การแสดงนาฏศลิ ป์พ้นื เมืองภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ภาคอีสาน) ลักษณะพื้นที่โดยทั่วไปของภาคอีสานเป็นที่ ราบสูง มีแหล่งน้ำจากแม่น้ำโขง แบ่งตามลักษณะของสภาพความเป็นอยู่ ภาษาและขนบธรรมเนียมประเพณี ที่แตกต่างกัน ประชาชนมีความเชื่อในทางไสยศาสตร์มีพิธีกรรมบูชาภูตผีและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ การแสดง จึงเก่ียวขอ้ งกบั ชีวติ ประจำวัน และสะท้อนใหเ้ ห็นถึงการประกอบอาชีพและความเป็นอย่ไู ดเ้ ป็นอยา่ งดี การแสดงของภาคอีสานเรียกว่า เซิ้ง เป็นการแสดงที่ค่อนข้างเร็ว กระฉับกระเฉง สนุกสนาน เช่น เซงิ้ กระติบขา้ ว เซ้งิ โปงลาง เซง้ิ กระหยัง เซ้งิ สวิง เซง้ิ ดึงครกดึงสาก เซิ้งบง้ั ไฟ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมี ฟ้อนท่ีเปน็ การแสดงคลา้ ยกับภาคเหนอื เชน่ ฟอ้ นภไู ท (ผูไ้ ท) เป็นตน้ 1. เซิ้งสวงิ เซิ้งสวิง เป็นการละเล่นพื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในท้องถิ่นอำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นการละเล่นเพื่อส่งเสริมด้านจิตใจของประชาชนในท้องถิ่น ซึ่งมีอาชีพในการจับสัตว์ น้ำ โดยมีสวิงเป็นเคร่ืองมือหลัก ในปี พ.ศ. 2515 ท่านผู้เช่ียวชาญนาฏศิลป์ไทย กรมศิลปากร จึงได้นำทา่ เซิ้งศิลปะท้องถิ่นนั้นมาปรับปรุงให้เป็นท่าที่กระฉับกระเฉงยิ่งขึ้น โดยสอดคล้องกับท่วงทำนองดนตรี ทม่ี ลี กั ษณะสนุกสนานรา่ เริง จงึ นบั วา่ เป็นศิลปะพ้นื เมอื งภาคตะวันออกเฉยี งเหนือท่ีงดงามแปลกตาออกไป อกี ลักษณะหน่ึง
การแต่งกาย ผู้ชายสวมเสื้อม่อฮ่อม นุ่งกางเกงขาก๊วย มีผ้าขาวม้าโพกศีรษะและสะเอว มือถือตะข้อง ผู้หญิงนุ่งผ้าซิ่นพื้นบ้านอีสาน ผ้ามัดหมี่มีเชิงยาวคลุมเข่า สวมเสื้อตามลักษณะของผู้หญิง ชาวภูไท คือสวมเส้อื แขนกระบอกคอปิด ผา่ อกหนา้ ประดับเหรียญโลหะสีเงิน ปัจจบุ ันใช้กระดุมพลาสติก สขี าวแทน ขลบิ ชายเสอื้ คอปลายแขน และขลบิ ผา่ อกตลอดแนวดว้ ยฝา้ สีตดิ กนั เชน่ สเี ขียวขลิบแดงหรือ สวมเสื้อแขนกระบอกคอปิด ผ่าอกหน้า ห่มสไบเฉียงทับ ตัวเสื้อสวมสร้อยคอโลหะทำด้วยเงิน ใส่กำไล ข้อมอื และกำไลขอ้ เทา้ (ลกู ปัด) ผมเกลา้ มวยสูงไว้กลางศีรษะทดั ดอกไม้ และ มือถอื สวงิ ดนตรที ีใ่ ช้ กลองยาว กลองเต๊ะ แคน ฆ้อง โหม่ง กั๊บแกบ๊ ฉงิ่ ฉาบ กรบั ท่าเซ้งิ สวิงเบ้ืองต้น ทา่ ท่ี 1 ท่างมปลาในน้ำ
2. เซิง้ กระติบขา้ ว เซิ้งกระติบข้าว เป็นการแสดงของภาคอีสานที่เป็นที่รู้จักกันดี และแพร่หลายที่สุดชุดหนึง่ จนทำให้คนทั่วไปเข้าใจว่า การแสดงของภาคอีสานมีลักษณะเป็นการรำเซิ้งเพียงอย่างเดียว เซิ้งกระติบ ข้าวได้แบบอย่างมาจากการเซิ้งบั้งไฟ ซึ่งแต่เดิมเซิ้งอีสานจริงๆ ไม่มีท่าทางอะไร มีแต่กินเหล้ายกมื อไม้ สะเปะสะปะให้เข้ากับจังหวะเสียงกลองไปตามใจ โดยไม่ได้คำนึงถึงความสวยงาม นอกจากให้เข้าจังหวะ กลอง ตบมอื ไปตามเรอ่ื งตามฤทธิ์เหล้าในราว พ.ศ. 2507 สมเด็จพระบรมราชนิ ีนาถต้องการการแสดงของ ภาคอีสาน เพื่อต้อนรับสมเด็จพระนางเจ้าอะเลียนา และเจ้าหญิงบีทริกซ์ แห่งประเทศเนเธอแลนด์ จึงมีการนำเอาเพลงอีสานคือ หมอลำจังหวะช้าเร็ว โดยมีท่าถวายบังคม ท่านกบิน ท่าเดิน ท่าดูดาว ท่าม้วนตวั ท่าสนกุ สนาน ท่าปนั้ ขา้ วเหนียว ทา่ โปรยดอกไม้ ทา่ บังแสงอาทติ ย์ ทา่ เตยี้ (รำเต้ยี ) และในการ แต่งกายครั้งแรกนั้นจะนุ่งผ้าซิ่นห่มผ้าสไบ เกล้าผมสูง แต่ไม่มีใครยอมห้อยกระติบข้าวเพราะเห็นว่ารุงรัง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั เสด็จทอดพระเนตร พระองคจ์ ึงรับสง่ั ใหใ้ ครสักคนหนึง่ ลองรำดวู ่า ถ้าไม่ห้อย กระติบข้าว หรือห้อยกระติบข้าวแล้วจะเป็นอย่างไร คุณหญิงเบญจวรรณ อรวรรณ เป็นผู้ทดลองรำดู ครั้งแรกไม่ห้อยกระติบข้าวก็น่ารักดี ครั้งที่สองรำโดยห้อยกระติบข้าวทุกคนก็คิดว่ากำลังน่ารัก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวทรงรบั ส่ังคำเดยี ววา่ \"นา่ เอ็นดูดนี ่ี\" ผู้รำทกุ คนกพ็ ากันรีบห้อยกระติบข้าวกัน ใหญ่ทางไหล่ขวาทุกคน การเซิ้งครั้งนั้น ท่านผู้หญิงมณีรัตน์ บุนนาค เรียกชื่อว่า \"เซิ้งอีสาน\" ต่อมามีผู้นำ เซง้ิ อสี านไปแสดงกันทั่วไปแตเ่ ปลีย่ นช่ือใหมว่ ่า \"เซิง้ กระติบข้าว\" การแตง่ กาย ผูแ้ สดงใช้ผหู้ ญงิ ล้วน สวมเสอ้ื แขนกระบอกคอกลมสพี ้ืน นุง่ ผ้าซิน่ มัดหมี่ หม่ ผ้า สไบเฉยี ง ผมเกลา้ มวยทัดดอกไมห้ อ้ ยกระตบิ ข้าวทางไหลข่ วา
ดนตรีท่ใี ช้ กลองแตะ๊ กลองยาว แคน ฆ้องโหมง่ ฉิง่ ฉาบ อุปกรณ์ กระตบิ ข้าว ท่าเซ้งิ กระต๊ิบข้าวเบอ้ื งต้น ท่าที่ 1 ท่าเดนิ ท่าที่ 2 ทา่ ดดี ข้าวเหนยี ว
ทา่ ที่ 3 ท่าสอดสร้อยมาลา ทา่ ท่ี 4 ท่าเช็ดมอื /ท่าตอ้ น
ทา่ ท่ี 5 ท่าขยำขา้ วเหนยี ว/ท่าปรบมอื
3. เซง้ิ โปงลาง เซิ้งโปงลาง โปงลางเดิมเป็นชื่อของโปงที่แขวนอยู่ที่คอของวัวต่าง โปงทำด้วยไม้หรือโลหะ ที่เรียกว่าโปงเพราะส่วนล่างปากของมันโตหรือพองออก ในสมัยโบราณชาวอีสานเวลาเดินทางไปค้าขาย ยังต่างแดน โดยใช้บรรทุกสินค้าบนหลังวัว ยกเว้นวัวต่างเพราะเป็นวัวที่ใช้นำหน้าขบวนผูกโปงลางไว้ ตรงกลางส่วนบนของต่าง เวลาเดินจะเอียงซ้ายทีขวาทีสลับกันไป ทำให้เกิดเสียงดัง ซึ่งเป็นสัญญาณบอก ให้ทราบวา่ หัวหนา้ ขบวนอยู่ท่ีใด และกำลังมุง่ หน้าไปทางไหนเพ่ือป้องกันมิให้หลงทาง สว่ นระนาดโปงลาง ที่ใชเ้ ป็นดนตรีปจั จบุ ันน้ี พบมากท่จี งั หวดั กาฬสินธุ์ เรยี กวา่ \"ขอลอ\" หรอื \"เกาะลอ\" ดังเพลงล้อสำหรบั เด็ก ว่า \"หัวโปก กระโหลกแขวนคอ ตีขอลอดังไปหม่องๆ\" ชื่อ \"ขอลอ\" ไม่ค่อยไพเราะจึงมีคนตั้งชื่อใหม่ว่า \"โปงลาง\" และนิยมเรียกกันมาจนถึงปัจจุบัน ไม้ที่นำมาทำเป็นโปงลางที่นิยมกันได้แก่ ไม้มะหาด และไม้ หมากเหลื่อม การแต่งกาย ใช้ผู้แสดงหญิงล้วนสวมเสื้อแขนกระบอกสีพื้น นุ่งผ้ามัดหมี่ใช้ผ้าสไบเฉียงไหล่ ผูกโบว์ตรงเอว ผมเกล้ามวยทดั ดอกไม้ ดนตรที ่ีใช้ การเล่นทำนองดนตรีของโปงลางจะใช้ลายเดียวกันกับ แคน และพณิ ลายที่นิยม นำมาจัดท่าประกอบการฟ้อน เช่น ลายลมพัดพร้าว ลายช้างขึ้นภู ลายแม่ฮ้างกล่อมลูก ลายนกไซบินข้าม ท่งุ ลายแมงภตู่ อมดอก ลายกาเตน้ ก้อน เปน็ ตน้
4. ฟอ้ นภไู ท ฟ้อนภูไท การฟ้อนภูไทนี้ เป็นการละเล่นพื้นเมืองอย่างหนึง่ ของชาวผู้ไท เดิมที่นั้นการร่าย รำแบบนี้เป็นการร่ายรำเพื่อถวายพระธาตุเชิงชุมแต่อย่างเดียว ต่อมาได้ใช้ในงานแสดงในงานสนุกสนาน รน่ื เรงิ ตา่ งๆด้วย การแต่งกาย ชายนุ่งกางเกง ใสเ่ สื้อคอกลม มีผ้าขาวม้าคาดพงุ และมีผา้ พนั ศีรษะ เป็นผู้เล่น ดนตรีประกอบการฟ้อน หญงิ แตง่ ตัวแบบพื้นเมืองเดิม เกล้ามวยผม ใสเ่ ลบ็ ยาว ผกู แถบผ้าสีแดงบนมวยที่ เกลา้ ไว้ ดนตรที ใ่ี ช้ เครือ่ งดนตรีประกอบทใี่ ช้ในการเล่น ประกอบด้วย กลองส้ัน กลองยาว ตะโพน มา้ ล่อรำมะนา แคน ฉ่งิ ฉาบ
5. เซ้งิ ตงั หวาย เซิ้งตังหวาย เป็นการรำเพื่อบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ในพิธีขอขมาของชาวจังหวัดอุบลราชธานี ภายหลังนิยมแสดงในงานนักขัตฤษ์และต้อนรับแขกผู้มีเกียรติของภาคอีสาน ครูนาฏศิลป์พื้นเมือง วิทยาลัยนาฏศิลปร้อยเอ็ด กรมศิลปากร ได้ประยุกต์และจัดกระบวนรำขึ้นใหม่ รวม 12 ท่า จากท่ารำ แมบ่ ทอีสาน การแต่งกาย หม่ ผ้ายมีดอก นงุ่ ซน่ิ ฝา้ ยมัดหมมี่ ีเชิง เกล้าผมสูง ดนตรีทใี่ ช้ พื้นเมืองท่ใี ชบ้ รรเลงประกอบ คอื โปงลาง แคน พิณ ซอ ก๊บั แก๊บ ฉ่งิ และฉาบ
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: