Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียนรายวิชากระบวนการเชื่อม

วิจัยในชั้นเรียนรายวิชากระบวนการเชื่อม

Published by fanrg99, 2021-04-01 12:09:28

Description: วิจัยในชั้นเรียนรายวิชากระบวนการเชื่อม

Search

Read the Text Version

วจิ ยั ในชนั้ เรยี น การแกป้ ญั หานักเรยี นไม่สามารถปฏิบัติงานเช่ือม ไฟฟา้ ตอ่ ชนบากร่อง ตำแหน่งท่าราบ วิชา กระบวนการเชอื่ ม โดยใช้วธิ ีการควบคมุ ทกุ ข้ันตอน โดย นายภทั รพงษ แคแดง ตำแหนง พนกั งานราชการ โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ สงั กัดสำนกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ

(ก) กิตตกิ รรมประกาศ การแกปญหานักเรียนไมสามารถปฏิบัติงานเช่ือมไฟฟาตอชนบากรอง ตำแหนงทาราบ วิชา กระบวนการเช่ือม โดยใชวิธีการควบคุมทุกขั้นตอน นับวามีความจาเปนอยางยิ่งท่ีตองนำไปใชในการ ประกอบการเรียนการสอน ผูสอนหวังเปนอยางยิ่งวา การวิจัยเรื่อง การแกปญหานักเรียนไมสามารถปฏิบัติงานเช่ือมไฟฟาตอชน บากรอ ง ตำแหนงทาราบ วิชากระบวนการเช่ือม จะแนวทางผูเรียนไปสูการปฏิบัติที่ถูกตองตามลำดับข้ันตอน และสามารถนำไปปรบั ใชใ นชีวิตประจาวนั ไดเปน อยางดี ผูสอนขอขอบประคุณทานเจาของ หนังสือวิชากระบวนการเช่ือม เอกสารที่ไดนำมาประกอบในการ แกปญหานักเรียนไมสามารถปฏิบัติงานเช่ือมไฟฟาตอชนบากรองตำแหนงทาราบ หวังเปนอยางยิ่งวาใบงาน การแกปญหานักเรียนไมสามารถปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบากรองตำแหนงทาราบ วิชางานเช่ือมโลหะ เบอื้ งตน เลม นี้ จะเปน ประโยชนต อผูที่ไดศ กึ ษา และสามารถนาไปประยกุ ตใ ชในการจดั การเรียนการสอนตอไป ภัทรพงษ แคแดง

(ข) ช่ือเรอ่ื ง การแกปญหานักเรียนไมสามารถปฏบิ ตั งิ านเชอ่ื มไฟฟาตอชนบากรอง ตำแหนง ทา ราบ ชอื่ ผวู ิจยั วิชากระบวนการเชือ่ ม โดยใชวธิ ีการควบคุมทกุ ขัน้ ตอน ปการศกึ ษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห 31 นายภัทรพงษ แคแดง 2563 บทคัดยอ การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค คือ เพื่อแกปญหานักเรียนไมสามารถปฏิบัติงานเช่ือมไฟฟาตอชนบารอง ตำแหนง ทาราบ วชิ างานเช่ือมโลหะเบื้องตน โดยใชว ิธกี ารควบคุมทุกขนั้ ตอน กลุมตัวอยางท่ีใชในงานวจิ ัยไดแ กนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5/3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห 31 จำนวน 2 คน ประจาภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2563 เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ไดแก แบบประเมินทักษะ การสังเกต พฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักศึกษา ผลการวิจยั สรปุ ไดดงั นี้ จากการควบคมุ ทุกข้นั ตอน ผวู จิ ัยไดน ำแบบบนั ทกึ ผลการปฏบิ ัติงานเชื่อมไฟฟา ตอ ชนบากรอง ตำแหนงทาราบ กอนใชวิธกี ารควบคุมทุกขนั้ ตอน และแบบบันทกึ ผลการปฏบิ ัติงานเช่ือมไฟฟา ตอ ชนบากรอ ง ตำแหนงทา ราบ หลงั ใชวิธีการควบคมุ ทกุ ขนั้ ตอน ผลปรากฏวานกั เรียนจำนวน 2 คน สามารถปฏบิ ัตงิ านเชอ่ื ม ไฟฟาตอชนบากรอ งตำแหนง ทา ราบ ไดถ ูกตอ งตามท่ีกำหนด คดิ เปน รอยละ 100 แสดงวาวธิ กี ารควบคุมทุก ขั้นตอนเปนอกี วิธกี ารหนง่ึ ในการแกปญ หานักศึกษาท่ไี มสามารถปฏบิ ตั ิงานเชือ่ มไฟฟา ตอชนบากรอ งตำแหนง ทาราบได

(ค) หนา สารบาญ ก กิตติกรรมประกาศ ข บทคดั ยอ ค สารบาญ ง สารบาญตาราง 1 บทท่ี 1 บทนำ ทม่ี าและความสำคญั ของปญ หา 2 วตั ถุประสงคก ารวิจัย 7 สมมติฐานการวิจัย 9 ขอบเขตของการวจิ ัย 11 ประโยชนท ่คี าดวา จะไดรบั นยิ ามศัพทเฉพาะ บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วของ หลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปรับปรงุ พ.ศ.2546) บทท่ี 3 วิธีดาเนินการวิจยั ประชากรและกลมุ ตวั อยา ง เคร่อื งมอื ท่ีใชในการศึกษา บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหขอมลู บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผลและขอ เสนอแนะ สรุปผลการวจิ ยั ขอ เสนอแนะ บรรณานุกรม

(ง) หนา สารบาญตาราง 9 ตารางท่ี 10 4.1 แบบบนั ทกึ ผลการปฏบิ ตั งิ านเช่ือมไฟฟา ตอ ชนบากรอ งตำแหนง ทาราบ กอนการใชว ธิ กี ารควบคุมทุกขน้ั ตอน 4.2 แบบบันทกึ ผลการปฏบิ ตั งิ านเช่ือมไฟฟา ตอชนบากรอ งตำแหนง ทาราบ หลังจากการใชว ิธกี ารควบคุมทกุ ขนั้ ตอน

บทที่ 1 บทนำ ทีม่ าและความสำคญั ของปญ หา จากการที่ผูวิจัยไดรับมอบหมายใหสอนนักเรียน วิชางานเชื่อมโลหะเบื้องตน ภาคเรียนที่ 2 ป การศึกษา 2559 พบวานักเรียนบางคนไมสามารถปฏิบตั ิงานเชื่อมไฟฟา ตอชนบากรองตำแหนง ทาราบ วิชา งานเชื่อมโลหะเบือ้ งตน ได การปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบากรองตำแหนงทาราบเปนจุดประสงคการเรียนรูที่นักเรียนตอง สามารถเชื่อมไฟฟาตอชนบากรองในตำแหนงทาราบไดและตองผานเกณฑตามที่มาตรฐานกำหนด เพราะ การปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบากรองตำแหนงทาราบเปนทักษะพื้นฐานในการเชื่อมตอชนบากรอง ถา นักเรยี นเชอ่ื มไฟฟาตอชนบากรอ งตำแหนงทาราบไมผ านเกณฑที่กำหนดก็จะสง ผลไมส ามารถเชื่อมไฟฟาตอ ชนบากรองในตำแหนงทา อ่นื ได ดังน้ัน ผูว ิจยั จงึ มีแนวคิดในการนาวิธีการ ควบคุมทกุ ข้ันตอนมาแกปญหาดงั กลาว วัตถปุ ระสงคก ารวิจัย 1. เพื่อการแกปญหานักเรียนไมสามารถปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบากรองตำแหนงทาราบ วิชา กระบวนการเชอื่ ม โดยใชวิธีการควบคมุ ทุกข้ันตอน สมมติฐานการวิจัย นักเรียนสามารถปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบากรองตำแหนงทาราบ วิชางานกระบวนการเชื่อม ไดถ ูกตองตามมาตรฐานทก่ี ำหนดทกุ คน ขอบเขตของการวจิ ยั 1. ประชากรท่ใี ชในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก นกั เรียน ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนราชประชา นุเคราะห31 ประจำภาคเรยี นที่ 2 ปการศึกษา 2563 2. กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก นักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียนราช ประชานุเคราะห31 ที่ไมสามารถปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบากรองตำแหนงทาราบ ไดถูกตอง ตามทก่ี ำหนด จำนวน 2 คน ประโยชนท ค่ี าดวา จะไดรับ 1. ชวยพฒั นากจิ กรรมการเรยี นการสอนใหมีประสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขึน้ 2. เปนแนวทางการวจิ ยั โดยใชใ บงาน ในรายวชิ าอืน่ ๆ ตอ ไป นิยามศัพทเฉพาะ นักเรยี น หมายถึง นักเรียน ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ 5/3 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห31 สำนกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ

บทที่ 2 เอกสาร และงานวจิ ัยทีเ่ กย่ี วขอ ง การแกปญหานักเรียนไมสามารถปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบากรองตำแหนงทาราบ วิชา กระบวนการเช่อื ม โดยใชว ธิ กี ารควบคุมทกุ ขั้นตอน ผูวจิ ยั ไดศึกษาเอกสาร และงานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวของดงั นี้ หลักสตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี พุทธศกั ราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ.2546) 1. หลักการ 2. จุดมงุ หมาย 3. หลักการใช 4. จดุ ประสงครายวิชา มาตรฐานรายวชิ า และคาอธบิ ายรายวชิ า หลกั สตู รประกาศนยี บตั รพทุ ธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ.2546) กระทรวงศึกษาธิการ (2546 : 1 – 6 ) ไดกำหนดหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ.2546) ดงั นี้ 1. หลักการ 1.1 เปนหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพหลังมัธยมศึกษาตอนตนเพื่อพัฒนากาลังคนระดับ ฝมือใหมีความชำนาญเฉพาะดาน มีคุณธรรม บุคลิกภาพและเจตคติที่เหมาะสมสามารถประกอบอาชีพได ตรงตามความตองการของตลาดแรงงานและการประกอบอาชีพอิสระ สอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจและ สงั คมในระดับทอ งถ่นิ และระดบั ชาติ 1.2 เปนหลักสูตรที่เปดโอกาสใหเลือกเรียนไดอยางกวางขวาง เพื่อเนนความชำนาญ เฉพาะดาน ดวยการปฏิบัติจริง สารมารถเลือกวิธีการเรียนตามศักยภาพและโอกาสของผูเรียน ถายโอน – ผลการเรียน สะสมผลการเรียน เทียบความรูและประสบการณจากแหลงวิทยาการสถานประกอบการและสถาน ประกอบอาชีพอิสระได 1.3 เปนหลักสูตรที่สนับสนุนการประสานความรวมมือในการจัดการศึกษารวมกันระหวาง หนวยงานและองคกรทเ่ี ก่ียวของ ทั้งภาครัฐและเอกชน 1.4 เปนหลักสตู รทเ่ี ปดโอกาสใหสถานศึกษา ชมุ ชนและทอ งถิ่นมสี ว นรวมในการพฒั นาหลักสูตรให ตรงตามความตองการและสอดคลอ งกับสภาพชุมชนและทองถิน่ 2. จดุ มุงหมาย 2.1 เพื่อใหมีความรู ทักษะและประสบการณในงานอาชีพตรงตามมาตรฐานวิชาชีพ นาไป ปฏิบัติงานอาชีพไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกวิถีการดารงชีวิตและการประกอบอาชีพไดอยาง เหมาะสมกับตน สรา งสรรคค วามเจรญิ ตอ ชมุ ชน ทอ งถนิ่ และประเทศชาติ 2.2 เพื่อใหเปนผูมีปญญา มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ใฝเรียนรู เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและการ ประกอบอาชพี สามารถสรา งอาชพี มที ักษะในการจัดการและพัฒนาอาชพี ใหกา วหนา อยเู สมอ

2.3 เพื่อใหมีเจตคติที่ดีตออาชีพ มีความมั่นใจและภูมิใจในวิชาชีพที่เรียน รักงานรักหนวยงาน สามารถทางานเปนหมคู ณะไดด ี โดยมีความเคารพในสิทธแิ ละหนาท่ขี องตนเองและผอู ืน่ 2.4 เพื่อใหเปนผูมีพฤติกรรมทางสังคมที่ดีงาม ทั้งในการทางาน การอยูรวมกันมีความรับผิดชอบ ตอครอบครัว หนวยงาน ทองถิ่นและประเทศชาติ อุทิศตนเพื่อสังคม เขาใจและเห็นคุณคาของ ศลิ ปวฒั นธรรม ภูมปิ ญ ญาทองถน่ิ รูจกั ใชแ ละอนุรักษท รัพยากรธรรมชาตแิ ละสรางสรรค ส่ิงแวดลอ มท่ีดี 2.5 เพื่อใหมีบุคลิกภาพที่ดี มีมนุษยสัมพันธ มีคุณธรรม จริยธรรมและวินัยในตนเองมีสุขภาพ อนามยั ท่ีสมบูรณทั้งรางกายและจติ ใจ เหมาะสมกับอาชีพนัน้ ๆ 2.6 เพื่อใหตระหนักและมีสวนรวมในการแกไขปญหาเศรษฐกิจ สังคมการเมืองของประเทศและ โลกปจจุบัน มีความรักชาติ สานึกในความเปนไทย เสียสละเพื่อสวนรวม ดารงรักษาไวซึ่งความมั่นคงของ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษัตรยิ เ ปน ประมุข 3. หลักเกณฑการใชห ลกั สตู ร 3.1 การเรยี นการสอน 1) การเรียนการสอนตามหลักสูตรน้ี ผูเรียนสามารถลงทะเบียนเรียนได ทุกวิธีเรียนที่ กำหนดและนำผลการเรียนแตละวิธีมาประเมินผลรวมกันได สามารถโอนผลการเรียน และขอ เทียบความรูและประสบการณได 2) การจัดการเรียนการสอนเนนการปฏิบัติจริง โดยสามารถนำรายวิชาไปจัดฝกในสถาน ประกอบการไมนอยกวา 1 เดือน 3.2 เวลาเรยี น 1) ในปการศึกษาหนึ่งๆ ใหแบงภาคเรียนออกเปน 2 ภาคเรียนปกติ ภาคเรียนละ 20 สัปดาห โดยมีเวลาเรียนและจานวนหนวยกิตตามที่กำหนด และสถานศึกษาอาจเปดสอนภาคเรียน ฤดูรอนไดอกี ตามท่เี ห็นสมควร ประมาณ 5 สัปดาห

2) การเรียนในระบบชั้นเรียน ใหสถานศึกษาเปดทำการสอนไมนอยกวาสัปดาหละ 5 วัน คาบละ 60 นาที (1 ชวั่ โมง) 3.3 หนว ยกิต ใหมจี านวนหนวยกติ ตลอดหลกั สูตรไมน อยกวา 102 หนวยกิต การคดิ หนวยกิต ถอื เกณฑด งั น้ี 1) รายวิชาภาคทฤษฎี 1 ชั่วโมงตอสัปดาห ตลอดภาคเรียนไมนอยกวา 20 ชั่วโมงมีคา 1 หนวยกิต 2) รายวิชาที่ประกอบดวยภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติใหบูรณาการ การเรียนการสอน กำหนด 2–3 ชั่วโมงตอสปั ดาห ตลอดภาคเรยี นไมนอยกวา 40–60 ช่ัวโมง มคี า 1 หนว ยกิต 3) รายวิชาที่นาไปฝกงานในสถานประกอบการ กำหนดเวลาในการฝกปฏิบัติงานไมนอย กวา 40 ชว่ั โมง มีคา 1 หนวยกิต 4) การฝกอาชพี ในระบบทวภิ าคี ใชเ วลาฝกไมน อยกวา 40 ชัว่ โมง มีคา 1 หนว ยกติ 5) การทาโครงการใหเ ปนไปตามท่ีกำหนดไวใ นหลักสตู ร 3.4 โครงสรา ง โครงสรางของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546)แบงเปน 3 หมวดวชิ า ฝก งาน และกิจกรรมเสรมิ หลกั สตู ร ดงั น้ี 1) หมวดวิชาสามญั 1.1) วชิ าสามญั ทั่วไป เปนวชิ าท่เี ปนพื้นฐานในการดารงชีวิต 1.2) วิชาสามัญพ้นื ฐานวชิ าชีพ เปนวชิ าท่เี ปนพ้ืนฐานสมั พนั ธกบั วิชาชพี 2) หมวดวชิ าชีพ 2.1) วิชาพื้นฐาน เปนกลุมวิชาชีพสัมพันธที่เปนพื้นฐานที่จาเปนในประเภทวิชา นัน้ ๆ 2.1) วิชาชพี สาขาวชิ า เปนกลุมวชิ าชพี หลักในสาขาวิชานั้นๆ 2.2) วิชาชีพสาขางาน เปนกลุมวิชาชีพที่มุงใหผูเรียนมีความรูและทักษะเฉพาะ ดานในงานอาชพี ตามความถนัดและความสนใจ 2.3) โครงการ 3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี 4) ฝกงาน 5) กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร จำนวนหนวยกิตของแตล ะหมวดวิชาตลอดหลักสูตรใหเปนไปตามกำหนดไวในโครงสรางของแตละ ประเภทวิชาและสาขาวิชาสวนรายวิชาแตละหมวดวิชาสถานศึกษาสามารถจัดตามที่กำหนดไวในหลักสูตร หรือจัดตามความเหมาะสมของสภาพทองถิ่น ทั้งนี้สถานศึกษาตองกาหนดรหัสวิชาจานวนคาบเรียน และ จานวนหนวยกิตตามระเบียบท่กี ำหนดไวในหลักสตู ร 3.5 โครงการ 1) สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนจัดทาโครงการในภาคเรียนท่ี 6 ไมนอยกวา 160 ชั่วโมง กำหนดใหม คี า 4 หนวยกติ 2) การตัดสนิ ผลการเรียนและใหระดบั ผลการเรยี น ใหป ฏบิ ตั ิเชน เดยี วกับรายวชิ าอนื่ ๆ

3.6 ฝก งาน 1) ใหสถานศึกษานารายวิชาในหมวดวิชาชีพไปจัดฝกในสถานประกอบการ อยางนอย 1 ภาคเรยี น 2) การตัดสินผลการเรยี นและใหระดับผลการเรียนใหป ฏิบัตเิ ชนเดียวกบั รายวชิ าอื่น 3.7 การเขาเรยี น พื้นความรูและคุณสมบัติของผูเรียน ใหเปนไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวย การจัดการศึกษาตามหลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 พ.ศ. 2546 3.8 การประเมนิ ผลการเรียน ใหเปนไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ พุทธศักราช 2545 พ.ศ. 2546 3.9 กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร สถานศึกษาตองจัดใหมีกิจกรรมเพื่อปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม คานิยม ระเบียบวินัยของ ตนเอง และสงเสริมการทางาน ใชกระบวนการกลุมในการทาประโยชนตอชุมชน ทะนุบำรุง ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม โดยการวางแผน ลงมือปฏิบัติ ประเมินผล และปรับปรุงการทา งาน 3.10 การสำเรจ็ การศกึ ษาตามหลักสตู ร 1) ประเมินผานรายวิชาในหมวดวิชาสามัญ หมวดวิชาชีพ และหมวดวิชาเลือกเสรีตามท่ี กำหนดไวในหลักสูตรแตละประเภทวชิ าและสาขาวชิ า 2) ไดจำนวนหนวยกิตสะสมครบตามโครงสรางของหลักสูตรแตละประเภทวิชาและ สาขาวิชา 3) ไดคา ระดับคะแนนเฉลีย่ สะสมไมต ำ่ กวา 2.00 4) เขา รว มกจิ กรรมและผา นการประเมนิ ทกุ ภาคเรียน 5) ประเมินผานมาตรฐานวชิ าชีพสาขาวชิ า 3.11 การแกไ ขและเปล่ียนแปลงหลกั สูตร 1) ใหอธิบดีกรมอาชีวศึกษาเปนผูมีอำนาจในการเพิ่มเติม ปรับปรุง หรือ ยกเลิกประเภท วิชา สาขาวิชา สาขางาน รายวิชา และโครงสรางหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 ในหลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พุทธศกั ราช 2545 2) ใหผูบริหารสถานศึกษาเปนผูมีอำนาจเพิ่มเติม แกไข เปลี่ยนแปลง รายวิชาตางๆ ใน หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พุทธศกั ราช 2545 โดยตอ งรายงานใหตน สังกัดทราบ 4. วชิ ากระบวนการเช่อื ม 4.1 จุดประสงครายวชิ า 1. เพ่อื ใหม ีความตระหนกั เก่ียวกบั ความปลอดภยั ในการเชอื่ ม 2. เพอ่ื ใหม คี วามเขา ใจสมบัติและความสามารถในการเช่ือมของวัสดุ ขอบกพรอ งในงานเช่ือม หลกั การอาน และเขียนสัญลักษณใ นงานเชือ่ ม 3. เพื่อใหสามารถใชเทคนิคการเชื่อมแนวซึมลึก (Root Pass) แนวเติม (Hot Pass) และ แนวปกคลุม (Cover Pass)

4. เพื่อใหสามารถเชื่อมอารกลวดหุมฟลักซแผนเหล็กกลาตอชนบากรองวีทาเชื่อม 1G (PA) 2G (PB) 3G (PF/PD) 4G (PE) ผานเกณฑท ดสอบตามมาตรฐาน 5. เพื่อใหส ามารถตรวจสอบงานเชื่อมดว ยสายตาและการดัดงอตามมาตรฐานงานเชอื่ ม 6. เพือ่ ใหมกี จิ นิสยั ในการปฏิบตั กิ ารเช่ือมโดยใชอ ปุ กรณค วามปลอดภัยและตรงตอเวลา 4.2 มาตรฐานรายวชิ า 1. เขา ใจหลักความปลอดภยั ในการเชือ่ มตามมาตรฐาน 2. เขา ใจเกยี่ วกบั สมบัตแิ ละความสามารถในการเชื่อมของวสั ดุ ขอบกพรอ งในงานเช่อื ม 3. ระบุสัญลักษณและสวนตางๆ ของรอยเชื่อมมุม (Fillet Weld) รอยเชื่อมรอ ง (Groove Weld) ตามมาตรฐาน 4. เชื่อมอารกลวดเชื่อมหุมฟลักซแผนเหล็กตอชนบากรองวี 1G (PA) 2G (PB) 3G (PF/PD) 4G (PE) ตามมาตรฐาน 5. ตรวจสอบจดุ บกพรองแนวเช่อื มดวยสายตาและการดัดงอแนวเช่ือมตามมาตรฐาน 4.3 คำอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบตั เิ กยี่ วกับความปลอดภัยในงานเช่ือม สมบตั แิ ละความสามารถในการเชอ่ื ม ของช้นิ งานและลวดเช่อื มชนิดตางๆ สัญลักษณในงานเช่อื ม สวนตางๆ ของรอยเช่ือมมุมและรอย เชือ่ มรอ ง ชนิดของลวดเชือ่ ม การอา น WPS (Welding Procedure Specification) และ PQR (Procedure Qualification Record) จุดบกพรองในงานเชื่อม เทคนคิ ในการเช่อื ม การตรวจสอบ งานเช่อื มดวยสายตาและการดัดงอ งานเช่ือมไฟฟา เหลก็ แผน ตอ ชนบากรอ งวี ทกุ ทาเชือ่ มดวยลวด เชื่อมเซลลูโลสและเบสิก (Cellulose and Basic Electrode) โดยใชอุปกรณค วามปลอดภัยสว น บคุ คล ถูกตอ งตามหลักความปลอดภัยและอาชวี อนามัย

บทท่ี 3 วิธีดาเนินการวจิ ัย การวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยใชแบบประเมินทักษะ การสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของนักศึกษา เพ่ือ การแกปญหานักเรียนไมสามารถปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบากรองตำแหนงทาราบ วิชา กระบวนการ เชื่อม ผวู ิจยั ไดด าเนินการวิจัยตามขั้นตอนตอ ไปนี้ 1. กลมุ ประชากรและกลมุ ตัวอยาง 2. เคร่อื งมือท่ใี ชในการวิจยั 3. สถติ ิท่ใี ชในการวจิ ยั 3.1 กลมุ ประชากรและกลมุ ตวั อยา ง 3.1.1 ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งน้ี ไดแก นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/3 โรงเรียน ราชประชานเุ คราะห 31 ประจำภาคเรยี นที่ 2 ปการศกึ ษา 2563 3.1.2 กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งน้ี ไดแก นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5/3 โรงเรียนราชประชานุเคราะห 31 ที่ไมสามารถปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบากรองตำแหนงทา ราบ ไดถูกตอ งตามทีก่ ำหนด จำนวน 2 คน 3.2 เครื่องมือที่ใชใ นการวจิ ัย 3.2.1 ใบความรู เรื่อง การปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบากรองตำแหนงทาราบ วิชา งาน เชื่อมโลหะ 2 3.2.2 ใบปฏิบตั ิงาน เร่อื ง ปฏบิ ัตงิ านเช่ือมไฟฟา ตอชนบากรองตำแหนง ทา ราบ 3.2.3. กจิ กรรมการควบคมุ ทกุ ขนั้ ตอน การเก็บรวบรวมขอมูล 1. แบบประเมนิ ทักษะ 2. กจิ กรรมการเรียน การสอน 3. การสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบัตงิ านของนักศกึ ษา วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ มลู มขี นั้ ตอนดังนี้ 1. แจกใบความรูแกนักเรียนใหศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับ การปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟา ตอชนบากรอ งตำแหนงทา ราบ วิชา งานเชอื่ มโลหะเบื้องตน 2. ผูวิจัย สรปุ เนอ้ื หาใหน ักเรียนฟงอกี ครง้ั หนงึ่ 3. สาธิตการปฏบิ ตั งิ านเช่อื มไฟฟา ตอ ชนบากรอ งตำแหนง ทา ราบ และแจกใบงาน แกน กั เรียน 4. ใหนักเรียนแตละคนปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบากรองตำแหนงทาราบ โดย ผูวิจัยควบคุมทุกขั้นตอน ตั้งแตการเปดเครื่องเชื่อมไฟฟา การปรับกระแสไฟ การทามุม ลวดเชื่อมกับชิ้นงาน ความเร็วในการเดินลวดเชื่อม พรอมบันทึกผลการปฏิบัติงานไวทุก ขน้ั ตอน

การวิเคราะหขอมลู และแปลผลขอ มูล จากการควบคุมทุกขั้นตอน ผูวิจัยไดนาแบบบันทึกผลการปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบากรอง ตำแหนงทาราบ กอนใชวิธีการควบคุมทุกขั้นตอน และแบบบันทึกผลการปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบาก รองตำแหนงทาราบ หลังใชวิธีการควบคุมทุกขั้นตอน ผลปรากฏวานักเรียนจานวน 2 คน สามารถ ปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบากรองตำแหนงทาราบ ไดถูกตองตามที่กำหนด คิดเปนรอยละ 100 แสดงวา วิธีการควบคุมทุกขั้นตอนเปนอีกวิธีการหนึ่งในการแกปญหานักศึกษาที่ไมสามารถปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอ ชนบากรองตำแหนง ทา ราบ

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหขอ มูล การแกปญหานักเรียนไมสามารถปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบากรองตำแหนงทาราบ วิชา กระบวนการเชื่อม โดยใชวิธีการควบคุมทุกขั้นตอน ในครั้งนี้ผูวิจัยไดนาเสนอผลการวิเคราะหขอมูลท่ี รวบรวมไดจ ากกลมุ ตวั อยางดังนี้ ตอนท่ี 1 การปฏบิ ัติงานเช่ือมไฟฟาตอ ชนบากรองตำแหนง ทาราบ กอ นใชวิธกี ารควบคุม ทุกขัน้ ตอน ตอนที่ 2 การปฏบิ ตั งิ านเชื่อมไฟฟา ตอ ชนบากรองตำแหนง ทาราบ หลงั จากการใชวธิ กี าร ควบคมุ ทุกขน้ั ตอน ตอนที่ 1 การวิจัยครั้งนี้มีวิธีการเก็บรวบรวมขอมลู โดยใชแบบบันทึกผลการปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบาก รองตำแหนงทาราบ กอนการใชวิธีการควบคุมทุกขั้นตอน ของกลุมตัวอยางจาก ดังรายละเอียดที่ปรากฏใน ตาราง 4.1 ตาราง 4.1 แบบบันทึกผลการปฏิบัติงานเชื่อม บันทกึ การปฏบิ ัติงานแตล ะขน้ั ตอน ไฟฟาตอชนบากรองตำแหนงทาราบ กอนการใช วิธกี ารควบคุมทุกขนั้ ตอน ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน นกั เรียนคนท่ี 1 นกั เรยี นคนท่ี 2 1. การเตรยี มชน้ิ งาน ถูกตอง ถกู ตอง 2. ความปลอดภัยในการปฏิบตั งิ าน ไมถ กู ตอง ไมถกู ตอง 3. การเปดเคร่ืองเชอ่ื มไฟฟา ไมถ ูกตอง ไมถ ูกตอง 4. การปรับกระแสไฟ ถูกตอง ถกู ตอง 5.การทามมุ ลวดเช่ือมกับชน้ิ งาน ไมถ กู ตอ ง ไมถูกตอง 6. ความเรว็ ในการเดินลวดเช่ือม ถกู ตอง ไมถูกตอง จากตาราง 4.1 พบวานักเรียนปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบากรองตำแหนงทาราบ ปฏิบัติงานไมถูกตอง ตามขนั้ ตอนท่กี ำหนดไว ตอนท่ี 2 การวิจัยคร้ังนมี้ ีวิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอมูลโดยใชแ บบบนั ทกึ ผลการปฏบิ ตั งิ านเชือ่ มไฟฟา ตอ ชนบาก รองตำแหนงทาราบ หลังจากการใชวิธีการควบคุมทุกขั้นตอน ของกลุมตัวอยางจาก ดังรายละเอียดท่ี ปรากฏในตาราง 4.2

ตาราง 4.2 แบบบันทึกผลการปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟา บันทกึ การปฏิบัติงานแตล ะขนั้ ตอน ตอชนบากรองตำแหนงทาราบ หลังจากการใช วธิ ีการควบคมุ ทุกขั้นตอน ข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน 1. การเตรยี มช้นิ งาน นกั เรียนคนท่ี 1 นกั เรียนคนท่ี 2 2. ความปลอดภยั ในการปฏิบัตงิ าน ถกู ตอง ถูกตอง 3. การเปดเครื่องเช่อื มไฟฟา ไมถูกตอง ไมถกู ตอง 4. การปรบั กระแสไฟ ไมถ ูกตอง ไมถ กู ตอ ง 5.การทามมุ ลวดเชอื่ มกับช้นิ งาน ถกู ตอ ง ถกู ตอง 6. ความเรว็ ในการเดนิ ลวดเชอ่ื ม ไมถ ูกตอ ง ไมถ กู ตอ ง ถกู ตอง ไมถกู ตอ ง จากตาราง 4.2 พบวานักเรียนปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชนบากรองตาแหนงทาราบ ปฏิบัติงานถูกตองตาม ขั้นตอนที่กาหนดไว

บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ รายผลการวิจัย และขอเสนอแนะ สรุปผลการวิจยั จากการดำเนินงานวจิ ัยผลปรากกวา นักเรียนจำนวน 2 คน นักเรียนคนท่ี 1ปฏิบัติงานไดถ กู ตองได อยางรวดเร็วเนื่องจากมีความตั้งใจฝกฝนดีมาก นักเรียนคนที่ 2 ปฏิบัติงานไดถูกตองโดยตองใชเวลานาน กวาคนท่ี 1 เนื่องจากเปนคนที่ทางานแลวในบางวันก็ขาดเรียน แตก็สามารถปฏิบัติงานไดถูกตองตามท่ี กำหนดเชนเดยี วกัน จึงสรุปไดวาจากการวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้นักเรียนทั้ง 2 คน สามารถปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟาตอชน บากรองตำแหนงทาราบ ไดถ กู ตองตามท่กี ำหนด คดิ เปนรอ ยละ 100 แสดงวาวิธกี ารควบคุมทุกข้ันตอนเปน อีกวธิ กี ารหนึ่งในการแกป ญหานกั ศกึ ษาท่ไี มส ามารถปฏิบตั งิ านเช่ือมไฟฟา ตอ ชนบากรองตำแหนง ทา ราบได ขอเสนอแนะ นักศึกษาแตละคนมีเงื่อนไขและขอจากัดแตกตางกัน เชน วัยวุฒิ คุณวุฒิ เวลา ภาระหนาที่ ผูวิจัย ตองเปนผูทีม่ คี วามอดทน และ เสียสละ จึงจะทาใหผ ลการวิจัยสัมฤทธผิ ลไดตามวตั ถุประสงคและเปาหมาย ที่กำหนดไว

บรรณานุกรม คณะกรรมการอาชีวศกึ ษา,สานักงาน.เอกสารประกอบการฝก อบรมการวิจยั ในช้นั เรยี น. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พค รุ สุ ภาลาดพราว,2532,71หนา .


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook