพแวดล้อมท่ีมีการแทรกสอดรบกวนจากคลื่นวิทยุอ่ืน ๆ อย่างรุนแรง Frequency - Hopping Spread Spectrum (FHSS) การส่งสัญญาณรูปแบบนี้จะใช้ความถี่แคบพาหะเพียงความถ่ีเดียว (Narrow Band) โดยเน้นการนาไปใช้งาน ซงึ่ จะเป็นตวั กาหนดว่า ถ้าคานงึ ถึงปัญหาทางดา้ นประสทิ ธภิ าพ และคล่ืนรบกวนก็ควรใช้ วิธี DSSS ถ้าต้องการใช้ Adapter ไร้สายขนาดเล็กและราคาไม่แพงสาหรับ เครอ่ื ง Notebook หรือเคร่อื ง PDA ก็ควรเลือกแบบ FHSS Orthogonal Frequency Division Multiplex (OFDM) เทคนิคนี้ถูกนามาใช้เพื่อเพิ่มความเร็วใน การส่งข้อมูลตามมาตรฐานใหม่ ๆ ของระบบเครือข่ายไร้สาย คือ IEEE 802.11a และ 802.11g การส่ง สัญญาณคลื่นวิทยแุ บบน้ีเป็นการ Multiplex สัญญาณโดยชอ่ งสัญญาณความถจ่ี ะถูกแบ่งออกเปน็ ความถี่ พาหะย่อย (subcarrier) หลาย ๆ ความถ่ี โดยแต่ละความถี่พาหะย่อยจะต้ังฉากซ่ึงกันและกัน ทาให้มัน เป็นอิสระตอ่ กนั ความถท่ี คี่ ล่นื พาหะทต่ี ง้ั ฉากกันนัน้ ทาให้ไม่มีปัญหาการซ้อนทับของสญั ญาณที่อย่ตู ดิ กัน13. แอกเซสพอยต์ท่ีมีเสารับส่งสัญญาณหลายต้น ดีอย่างไร และนาไปใช้กับมาตรฐาน WLANใด ไดบ้ า้ ง ตอบ เพ่ือให้การกระจายสัญญาณของ AP สามารถกระจายสัญญาณได้มีคุณภาพมากย่ิงข้ึน ใช้กับ มาตรฐาน IEEE 802.1114. จงอธิบายความแตกต่างระบบSU-MIMOกบั MU-MIMO ตอบ SU-MIMO น้ันจะสามารถให้บริการรับส่งข้อมูลให้กับอุปกรณ์หนึ่งตัวเท่าน้ัน หากท่ีบ้านที่การใช้ อุปกรณ์เช่ือมต่อผ่านเร้าเตอร์หลายๆ อุปกรณ์ตัวเร้าเตอร์จะจัดสรรให้มีการรับส่งข้อมูลแบบไร้สายได้กับ แค่อุปกรณ์ตัวเดียวเท่าน้ันหลังจากน้ันจึงสลับการรับส่งข้อมูลไปยังอุปกรณ์อีกตัวหน่ึงด้วยความรวดเร็ว ทว่า MU-MIMO นั้นจะรองรับการรับส่งข้อมูลแบบไรส้ ายไปยงั อุปกรณห์ ลายๆ ตวั ไดใ้ นเวลาเดยี วกนั การใชเ้ ร้าเตอร์ท่ีมาพรอ้ มกับเทคโนโลยี SU-MIMO นน้ั จะทาใหเ้ กิดการ lag ในการส่งข้อมูลขึ้นได้(อาจจะ เร็วหรือช้าก็ข้ึนอยู่กับว่าข้อมูลท่ีรับหรือส่งไปแต่ละยังอุปกรณ์น้ันมากน้อยขนาดไหน) ดังน้ันแล้ว เทคโนโลยี MU-MIMO น้ันจึงเข้ามาแก้ปัญหาเร่ืองอาการ lag ดังกล่าวนี้เพราะมันสามารถที่จะรับส่ง

ข้อมูลให้กับอุปกรณ์ได้หลายๆ อุปกรณ์ในเวลาเดียวกัน หากจะพูดกันง่ายๆ ก็คือเร้าเตอร์ที่มาพร้อมกับ เทคโนโลยี MU-MIMO น้กี เ็ สมอื นกับวา่ มเี ร้าเตอรห์ ลายๆ อันซอ่ นอยู่ในเครอื่ งเดยี วกัน15. จงสรปุ รายละเอยี ดWLANตามมาตรฐาน802.11a,802.11b,802.11g,802.11nและ802.11ac ตอบ มาตรฐาน IEEE 802.11a เครือขา่ ยไวเลสแลนท่ที างานย่านความถี่ 5 GHz มีความเร็วในการรบั ส่ง ข้อมูล 54 Mbps สามารถทาการแพร่ภาพวิดีโอและข้อมูลท่ีต้องการความละเอียดสูงได้ โดยอัตรา ความเร็วในการรับส่งข้อมูลสามารถปรับระดับให้ช้าลงได้ เพ่ือเพ่ิมระยะทางการเชื่อมต่อให้มากขึ้น เช่น 54, 48, 36, 24 และ 11 Mbps เป็นต้น ขณะท่ีคลื่นความถี่ 5 GHz ไม่ได้ใช้งานอย่างแพร่หลาย เพราะ บางประเทศไม่อนุญาติให้ใช้คลื่นความถี่น้ี ดังนั้นปัญหาการรบกวนคลื่นความถ่ีจึงมีน้อย ต่างจากคล่ืน ความถ่ี 2.4 GHz ที่มีการใช้งานอย่างแพร่หลายทาให้สัญญาณของคล่ืนความถี่ 2.4 GHz ถูกรบกวนจาก อปุ กรณป์ ระเภทอ่ืนทีใ่ ช้คล่ืนความถ่ีเดยี วกนั ได้ ระยะทางการเชื่อมตอ่ ประมาณ 300 ฟิตจากจุดกระจายสัญญาณ Access Point หากเทียบกับมาตรฐาน 802.11b แล้ว ระยะทางจะได้น้อยกว่า 802.11b ท่ีคลื่นความถี่ต่ากว่า และท้ัง 2 มาตรฐานนี้ไม่สามารถ ทางานร่วมกันได้ ขณะที่ประเทศไทยไม่อนุญาติให้ใช้คลื่นความถ่ี 5 GHz จึงไม่เห็นอุปกรณ์ WLAN มาตรฐาน 802.11a จาหน่ายในประเทศไทย แต่ความเร็ว 54 Mbps สามารถใช้งานได้ท่ีมาตรฐาน 802.11b ทีจ่ ะกลา่ วถึงต่อไป มาตรฐาน IEEE 802.11b 802.11b เป็นมาตรฐานที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายรวมท้ังประเทศไทย ด้วยเช่นกัน ทางานท่ีคลื่นความถ่ี 2.4 GHz (คลื่นความถ่ีนี้สามารถใช้งานแบบสาธารณะในประเทศไทย ได้) มีความสามารถในการรับส่งข้อมูลท่ีความเร็ว 11 Mbps ผลิตภัณฑ์อปุ กรณ์เครือข่ายไวเลสแลนมาตร ฐานนี้ได้รับความนิยมจานวนมากมาก โดยทุกผลิดภัณฑ์ต้องสามารถทางานร่วมกันได้ อุปกรณ์ทุกยี่ห้อ ต้องผา่ นการตรวจสอบจากสถาบัน Wi-Fi Alliance เพอ่ื ตรวจสอบมาตรฐานของอุปกรณ์และความเขา้ กัน ได้ของแตล่ ะผูผ้ ลติ

อุปกรณ์ไวเลสแลนท่ีมาตรฐาน 802.11b ไปใช้ในองค์กรธุรกิจ สถาบันการศึกษา สถานท่ีสาธารณะ และกาลังแพรเ่ ข้าสสู่ ถานทพี่ กั อาศยั มากข้นึ และมาตรฐานน้มี ีระบบเขา้ รหัสขอ้ มูลแบบ WEP ท่ี 128 บติมาตรฐาน IEEE 802.11g มาตรฐาน 802.11g ใช้ความถี่ 2.4 GHz สามารถรับส่งข้อมูลที่ความเร็ว 36 -54 Mbps ซึ่งเป็นความเร็วท่ีสูงกว่ามาตรฐาน 802.11b โดยมาตรฐาน 802.11g สามารถปรับระดับความเรว็ ในการสื่อสารลงเหลือ 2 Mbps ได้ (ตามสภาพแวดล้อมของเครอื ข่ายทใี่ ช้งาน) มาตรฐานน้ีเปน็ ท่ีนยิ มของผใู้ ช้เป็นจานวนมากและเข้ามาแทนที่ 802.11b ทีค่ วามเร็วตา่ กว่ามาตรฐาน IEEE 802.11n เป็นมาตรฐานท่ีสามารถทางานบนคลื่นความถี่ 2.4 และ 5 GHz ได้ รองรับความเร็วตั้งแต่ 300-450 Mbps โดยมีเสาสัญญาณตั้งแต่ 2 - 4 เสา บนตัวอุปกรณ์กระจายสัญญาณไวเลสแลน และหากผู้ใช้ตอ้ งการใช้งานท่ีความเร็วสูงสุด เครื่องคอมพิวเตอรพ์ กพาหรืออปุ กรณ์เคล่ือนท่ตี ้องรองรบั มาตรฐาน 802.11n ด้วยเช่นกัน มาตรฐาน 802.11n สามารถทางานร่วมกบั 802.11b, g ได้ โดยไม่ทาให้ประสิทธิภาพทั้งระบบลดลงเหมือนมาตรฐาน 802.11g เม่ือมีอุปกรณ์ 802.11b เข้ามาใช้งานรว่ มกันสุดท้ายมาตรฐาน IEEE 802.11ac เป็นมาตรฐานที่ 5 GHz ให้ทรูพุทกับแลนไร้สายแบบหลายสถานีสูงกว่าที่อย่างน้อย 1 Gbps และสาหรับลิงก์เด่ียวท่ีอย่างน้อย 500 Mbps โดยการใช้ RF แบนด์วิธที่กว้างกว่า(80 หรือ160 MHz) สตรีมมากกว่า (สงู ถงึ 8 สตรมี ) และมอดูเลทท่คี วามจุสูงกว่า(สงู ถงึ 256 QAM)

สื่อกลางการส่งข้อมูลสือ่ กลางแบบใชส้ ายสัญญาณสายโคแอกเชียล (Coaxial) สายโคแอกเชียล (Coaxial) เป็นตัวกลางเชอื่ มโยงที่มีลักษณะเชน่ เดยี วกบั สายท่ีตอ่ จากเสาอากาศของโทรทัศน์ สายโคแอกเชยี ลที่ใช้ทั่วไปมี 2 ชนิด คือ 50 โอหม์ ซึ่งใชส้ ่งข้อมลู แบบดิจิตอล และ ชนดิ 75โอหม์ ซึง่ ใช้ส่งข้อมลู สัญญาณอนาล็อก สายประกอบด้วยลวดทองแดงท่ีเป็นแกนหลกั หน่ึงเส้นท่หี ้มุ ด้วยดว้ ยฉนวนอกี ช้ันหนง่ึ เพอ่ื ป้องกนั กระแสไฟฟ้าร่ัว จากนน้ั จะหุ้มด้วยตัวนาซ่งึ ทาจากลวดทองแดงถักเป็นเปียเพื่อป้องกนั การรวบกวนของคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าและสญั ญาณรวบกวนอืน่ ๆ ก่อนจะหมุ้ ชน้ั นอกสุดดว้ ยฉนวนพลาสติก ลวดทองแดงท่ีถักเป็นเปยี น้ีเองเปน็ ส่วนที่ทาใหส้ วยแบบนม้ี ชี ว่ งความถสี่ ญั ญาณไฟฟา้ สามารถผ่านได้สูงมากและนยิ มใชเ้ ปน็ ช่องสือ่ สารสัญญาณอนาล็อกเช่ือมโยงผ่านใต้ทะเลและใต้ดนิขอ้ ดแี ละข้อเสยี ของสายโคแอกเชยี ลข้อดี1. ราคาถกู2. มคี วามยดื หยนุ่ ในการใช้งาน3. ตดิ ตง้ั งา่ ย และมีน้าหนกั เบาข้อเสยี1. ถูกรบกวนจากสญั ญาณภายนอกไดง้ า่ ย2. ระยะทางจากดั

สายคู่บิดเกลียว (Twisted pair) สายคู่บิดเกลียว (Twisted pair) ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงที่หุม้ ดว้ ยฉนวนพลาสตกิ 2 เสน้ พนับิดเป็นเกลียว ทั้งน้เี พื่อลดการรบกวนจากคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายขา้ งเคียงภายในสายเดยี วกันหรือจากภายนอก เน่ืองจากสายคู่บดิ เกลยี วนีย้ อมใหส้ ญั ญาณไฟฟา้ ความถี่สงู ผา่ นได้ สาหรบั อตั ราการสง่ ข้อมลู ผ่านสายคูบ่ ิดเกลียวจะขนึ้ อยู่กบั ความหนาของสายด้วย กลา่ วคือสายทองแดงท่มี ีเสน้ ผา่ นศูนย์กลางกวา้ ง จะสามารถสง่สัญญาณไฟฟ้ากาลงั แรงได้ ทาให้สามารถสง่ ข้อมลู ดว้ ยอตั ราส่งสูง โดยทวั่ ไปแลว้ สาหรบั การส่งข้อมลู แบบดจิ ิทัล สญั ญาณที่ส่งเป็นลักษณะคล่นื ส่ีเหล่ยี ม สายคู่บิดเกลยี วสามารถใชส้ ง่ ขอ้ มูลไดถ้ ึงร้อยเมกะบิตต่อวินาทีในระยะทางไม่เกินร้อยเมตร เน่อื งจากสายคบู่ ิดเกลยี วมรี าคาไมแ่ พงมาก ใชส้ ง่ ข้อมูลไดด้ ีจึงมีการงานอยา่ งกว้างขวาง สายประเภทนี้มีดว้ ยกนั 2 ชนิดคือ สายคู่บดิ เกลียวชนิดห้มุ ฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคบู่ ดิ เกลียวทห่ี ุ้มดว้ ยลวดถกั ชน้ั นอกท่ีหนาอกี ช้นั เพ่ือป้องกนั การรบกวนของคล่ืนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า(นิยมนามาใชเ้ ป็นสายโทรศพั ท์) สายคู่บิดเกลยี วชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็นสายคู่บดิ เกลียวมีฉนวนชั้นนอกท่ีบางอีกชัน้ ทาให้สะดวกในการโค้งงอแต่สามารถป้องกนั การรบกวนของคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟ้าไดน้ ้อยกวา่ชนดิ แรกแตก่ ็มีราคาต่ากวา่ จงึ นยิ มใช้ในการเชอ่ื มต่ออุปกรณ์ในเครือขา่ ยตัวอยา่ งของสายคู่บดิ เกลียวชนดิ ไมห่ ุ้มฉนวนทเ่ี ห็นในชวี ติ ประจาวัน คอื สายโทรศัพท์ที่ใช้อยใู่ นบา้ นข้อดแี ละข้อเสียของสายคู่บิดเกลียวขอ้ ดี ข้อเสีย1. ราคาถกู 1. ถกู รบกวนจากสัญญาณภายนอกได้ง่าย2. มคี วามยืดหยุน่ ในการใช้งาน 2. ระยะทางจากดั3. ติดต้งั ง่าย และมีน้าหนักเบา

เส้นใยนาแสง (Fiber Optic) เสน้ ใยนาแสง (Fiber Optic) มแี กนกลางของสายซึง่ ประกอบดว้ ยเสน้ ใยแก้วหรอื พลาสติกขนาดเลก็หลายๆ เสน้ อยรู่ วมกนั เสน้ ใยแต่ละเส้นมีขนาดเลก็ เท่าเส้นผมและภายในกลวง และเสน้ ใยเหล่าน้ันได้รับการห่อห้มุ ดว้ ยเสน้ ใยอีกชนดิ หนึง่ ก่อนจะหุ้มช้นั นอกสดุ ดว้ ยฉนวน การสง่ ขอ้ มลู ผ่านทางสอ่ื กลางชนิดนจ้ี ะแตกตา่ งจากชนดิ อื่นๆ ซง่ึ ใชส้ ัญญาณไฟฟ้าในการส่ง แต่การทางานของสื่อกลางชนิดน้จี ะใช้เลเซอรว์ ง่ิ ผา่ นช่องกลวงของเส้นใยแต่ละเสน้ และอาศัยหลกั การหักเหของแสงโดยใช้ใยแกว้ ช้ันนอกเปน็ กระจกสะท้อนแสง การให้แสงเคลือ่ นท่ีไปในท่อแกว้ สามารถสง่ ข้อมลู ด้วยอัตราความหนาแน่นของสญั ญาณข้อมลู สงู มาก และไม่มีการก่อกวนของคล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า ปัจจุบนั ถา้ ใช้เส้นใยนาแสงกับระบบอเี ทอร์เนต็ จะใช้ได้ด้วยอัตราเรว็ หลายรอ้ ยเมกะบิต และเนื่องจากความสามารถในการสง่ ข้อมลู ด้วยอัตราความหนาแน่นสงู ทาใหส้ ามารถสง่ ข้อมูลท้ังตวั อกั ษรเสยี ง ภาพกราฟิก หรือวดี ที ัศน์ได้ในเวลาเดียวกนั อีกทงั้ ยังมีความปลอดภัยในการสง่ สูง แตอ่ ยา่ งไรก็มีข้อเสยีเน่อื งจากการบิดงอสายสัญญาณจะทาใหเ้ ส้นใยหกั จึงไม่สามารถใช้สอื่ กลางนีใ้ นการเดนิ ทางตามมมุ ตึกได้เสน้ ใยนาแสงมลี กั ษณะพเิ ศษที่ใชส้ าหรับเช่ือมโยงแบบจดุ ไปจุด ดงั นน้ั จึงเหมาะท่จี ะใช้กับการเชอ่ื มโยงระหว่างอาคารกบั อาคารหรอื ระหวา่ งเมอื งกับเมือง เส้นใยนาแสงจึงถกู นาไปใชเ้ ป็นสายแกนหลักขอ้ ดีข้อเสยี ของสายใยแก้วนาแสงขอ้ ดี1. สง่ ขอ้ มูลด้วยความเรว็ สงู2. ไมม่ กี ารรบกวนทางแมเ่ หล็กไฟฟ้า3. ส่งขอ้ มลู ได้ในปริมาณมากข้อเสีย1. มรี าคาแพงกวา่ สายสง่ ข้อมูลแบบสายค่ตู ีเกลียวและโคแอกเชียล2. ต้องใช้ความชานาญในการติดตั้ง3. มีคา่ ใชจ้ ่ายในการติดตง้ั สูงกว่า สายคู่ตเี กลยี วและโคแอกเชยี ล

ส่อื กลางแบบไร้สายสญั ญาณ เปน็ การสื่อสารแบบไร้สายอาศัยคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้าเปน็ สือ่ กลางนาสัญญาณ ซึง่ คล่นื แมเ่ หล็กไฟฟา้ ที่สามารถนามาใช้ในการส่ือสารข้อมูลมหี ลายชนิด แบ่งตามช่วงความถที่ ่แี ตกตา่ งกนั สือ่ กลางของการสอ่ื สารแบบน้ี เช่น อนิ ฟาเรด(Infared : IR)ไมโครเวฟ(microwave) คลื่นวทิ ยุ (radio wave)และดาวเทียมส่ือสาร(communicatios satellite)อินฟาเรด สอื่ กลางประเภทน้ีมักใช้กับการสอื่ สารขอ้ มลู ท่ไี มม่ ีส่งิ กีดขวางระหวา่ งตวั ส่งและตัวรบั สญั ญาณ เช่นการสง่ สญั ญาณจากรีโมตคอนโทรลไปยงั เคร่อื งรบั โทรทศั น์หรอื วิทยุ การเช่อื มต่อคอมพวิ เตอรก์ บั คอมพวิ เตอร์โดยผา่ นพอร์ตไออารด์ ี (The Infared Data Association : IrDA) ซง่ึ เป็นการเช่ือมต่อเครือข่ายระยะใกล้ขอ้ ดีของคลืน่ อินฟราเรด:1. ใช้พลงั งานน้อย จงึ นยิ มใชก้ ับเคร่ือง Laptops ,โทรศัพท์2. แผงวงจรควบคมุ ราคาต่า (Low circuitry cost) เรยี บงา่ ยและสามารถเชื่อมต่อกับระบบอืน่ ได้อยา่ งรวดเร็ว3. มคี วามปลอดภยั ในการเร่ืองข้อมูลสงู ลักษณะการส่งคลื่น( Directionality of the beam)จะไมร่ ั่วไปที่เครือ่ งรบั ตวั อ่นื ในขณะที่สง่ สญั ญาณ4. กฎขอ้ หา้ มระหวา่ งประเทศของ IrDA (Infrared Data Association)มคี อ่ นข้างน้อยสาหรบั นักเดนิ ทางทั่วโลก5. คลนื่ แทรกจากเครือ่ งใชไ้ ฟฟ้าใกล้เคียงมนี ้อย (high noise immunity)ข้อเสยี ของอนิ ฟราเรด:1. เคร่อื งสง่ (Transmitter) และเครื่องรบั (receiver) ตอ้ งอยใู่ นแนวเดยี วกัน คือต้องเห็นว่าอยูใ่ นแนวเดียวกนั2. คล่นื จะถูกกันโดยวตั ถทุ ่ัวไปได้ง่ายเชน่ คน กาแพง ตน้ ไม้ ทาใหส้ อ่ื สารไม่ได้3. ระยะทางการสือ่ สารจะนอ้ ย ประสิทธภิ าพจะตกลงถ้าระยะทางมากขน้ึ4. สภาพอากาศ เชน่ หมอก แสงอาทิตยแ์ รงๆ ฝนและมลภาวะมผี ลตอ่ ประสทิ ธิภาพการส่ือสาร5. อัตราการส่งข้อมลู จะชา้ กว่าแบบใช้สายไฟทวั่ ไปไมโครเวฟ เปน็ สื่อกลางในการสื่อสารทีมีความเร็วสูง ใช้สาหรับการเช่ือมต่อระยะไกลโดยการส่งสญั ญาณคลนื่แม่เหล็กไฟฟ้าไปในอากาศพร้อมกบั ข้อมูลทต่ี ้องการส่ง และตอ้ งมสี ถานีทที่ าหน้าท่ีสง่ และรับข้อมูล และเนื่องจากสญั ญาณไมโครเวฟจะเดนิ ทางเปน็ เสน้ ตรงไม่สามารถเลยี้ วตามความโคง้ ของผวิ โลกได้ จงึ ต้องมีการตง้ัสถานีรบั ส่งขอ้ มลู เปน็ ระยะ และส่งข้อมลู ต่อกันระหวา่ งสถานี จนกว่าจะถึงสถานปี ลายทาง และแต่ละสถานจี ะ

ต้งั อย่มู นท่ีสูง เช่น ดาดฟ้า ตึกสงู หรือยอดเขา เพื่อหลกี เลย่ี งการชนส่ิงกีดขวางในแนวการเดินทางของสญั ญาณ การสง่ ข้อมลู ผ่านสื่อกลางชนิดนเ้ี หมาะกับการส่งข้อมูลในพ้ืนที่ห่างไกลมากๆและไมส่ ะดวกในการวางสายสญั ญาณ ซงึ่ เสาสัญญาณแต่ละเสาสามารถวางหา่ งกนั ไดถ้ ึง 80 กโิ ลเมตร ตวั อยา่ งการส่งสญั ญาณไมโครเวฟผา่ นพน้ื ผวิ ดนิข้อดีและข้อเสียของระบบไมโครเวฟข้อดี1. ใชใ้ นพ้ืนท่ีซ่ึงการเดนิ สายกระทาไดไ้ ม่สะดวก2. ราคาถกู กวา่ สายใยแกว้ นาแสงและดาวเทียม3. ติดตั้งงา่ ยกว่าสายใยแก้วนาแสงและดาวเทยี ม4. อัตราการสง่ ข้อมลู สูงข้อเสยีสญั ญาณจะถกู รบกวนไดง้ า่ ยจากคล่นื แม่เหล็กไฟฟ้า จากธรรมชาติ เช่น พายุ หรือฟา้ ผา่คล่ืนวิทยุ (Radio Wave) วิธีการส่อื สารประเภทนจ้ี ะใช้การส่งคลน่ื ไปในอากาศ เพอ่ื ส่งไปยังเคร่ืองรับวทิ ยุโดยรวมกับคลื่นเสยี งมีความถเ่ี สียงท่เี ปน็ รปู แบบของคล่นื ไฟฟา้ ดงั นัน้ การสง่ วทิ ยุกระจายเสียงจึงไม่ต้องใช้สายสง่ ข้อมลู และยังสามารถส่งคล่ืนสัญญาณไปได้ระยะไกล ซง่ึ จะอยู่ในชว่ งความถ่รี ะหวา่ ง 104 - 109 เฮิรตซ์ ดงั ันั้น เครื่องรบัวทิ ยุจะต้องปรบั ช่องความถีใ่ ห้กับคล่นื วทิ ยุท่สี ง่ มา ทาให้สามารถรับข้อมูลได้อยา่ งชดั เจน

ขอ้ ดี1. มีการกระจายเสียงครอบคลุมพ้ืนท่ีได้อยา่ งกว้างขวาง2. มีความรวดเร็วในการสง่ ข่าวสาร3. เป็นส่อื ท่มี ผี ลทางจติ วทิ ยาสงู4. สร้างความถีแ่ ละการเข้าถึงผบู้ ริโภคไดม้ ากขอ้ เสีย1. ขาดการจูงใจดา้ นภาพ ไมส่ ามารถสาธิตการทางานของสินค้าหรอื บรกิ ารได้2. อายุของข่าวสารสน้ั3. ผฟู้ ังสามารถเลือกฟงั ไดห้ ลายสถานี อาจทาให้พลาดข่าวสารท่นี าเสนอดาวเทยี ม (satilite) ได้รับการพัฒนาข้นึ มาเพื่อหลีกเลี่ยงข้อจากัดของสถานีรบั - สง่ ไมโครเวฟบนผิวโลก วตั ถุประสงค์ในการสรา้ งดาวเทียมเพื่อเป็นสถานีรบั - สง่ สญั ญาณไมโครเวฟบนอวกาศ และทวนสญั ญาณในแนวโคจรของโลกในการส่งสัญญาณดาวเทียมจะต้องมสี ถานีภาคพ้นื ดนิ คอยทาหนา้ ทีร่ บั และส่งสัญญาณข้นึ ไปบนดาวเทยี มท่ีโคจรอย่สู ูงจากพ้นื โลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทียมเหลา่ นัน้ จะเคลอ่ื นที่ด้วยความเร็วท่เี ท่ากับการหมนุ ของโลกจึงเสมือนกับดาวเทยี มนนั้ อยู่นง่ิ อยู่กบั ท่ี ขณะท่โี ลกหมุนรอบตวั เอง ทาให้การส่งสญั ญาณไมโครเวฟจากสถานีหนง่ึ ขนึ้ ไปบนดาวเทียมและการกระจายสัญญาณ จากดาวเทียมลงมายงั สถานตี ามจดุ ต่างๆ บนผิวโลกเปน็ ไปอย่างแมน่ ยา ดาวเทียมสามารถโคจรอยู่ได้ โดยอาศยั พลังงานทีไ่ ด้มาจากการเปลี่ยน พลงั งานแสงอาทิตย์ ดว้ ยแผงโซลาร์ (solar panel)ขอ้ ดแี ละข้อเสียของระบบดาวเทยี มขอ้ ดี1. ส่งสัญญาณครอบคลมุ ไปยังทุกจดุ ของโลกได้2. คา่ ใชจ้ ่ายในการใหบ้ ริการส่งขอ้ มูลของระบบดาวเทยี มไม่ขนึ้ อยกู่ ับระยะทางทีห่ ่างกันของสถานีพืน้ ดินข้อเสยีมเี วลาหน่วง (Delay Time) ในการส่งสัญญาณ

บลูทูธ (Bluetooth) ระบบสือ่ สารของอปุ กรณ์อเิ ล็คโทรนิคแบบสองทาง ดว้ ยคล่ืนวิทยุระยะสน้ั (Short-Range RadioLinks) โดยปราศจากการใชส้ ายเคเบิ้ล หรอื สายสัญญาณเชื่อมต่อ และไมจ่ าเปน็ จะตอ้ งใช้การเดนิ ทางแบบเสน้ ตรงเหมือนกบั อินฟราเรด ซงึ่ ถือวา่ เพ่มิ ความสะดวกมากกวา่ การเชื่อมต่อแบบอินฟราเรด ทีใ่ ชใ้ นการเช่อื มต่อระหวา่ งโทรศัพท์มือถือ กบั อุปกรณ์ ในโทรศพั ท์เคล่ือนทร่ี ่นุ ก่อนๆ และในการวจิ ัย ไมไ่ ด้มุ่งเฉพาะการส่งขอ้ มูลเพียงอยา่ งเดยี ว แตย่ ังศึกษาถึงการสง่ ข้อมูลทีเ่ ปน็ เสียง เพอื่ ใช้สาหรับ Headset บนโทรศพั ทม์ ือถือด้วยเทคโนโลยี บลูทูธ เป็นเทคโนโลยสี าหรับการเชอ่ื มตอ่ อุปกรณแ์ บบไร้สายที่น่าจบั ตามองเป็นอย่าง ยงิ่ ในปจั จบุ ัน ท้ังในเรื่องความสะดวกในการใชง้ านสาหรับผ้ใู ช้ทั่วไป และประสิทธิภาพในการทางาน เนอื่ งจากเทคโนโลยี บลูทธู มรี าคาถูก ใชพ้ ลังงานน้อย และใช้เทคโนโลยี short – range ซึ่งในอนาคต จะถูกนามาใชใ้ นการพฒั นา เพ่อื นาไปสกู่ ารแทนทอี่ ปุ กรณต์ า่ งๆ ท่ีใช้สาย เคเบิล เชน่ Headset สาหรบั โทรศพั ท์เคลอ่ื นที่ เปน็ตน้ ั เทคโนโลยกี ารเชื่อมโยงหรือการสื่อสารแบบใหม่ท่ีถูกคิดค้นข้นึ เป็นเทคโนโลยขี องอินเตอร์เฟซทางคลืน่ วิทยุ ตัง้ อยบู่ นพ้นื ฐานของการสื่อสารระยะใกลท้ ป่ี ลอดภัยผา่ นช่องสญั ญาณความถ่ี 2.4 Ghz โดยทถี่ กูพฒั นาขนึ้ เพ่อื ลดขอ้ จากัดของการใช้สายเคเบิลในการเช่อื มโยงโดยมี ความเร็วในการเช่ือมโยงสงู สุดท่ี 1 mbpระยะครอบคลุม 10 เมตร เทคโนโลยีการส่งคล่ืนวทิ ยุของบลทู ูธจะใชก้ ารกระโดดเปล่ียนความถี่ (Frequencyhop) เพราะวา่ เทคโนโลยนี ้เี หมาะทีจ่ ะใชก้ บั การส่งคลน่ื วิทยทุ ่ีมีกาลงั ส่งต่าและ ราคาถูก โดยจะแบง่ ออกเปน็หลายชอ่ งความถ่ึขนาดเล็ก ในระหวา่ งทีม่ ีการเปล่ียนชอ่ งความถ่ึที่ไม่แนน่ อนทาให้สามารถหลีกหนีสัญญานรบกวนที่เขา้ มาแทรกแซงได้ ซึ่งอุปกรณ์ที่จะไดร้ บั การยอมรบั วา่ เป็นเทคโนโลยบี ลทู ธู ตอ้ งผา่ นการทดสอบจาก Bluetooth SIG (Special Interest Group) เสียกอ่ นเพอ่ื ยนื ยันวา่ มนั สามารถทจี่ ะทางานรว่ มกับอปุ กรณ์บลูทูธตวั อ่ืนๆ และอินเตอรเ์ น็ตได้ขอ้ ดี1.เพิม่ ความสะดวกสบายในการใชอ้ ปุ กรณ์อิเลค็ โทรนิคต่างๆ2.สามารถโอนถ่ายขอ้ มูลต่างๆได้งา่ ยและรวดเรว็ ขนึ้3.ประหยดั ค่าใชจ้ ่ายในการสง่ ข้อมูลหรือรปู ภาพต่างๆ4.การใชบ้ ลู ทธู จะช่วยประหยัดเวลาในการตั้งอปุ กรณ์ต่างๆ และสามารถเคลอื่ นย้ายอปุ กรณ์ไดง้ ่าย

5.ลดความกงั วลในการใชโ้ ทรศัพท์ เนื่องจากถา้ ผูใ้ ชเ้ ลอื กใช้ Smalltalk แบบมีสายต่อกต็ ้องคอยกงั วลว่าสายจะไปเกี่ยวกบั อะไรหรือไม่ แต่ถ้าเลอื กใชช้ ดุ Booth Headset ผูใ้ ชก้ ็หมดความกงั วลได้เลยว่าสายSmalltalk จะไปเก่ียวถูกอะไรหรือไมเ่ วลาใชโ้ ทรศัพท์6.เม่ือเปรียบเทียบกับการใชอ้ ินฟาเรดแล้ว การใช้ Bluetooth มีขอ้ ดกี วา่ เน่ืองจากการรับสง่ ข้อมลู แบบอินฟาเรดต้องใช้แสงเปน็ ส่ือในการตดิ ต่อและผู้ส่งกับผ้รู บั จะต้องอยใู่ นตาแหน่งทต่ี รงกนั หา้ มมีส่ิงกดี ขวางระหวา่ งผู้สง่ กับผ้รู ับ Bluetooth ใช้สัญญาณวิทยใุ นการติดต่อสอ่ื สารผูร้ บั และผสู้ ง่ สามารถอยู่จุดไหนก็ได้ภายใตร้ ัศมีไม่เกิน 10 เมตรข้อเสยี1.ความงา่ ยดายในการโอนถ่ายข้อมลู อาจทาให้เกิดอาชญากรรมเพ่ิมมากข้ึนได้ถ้าบุคคลเหล่านัน้ นาบลู ทูธไปใชง้ านในแบบทไี่ ม่เหมาะสม2.ถ้ามีการเปิดบลู ทูธท้งิ ไว้นานอาจมกี ลุ่มบคุ คลท่ไี ม่ประสงคด์ ปี ล่อยตัวไวรสั มาทีอ่ ุปกรณ์อเิ ล็คโทรนคิ ของเราได้ซงึ่ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินและข้อมูลต่างๆได้3.การใช้ Booth Headset และโทรศพั ทม์ ือถืออยา่ งเพลดิ เพลินและความสะดวกสบาย อาจทาให้ผู้ใชข้ าดความระมัดระวังได้4.การสง่ ข้อมูลทาง Bluetooth อาจทาใหเ้ กดิ การดักฟังหรือการลักลอบขโมยขอ้ มลู ตา่ งๆได้ถึงแม้ว่าจะทาได้ยากก็ตาม

ปจั จัยท่ีส่งผลกระทบต่อการเลอื กใช้ส่ือกลางตน้ ทนุ (Cost)การพิจารณาตน้ ทนุ ของสือ่ กลาง ควรพจิ ารณาในสิ่งต่อไปนี้ คอื1) พิจารณาตน้ ทนุ ของตวั อุปกรณ์ที่ใช ้2) พิจารณาตน้ ทนุ การตดิ ตัง้ อุปกรณ์3) เปรียบเทียบราคาของอปุ กรณ์ความเรว็ (Speed)การพิจารณาความเรว็ ของสอ่ื กลาง ควรพิจารณาในสง่ิ ตอ่ ไปนคี้ ือ 1) ความเร็วในการส่งผ่านสัญญาณข้อมูล (Data Transmission Speed) หมายถึง ความเร็วในการสง่ ผา่ น สัญญาณขอ้ มูล คานวณไดจ้ ากจานวนบติ ตอ่ วินาที ซงึ่ ความเร็วน้ขี ึ้นอยูก่ ับแบนดว์ ดิ ธ์ของส่ือกลางน้นั ๆ 2) ความเร็วในการแพร่สัญญาณข้อมูล (Propagation Speed) หมายถึง ความเร็วที่สัญญาณข้อมูลสามารถ เคลือ่ นทผี่ ่านสอ่ื กลางไปได้ระยะทาง (Distance) ส่ือกลางแต่ละชนิดมีความสามารถในการส่งสัญญาณข้อมูลไปได้ในระยะทางต่างกัน ดังนั้นการเลอื กใชส้ ื่อกลางแต่ละชนิด จะต้องทราบข้อจากัดทางดา้ นระยะทาง เพ่อื ท่จี ะตอ้ งทาการติดต้งั อปุ กรณ์ ทบทวนสญั ญาณเม่อื ใชส้ ่อื กลางน้นั ในระยะทางไกล ๆสภาพแวดล้อม (Environment) สภาพแวดลอ้ มถือเป็นปัจจยั สาคัญอย่างหนง่ึ ในการเลอื กใช้สอ่ื กลาง ตวั อยา่ งเชน่ สภาพแวดล้อมเปน็ โรงงานอตุ สาหกรรมเครื่องจกั รกล ซึง่ มีคลื่นแมเ่ หลก็ ไฟฟ้าและรังสีตา่ ง ๆ ดงั นั้นการเลือกใช้ ส่อื กลาง ควรเลือกสือ่ กลางท่ีทนทานต่อสัญญาณรบกวนได้อย่างดีความปลอดภัยของข้อมูล การเลอื กใช้สอ่ื กลางต้องคานึงถงึ ความปลอดภยั ของข้อมูล หากสอื่ กลางทีเ่ ลอื กใชไ้ ม่สามารถป้องกนั การลกั ลอบนาเข้าข้อมูลไปได้ ดังนัน้ ในการส่ือสารขอ้ มูลจงึ จาเป็นต้องมีการเขา้ รหสั ข้อมูลก่อนทีจ่ ะสง่ ไป ในสอื่ กลาง และผรู้ ับกต็ ้องมกี ารถอดรหสั ที่ใช้หลักเกณฑเ์ ดียวกัน จึงสามารถนาข้อมูลนนั้ ไปใช้งานได้จริง

ความปลอดภัยของข้อมูล หากส่ือกลางที่เลือกใช้ไม่สามารถป้องกันการลักลอบนาข้อมูลไปได้ ดังนั้นการสื่อสารข้อมูลจะต้องมีการ เข้ารหัสข้อมูลก่อนที่จะส่งไปในสื่อกลาง และผู้รับก็ต้องมีการถอดรหัสที่ใช้หลักเกณฑ์เดียวกัน จึงจะสามารถนาขอ้ มลู น้นั ไปใชไ้ ด้

ปัจจยั ทสี่ ่งผลกระทบตอ่ การขนส่งข้อมลู คุณภาพของข้อมูลท่ีสง่ ผ่านในระบบส่ือสาร จะพจิ ารณาสงิ่ สาคัญ คือ คุณลักษณะของสื่อกลาง และสัญญาณ การส่งผ่านข้อมูลในระบบสื่อสาร สิ่งสาคัญที่ต้องพิจารณา เป็นพิเศษ คือ อัตราความเร็วในการส่งขอ้ มูล (Data Rate) และระยะทาง (Distance) โดยมจี ดุ ประสงค์เพอื่ ใหส้ ามารถส่ง ขอ้ มลู ดว้ ยความเร็วสงู และส่งได้ระยะไกลตัวอย่างปจั จยั ทสี่ ่งผลกระทบในดา้ นความเรว็ และระยะทางทมี่ ตี ่อ สอื่ กลาง ซึ่งประกอบด้วย 1. แบนด์วิดธ์ (Bandwidth) คือ ย่านความถี่ของช่องสัญญาณ หากมีช่องสัญญาณขนาดใหญ่ จะสง่ ผลใหใ้ นหนึ่งหน่วยเวลา สามารถเคลอ่ื นย้ายปรมิ าณข้อมลู ไดจ้ านวนมากขึน้ 2. จานวนโหนดที่เช่ือมต่อ (Number of Receivers) ส่ือกลางส่งข้อมูลแบบใช้สาย สามารถนามาเชื่อมต่อเครือข่ายในรูปแบบ จุดต่อจุด หรือแบบหลายจุด เพื่อแชร์การใช้งานสายส่งข้อมูลร่วมกัน สาหรับเครือข่ายที่ใช้สายส่งข้อมูลร่วมกัน จะมีข้อจากัดด้านระยะทางและความเร็วที่จากัด ดังนั้น หากเครือข่ายมีโหนดและอปุ กรณ์เชอ่ื มต่อเป็นจานวนมาก ยอ่ มส่งผลใหค้ วามเรว็ ลดลง 3. ความสูญเสียต่อการส่งผ่าน (Transmission Impairments) คือ การอ่อนตัวของสัญญาณ ซึ่งจะเก่ียวข้องกับระยะทางในการส่งผ่าน ข้อมูล หากระยะทางย่ิงไกล สัญญาณก็ย่ิงเบาบางลง ไม่มีกาลังส่ง เช่นสายคู่บิต เกลียวจะมีความสูญเสียตอ่ การส่งผา่ นข้อมูลภายในสายมากกวา่ สายโคแอกเชยี ล ดังน้ัน การเลือกใช้สายโคแอกเชียลก็จะสามารถเชื่อมโยงได้ไกลกว่า และหากใช้สายไฟเบอร์ออปติกจะมีความสูญเสียต่อการส่งผ่านข้อมูลภายใน สายน้อยกว่าสายประเภทอื่นๆ ดังน้ันสายไฟเบอร์ออปติกจึงเป็นสายสื่อสารท่ีสามารถเช่อื มโยงระยะทางได้ไกลท่ีสดุ โดยสามารถลากสายไดย้ าวหลายกิโลเมตรโดยไมต่ ้องใช้ อุปกรณท์ วนสัญญาณชว่ ย 4. การรบกวนของสัญญาณ (Interference) การรบกวนของสัญญาณที่คาบเกี่ยวกันในย่านความถ่ีอาจทาให้ เกิดการบิดเบือนสัญญาณได้ โดยไม่ว่าจะเป็นสื่อกลางแบบมีสาย หรือแบบ ไร้สาย เช่น การรบกวนกันของคลื่นวิทยุ สัญญาณครอสทอร์กที่เกิดข้ึนใน สายคู่บิตเกลียวชนิดไม่มีฉนวน ท่ีภายในประกอบด้วยสายทองแดงหลายคู่ มัดอยู่รวมกนั วิธแี ก้ไขคือ เลอื กใช้สายคู่บิตเกลยี วชนิดท่ีมีฉนวนหรอี ชีลด์ เพื่อป้องกนั สัญญาณรบกวน

นายวชิ รัตน์ ธนพงศพ์ พิ ฒั น์ ช้นั ปวส.2 เลขท่ี 34