Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตั๋วเงินรับ บทที่5

ตั๋วเงินรับ บทที่5

Published by Faii.thitipha, 2020-10-14 10:18:44

Description: ตั๋วเงินรับ

Search

Read the Text Version

บทท่ี 5 ตวั๋ เงินรับ นางสาวฐติ ิภา ทพิ วิชยั 63302010006 แผนกพณชิ ยการ สาขาวชิ าการบญั ชี



แนวคดิ ต๋ัวเงินรับจัดเป็นสินค้าประเภทหมุนเวียนที่มีสภาพคล่อง และเป็นตั๋วเงินท่ี กิจการได้รับจากบุคคลภายนอกท่ีสัญญาว่าจะจ่ายชาระเงินตามต๋ัวเมื่อตั๋วน้ันครบกาหนด เมอื่ เปรยี บเทยี บระหว่างลกู หนี้และต๋ัวเงนิ รบั กจิ การอาจยนิ ยอมทีจ่ ะรบั ตัว๋ เงนิ มากกวา่ ลูกหน้ี เพราะถ้าต๋ัวเงินเป็นต๋ัวชนิดที่มีดอกเบ้ียก็จะทาให้กิจการมีรายได้เพ่ิมขึ้นจากดอกเบ้ียรับ สาหรับลูกหนี้กิจการไม่ได้คิดดอกเบี้ย นอกเหนือจากนั้นกิจการสามารถนาตั๋วที่ยังไม่ถึง กาหนดไปขายลดใหก้ บั ธนาคารได้

1.การบันทึกบญั ชเี กยี่ วกบั ต๋ัวเงนิ รบั การค้า กจิ การจะบันทึกบญั ชตี ว๋ั เงินรบั ตามจานวนเงนิ ท่ีระบุไวห้ น้าตว๋ั ไมว่ า่ จะเปน็ ตว๋ั เงนิ ชนิดมีดอกเบ้ียหรือไมม่ ดี อกเบย้ี กต็ าม 1. เม่ือรับชาระหนี้หรือค่าขายสนิ คา้ เปน็ ตัว๋ เงิน เดบิต ต๋ัวเงินรบั xx เครดิต ลูกหนี้ (ขาย) xx 2. เมือ่ ตวั๋ เงินถงึ กาหนด เดบิต เงินสด/ธนาคาร xx xx เครดติ ตวั๋ เงินรบั

กรณเี ป็นต๋ัวมีดอกเบ้ีย จานวนเงนิ ที่ไดร้ ับเม่อื ตัว๋ ครบกาหนดจะมากกวา่ จานวนเงนิ ตามหน้าตวั๋ สว่ นต่างบนั ทึกไว้ดา้ น เครดิต บญั ชดี อกเบี้ยรบั ดังนี้ Dr. เงินสด xx Cr. ตว๋ั เงินรบั xx xx ดอกเบ้ยี รบั

เมือ่ วนั ที่ 1 ตุลาคม 2545 กจิ การขายสินคา้ ให้ บริษัท กนกพร จากัด จานวนเงิน 20,000 บาท โดยบริษัท กนกพร จากัด ออกตั๋วสญั ญาใชเ้ งินชนิดมดี อกเบ้ยี อตั ราดอกเบ้ยี 12% ตอ่ ปี อายขุ องต๋วั 2 เดอื น 2545 ต.ค. 1 Dr. ตัว๋ เงนิ รับ 20,000 Cr. ขายสนิ คา้ 20,000 ขายสินคา้ เป็นเงินเชื่อให้ บรษิ ัท กนกพร จากดั ธ.ค. 1 Dr. เงนิ สด 20,400 Cr. ตว๋ั เงนิ รบั 20,000 ดอกเบี้ยรบั 400 รบั ชาระเงินตามต๋วั เงินรบั ของบริษัท กนกพร จากัด (20,000x11020x122)

รายการปรับปรงุ ดอกเบ้ียคา้ งรับของตั๋วเงนิ ชนิดมีดอกเบ้ยี ตั๋วเงนิ รับชนิดท่มี ีดอกเบ้ยี กิจการถอื ไวจ้ นถึงวันส้นิ งวดบญั ชี แต่ยงั ไม่ถึงกาหนดชาระเงิน จะต้องมกี ารบันทึก รายการปรับปรงุ ดอกเบี้ยรบั สาหรับระยะเวลาทไ่ี ด้ตวั๋ เงินรับ มาจนถึงวันส้ินงวดบัญชี โดยถอื เปน็ รายการดอกเบี้ยค้างรบั จากตัวอยา่ งที่ 1 สมมตวิ ่าถ้าตวั๋ เงนิ รบั มีอายุ 6 เดอื น กจิ การจะต้องปรับปรงุ ดอกเบีย้ ค้างรับต้งั แต่วันที่ 1 ตลุ าคม 2545 ถงึ วันที่ 31 ธนั วาคม 2545 ดังน้ี 2545 Dr. ดอกเบยี้ คา้ งรับ 600 ธ.ค. 31 Cr. ดอกเบี้ยรับ 600 ปรบั ปรุงดอกเบ้ยี ค้างรับของตว๋ั เงินรับ บรษิ ทั กนกพร จากดั ระยะเวลา ตั้งแต่ 1 ตลุ าคม 2545 ถึง 31 ธันวาคม 2545 (20,000x11020 x132)

การแสดงรายการในงบดุล การแสดงรายการในงบกาไรขาดทนุ บริษทั ……….จากดั บริษัท…….จากดั งบดลุ งบกาไรขาดทุน ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2545 สาหรับปีส้นิ สุด วันท่ี 31 ธนั วาคม 2545 สนิ ทรัพยห์ มนุ เวยี น รายได้ - ดอกเบยี้ รบั 600 - ดอกเบย้ี คา้ งรบั 600

2. ต๋ัวเงนิ รบั ขาดความเชอื่ ถอื (Dishonoured notes recevible) ตั๋วเงนิ รับขาดความเช่อื ถอื หมายถงึ เมื่อตวั๋ เงินรบั ท่คี รบกาหนดชาระเงินแลว้ แต่ผอู้ อกต๋วั หรอื ผู้จ่ายชาระ เงนิ ไม่สามารถชาระเงินตามตว๋ั ดงั นัน้ กิจการจะตอ้ งบนั ทึกรายการใหผ้ ูท้ อ่ี อกต๋ัวหรอื ผ้จู ่ายชาระเงนิ กลบั มาเปน็ ลกู หน้ี กิจการใหมด่ ้วยจานวนเงนิ ตามตั๋วบวกดว้ ยดอกเบ้ียรบั พร้อมคา่ ใช้จา่ ยต่างๆ ทก่ี จิ การจ่ายไป เช่น ค่าทาคาคดั ค้าน ซึง่ ผู้รับเงินตามตั๋วหรอื ผู้ทรงตั๋วจะต้องทาคาคัดค้านภายใน 3 วนั นับแต่วันทต่ี ั๋วขาดความเช่ือถอื สาหรับดอกเบ้ยี พน้ กาหนด ถ้าเปน็ ตว๋ั ชนดิ มีดอกเบย้ี ให้ใช้อตั ราดอกเบยี้ ทีร่ ะบไุ ว้หน้าตั๋ว แตถ่ า้ เป็นต๋ัวเงินชนิดไมม่ ดี อกเบีย้ ให้ใชอ้ ตั รา 5% ตอ่ ปี

จากโจทย์ตวั อย่างที่ 1 สมมตวิ ่า บรษิ ทั กนกพร จากดั ไมส่ ามารถชาระเงินเมอื่ ต๋ัวครบกาหนด 2545 ธ.ค. 1 Dr. ลูกหน้ีการค้า 20,400 Cr. ต๋วั เงินรบั 20,000 ดอกเบีย้ รบั 400 บนั ทึกตวั๋ เงินรบั ของ บริษทั กนกพร จากัด ขาดความเชอ่ื ถือ สมมติวนั ที่ 1 กุมภาพนั ธ์ 2546 บริษัท กนกพร จากดั นาเงนิ มาชาระใหก้ ิจการพรอ้ มดอกเบย้ี พ้นกาหนด การคานวณ มูลคา่ ตว๋ั เงินรบั เม่ือครบกาหนด 20,400 บาท บวก ดอกเบ้ยี พ้นกาหนด (20,000x12%x122) รวมจานวนเงนิ ท่ไี ด้รบั 400 บาท 20,800 บาท 2546 ก.พ. 1 Dr. เงินสด 20,800 Cr. ลกู หนก้ี ารคา้ 20,400 ดอกเบยี้ รบั 400 รบั ชาระหนต้ี ามตว๋ั เงนิ รบั ขาดความเช่ือถือพรอ้ มดอกเบ้ียพ้นกาหนด

3. ตวั๋ เงินรบั ขายลด (Discounting notes receivable) ในกรณีทีก่ ิจการมคี วามจาเปน็ ที่จะใชเ้ งนิ สด และ มีความประสงค์ท่จี ะถือตัว๋ เงนิ รบั ไวจ้ นครบกาหนด กส็ ามารถนาตวั๋ เงินน้นั ไปขายลดทธ่ี นาคาร หรือ สถาบนั การเงิน โดยธนาคารหรือสถาบนั การเงนิ จะรบั ซอื้ ตว๋ั เงนิ รับโดยจะหักสว่ นลดไวล้ ว่ งหน้า ซง่ึ ถอื เป็นดอกเบ้ยี จ่าย และ จ่ายเงินใหก้ บั ผู้ขายภายหลงั จากทไ่ี ดห้ ักสว่ นลดไวแ้ ล้ว สาหรับผู้ท่ีนาต๋วั เงนิ รับไปขายลด ถ้าจานวนเงินที่ไดร้ บั สงู กว่าจานวนเงนิ ตามหนา้ ตวั๋ ให้บนั ทึกไวใ้ นบญั ชดี อกเบย้ี รับ ในทางตรงกนั ข้าม ถ้าจานวนทไี่ ดร้ ับตา่ กว่าจานวนเงินตามหน้าตัว๋ ให้บันทกึ ไว้ในบญั ชดี อกเบีย้ จา่ ย การนาตัว๋ เงนิ รบั ไปขายลดใหก้ บั ธนาคารหรือสถาบันการเงนิ นี้ ผ้ขู ายตั๋วเงินรบั ยงั มคี วามผกู พันท่จี ะต้อง รับผิดชอบอยู่ ถ้าหากว่าธนาคารไมส่ ามารถเรียกเก็บเงนิ จากผอู้ อกตั๋วเงนิ รบั ได้ผู้ขายจะตอ้ งเป็นผรู้ บั ผิดชอบชดใช้ หนก้ี ับธนาคาร ตามจานวนเงินตามหน้าตว๋ั รวมดอกเบีย้ รับ (มลู ค่าตั๋วเงินรับเม่ือครบกาหนด) และคา่ ใชจ้ า่ ยต่างๆ ท่ธี นาคารไดจ้ า่ ยไป ภาระผกู พนั ทเี่ กดิ ขนึ้ นีเ้ รยี กวา่ หนสี้ นิ อนั อาจจะเกิดขน้ึ ในภายหน้า(Contingent liability) ในการบนั ทึกบัญชกี จิ การซงึ่ เปน็ ผขู้ ายต๋ัวเงนิ รับและข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิในการนาตวั๋ เงินรบั ไปขายลดให้กับธนาคารมี ดงั นี้

1. คานวณหามูลค่าของตวั๋ เม่อื ครบกาหนด (จานวนเงินตามหนา้ ต๋ัว+ดอกเบี้ยรบั ) 2. คานวณหาจานวนสว่ นลดทีธ่ นาคารหักไว้ 3. คานวณหาจานวนเงินที่กจิ การจะได้รับทัง้ สนิ้ 4. คานวณหาดอกเบีย้ รบั หรอื ดอกเบย้ี จา่ ย 5. บันทกึ รายการบัญชี วนั ท่ีนาต๋ัวไปขายลด - กรณจี านวนเงนิ ทีไ่ ด้รับสูงกว่าจานวนเงินตามหน้าตัว๋ Dr. เงนิ สด xx Cr. ต๋ัวเงินรับขายลด xx ดอกเบ้ียรบั xx - กรณีจานวนเงนิ ที่ไดร้ บั ต่ากวา่ จานวนเงนิ ตามหนา้ ตวั๋ Dr. เงนิ สด xx ดอกเบยี้ จา่ ย xx xx Cr. ตวั๋ เงนิ รบั ขายลด

วนั ทต่ี ัว๋ เงนิ รับครบกาหนดและธนาคารเรยี กเกบ็ เงินตามตั๋วเงินรับได้ Dr. ตวั๋ เงนิ รบั ขายลด xx Cr. ตว๋ั เงนิ รบั xx เมือ่ วันท่ี 1 ตุลาคม 2545 กิจการนาตัว๋ เงนิ รับจานวนเงิน 200,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 12% ต่อปี อายุ 3 เดอื น ต๋วั ลงวันท่ี 1 กนั ยายน 2545 ไปขายลดใหธ้ นาคาร โดยธนาคารคิดส่วนลด 15% ตอ่ ปี 1. คานวณมูลคา่ ของตว๋ั เงนิ เมื่อครบกาหนด จานวนเงินหนา้ ต๋ัว 200,000 บาท บวก ดอกเบยี้ รับ (200,000x12%x132) มลู ค่าต๋ัวเงินเมื่อครบกาหนด 6,000 บาท 206,000 บาท 2. คานวณหาส่วนลดทีธ่ นาคารหกั ไว้ ส่วนลด = (206,000x15%x122) = 5,150 บาท

3. คานวณจานวนเงินทจี่ ะไดร้ บั 206,000 บาท มลู ค่าเมือ่ ถงึ กาหนด 5,150 บาท หกั สว่ นลดท่ธี นาคารหักไว้ 200,850 บาท จานวนเงนิ ทจ่ี ะไดร้ บั 4. การบันทกึ บญั ชี 2545 ต.ค. 1 Dr. เงินสด 200,800 Cr. ตัว๋ เงินรับขายลด 200,000 ดอกเบย้ี รับ 850 นาต๋วั เงินรบั ไปขายลดใหธ้ นาคาร ธนาคารหักสว่ นลด 15% ตอ่ ปี สมมติเมอ่ื วันท่ี 1 ธนั วาคม 2545 ธนาคารเรยี กเกบ็ เงินตามตว๋ั เงนิ รับได้ จะบันทึกบัญชี ดงั น้ี 2545 ธ.ค. 1 Dr. ตั๋วเงินรบั ขายลด 200,000 Cr. ตั๋วเงินรบั 200,000 ธนาคารเรยี กเก็บเงินตามต๋ัวเงินรับขายลดได้

4. ต๋ัวเงินรบั อืน่ ๆ (Notes receivable others or nontrade notes receivable) ต๋ัวเงินรับอ่ืนๆ หมายถึง ตั๋วเงินรับที่มิได้เกิดจากการดาเนินงานตามปกติ เช่น ตั๋วเงินรับที่ได้ จากการให้กู้ยืมเงิน ตั๋วเงินรับท่ีได้จากการขายสินทรัพย์อ่ืนท่ีมิใช่สินค้า การกาหนดมูลค่าของต๋ัวเงินใช้ หลกั การคานวณเดยี วกับต๋วั เงนิ รับการค้า ต๋วั เงนิ รับอน่ื ๆ ชนดิ ไม่มีดอกเบยี้ กรณที ี่กจิ การใหผ้ อู้ น่ื กยู้ มื เงนิ และรับชาระหน้เี ปน็ ตว๋ั เงินรบั ชนดิ ไม่มดี อกเบ้ีย กิจการอาจจะหัก จานวนเงนิ ส่วนทเ่ี ปน็ ดอกเบีย้ ไว้ล่วงหนา้ และในขณะทก่ี ้ยู ืมเงนิ กิจการจะจ่ายเงินให้ลูกหนี้ไม่เต็มตามจานวนท่ี ระบุไวใ้ นต๋วั เงนิ เมือ่ ครบกาหนด กิจการจะได้รบั ชาระเงินตามจานวนที่ระบไุ วห้ น้าตัว๋ รายการบญั ชที ีบ่ นั ทึก คือ การรบั ชาระหนต้ี ามตัว๋ เงนิ รบั และโอนบัญชสี ว่ นลดในต๋ัวเงนิ รบั ไปยังบญั ชดี อกเบยี้ รบั

การบันทึกบัญชีตัว๋ เงินรบั อนื่ ๆชนดิ ไม่มีดอกเบ้ยี • ขณะที่ให้กู้ Dr. ต๋ัวเงินรบั xx Cr. สว่ นลดของตั๋วเงนิ รับ xx • ตวั๋ ครบกา Dr. เงนิ สด xx สว่ นของตว๋ั เงนิ รบั xx Cr. ตั๋วเงนิ รับอ่นื ๆ xx xx ดอกเบ้ยี รบั

คาศพั ท์บญั ชี คาศัพท์ ความหมาย 1. Bill of exchange ต๋ัวแลกเงนิ 2. Discounting notes receivable ตั๋วเงนิ รบั ขายลด 3.Dishonoured notes receivable ตั๋วเงนิ รบั ขาดความเชื่อถอื 4. Notes receivable ตว๋ั เงินรับ 5. Cheque เช็ค

บทสรุป ตวั๋ เงินรับมี 2 ชนิด คือ 1. ต๋ัวสัญญาใช้เงนิ (Promissory note หรือ P/N) มผี ู้เกย่ี วข้อง 2 ฝ่าย คอื ลูกหน้ี (ผู้ออกต๋ัวสญั ญาใช้เงิน) และ เจ้าหนี้ (ผู้รบั เงนิ ) 2. ต๋วั แลกเงิน (Bill of exchange หรือ B/E) มผี ู้เกี่ยวขอ้ ง 3 ฝา่ ย คือ ผู้สงั่ จา่ ย ลูกหนี้ (ผ้จู ่ายเงิน) และเจ้าหน้ี (ผ้รู บั เงิน) กจิ การสามารถที่จะนาต๋วั เงินรับไปขายลดกบั ธนาคาร หรอื สถาบนั การเงนิ กอ่ นที่ต๋วั เงินรับนน้ั จะครบกาหนด ตามวนั ท่ใี นหน้าตวั๋ ได้ โดยทกี่ จิ การยัง มีความรับผดิ ชอบ ถ้าต๋ัวเงินรบั นน้ั ไมส่CRาEมDIาTSร:ถเรยี กเกบ็ เงนิ ได้ This presentation template was created by Slidesgo, including icons by Flaticon, and infographics & images by Freepik. Please keep this slide for attribution. THANKS!

บรรณานกุ รม ศริ ิวรรณ ผวิ นวล และคณะ. การบัญชชี น้ั กลาง 1. บริษทั สานักพมิ พเ์ อมพันธ์ จากดั : พิมพค์ ร้งั ท่ี 1 กรงุ เทพฯ 2558


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook