Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงร่างงานวิจัย-เมลดา-1-2564

โครงร่างงานวิจัย-เมลดา-1-2564

Published by tungme888, 2021-09-10 02:58:08

Description: โครงร่างงานวิจัย-เมลดา-1-2564

Search

Read the Text Version

โรงเรยี นปากเกรด็ จงั หวดั นนทบรุ ี - 1 - โครงร่างงานวจิ ัยเพ่อื พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา โครงร่าง : งานวิจยั เพือ่ พัฒนาคุณภาพการศึกษา โรงเรยี นปากเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จงั หวดั นนทบุรี กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชื่อครูผูว้ จิ ัย นางสาวเมลดา รุ่งเรือง ตำแหนง่ ครู 1. ขื่อเรื่องงานวจิ ัย การพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวชิ าคณิตศาสตร์ 1(ค21101) ของนกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใชก้ ารจัดการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ (Moodle) เปน็ งานวิจัยประเภท 1.วิจัย/ผลสมั ฤทธฯ์ิ  2.วจิ ยั /แบบสำรวจ แบบสอบถาม  3.วจิ ัย/พฤตกิ รรม  4.วิจยั /แบบรายบุคคล กรณีศกึ ษา (Case Study)  5. อน่ื ๆ/ระบุ 2. ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา (โดยย่อ) จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนทุกคนซ่ึงเป็น กำลังของชาติให้เป็นมนษุ ยท์ ี่มีความสมดุลทงั้ ด้านร่างกาย ความรู้ คณุ ธรรม มีจติ สำนึกในความเป็นพลเมืองไทย และพลโลก ยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และ ทกั ษะพ้ืนฐาน รวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการเรียนรู้ตลอดชวี ิต โดยมุ่งเน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ (หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน 2551) ซึ่งในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้แบ่งสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ออกเป็น 8 สาระการเรียนรู้ โดยวิชาคณิตศาสตร์ก็ได้เป็นสาระการเรียนรู้ 1 ใน 8 สาระการเรยี นเรียนตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ในสภาพการณ์ปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 19 ทำให้การดำเนินชีวิตของมนุษย์ได้มีการ เปล่ียนแปลงไปอยา่ งมาก ทง้ั การใช้ชีวิตประจำวัน และการเรยี น ซ่ึงจากประกาศสถานการณ์ฉกุ เฉินในวนั ที่ 25 มนี าคม พ.ศ. 2563 และประกาศมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันวกิ ฤตกิ ารณ์จากโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ของกระทรวงสาธารณสุข ส่งผลให้มีการงดการจัดการเรียนการสอนของสถาบันการศึกษาต้ังแต่วันท่ี 18

โรงเรียนปากเกรด็ จงั หวัดนนทบรุ ี - 2 - โครงรา่ งงานวิจัยเพอื่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา มีนาคม 2563 และปรับวิธีการจัดการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์สหรับนักเรียนซึ่งในปัจจุบันโรงเรียนต้องมีการ เตรียมตัวและรับมือให้พรอ้ มต่อทุกการเปลี่ยนแปลง และสร้างระเบียบวินัยให้ผู้เรียนมีวินัยในการเข้าเรียนด้วย ตนเอง ผู้วิจัยจึงตระหนักว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางนั้นควรมีการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจบุ ันโดยการจดั การเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ อีกท้ังผู้เรียนเป็นนักเรียนชัน้ ม.4 ท่ี มคี วามรับผิดชอบต่อตนเองและรู้หน้าที่เป็นอย่างดี ผูว้ ิจัยจงึ มคี วามเห็นวา่ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ จึงมีความเหมาะสมกับช่วงวัย และสามารถกระตุ้นความสนใจได้ดีทำให้ผู้เรียนเกิดความตั้งใจเรียนและทำให้วิ คณิตศาสตร์ท่ีมีความน่าเบ่ือให้กลับมาน่าสนใจยิ่งขึ้นแต่ในทางกลับกัน คณิตศาสตร์เป็นวิชาที่มีเนื้อหา คอ่ นข้างมากพอสมควร ความเช่อื ถือวา่ จะพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรยี นให้เพิ่มขึน้ ได้ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์เป็นส่ือการเรียนรู้ เป็นกระบวนการที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ส่งเสริมให้ผู้เรียนค้นพบคำตอบที่ต้องการด้วยตนเอง สามารถให้ผู้เรียนได้ศึกษาความรู้ได้ด้วยตนเองโดยไม่ จำกัดเวลา ส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึนตามไปด้วย สอดคล้องกับงานวิจัยของ สามมิติ สุขบรรจง (2554). เรื่อง การพัฒนาบทเรียน E.Learning รายวิชา “การแสดงและสื่อ” พบว่า ผู้เรียนกลุ่มอย่างที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์มีคะแนนสูงกว่า การสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และ ชาลิสา จิตบุญญาพินิจ และประสงค์ ประณีตพลกรัง (2559). เรื่อง ผลการเรียนรู้และผลสัมฤทธ์ิทางการ ศกึ ษาในการพฒั นารูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนอเี ลิร์นนิง่ ในรายวชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศ สำหรับ นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 พบว่านักเรียนท่ีได้รับการจัดการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์มีผลการเรียน หลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถิติท่ี .05 ซึ่งสอดคลอ้ งกบั ธรี าวัชร์ สริ ิวิมลพงษ์ (2560). เรอ่ื ง การศึกษาผลการเรยี นรู้ด้วยวิธีการสอนในช้ันเรียนและการสอนผ่านระบบออนไลน์ เรื่อง การส่ือสารข้อมูลและ เครือข่าย พบว่า การจดั การเรยี นรผู้ ่านระบบออนไลน์ มคี า่ เฉลย่ี สงู กว่าการสอนแบบปกติ จากเหตุผลดังกล่าว พอสรุปได้วา่ การสอนผ่านระบบออนไลน์สามารถเพมิ่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไดใ้ น รายวิชาอ่ืน ๆ ทำให้ผู้วิจัยมีความสนใจที่จะศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับวิธีสอนผ่านระบบออนไลน์ในรายวิชา คณิตศาสตร์1 เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ผลของการวิจัยจะเป็น แนวทางในการพฒั นาการเรียนการสอนวชิ าคณิตศาสตร์1 ให้มีประสิทธภิ าพต่อไป

โรงเรยี นปากเกรด็ จงั หวดั นนทบรุ ี - 3 - โครงร่างงานวิจัยเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา 3. วตั ถปุ ระสงคข์ องงานวิจยั (ความมงุ่ หมายของงานวิจัย) 1. เพือ่ เปรยี บเทียบค่าเฉลีย่ ก่อนเรยี นและหลงั เรียนของผ้เู รียนทไ่ี ด้รับการจดั การเรียนรู้ผ่านระบบ ออนไลน์ 2. เพ่อื ศึกษาความคงทนของผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของผู้เรียนท่ไี ดร้ ับการจัดการเรยี นรู้ผ่านระบบ ออนไลน์ 4. ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รับ 1. ไดส้ ารสนเทศสำหรับการจัดการเรียนการสอน 2. เป็นแนวทางในการจัดการเรยี นร้สู ำหรับครูท่สี อนในระดับชน้ั มัธยมศกึ ษา 5. ขอบเขตของการวิจัย 5.1 ขอบเขตด้านประชากร ประชากร คือ นักเรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 โรงเรยี นปากเกรด็ จำนวน 15 หอ้ งเรียน รวมทง้ั ส้ิน 626 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนปากเกร็ด 1 ห้องเรียน จำนวน 34 คน ซ่ึงได้ จากการส่มุ แบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Samping) 5.2. ขอบเขตด้านเน้อื หา เนอื้ หาทใี่ ช้ในการวจิ ัยคร้ังน้ี เป็นเนอื้ หาในรายวชิ าคณิตศาสตร์ 1 ประกอบดว้ ย 5 หนว่ ยการเรยี นรู้ 1) ระบบจำนวนเตม็ 2) จำนวนตรรกยะ 3) เลขยกกำลงั 4) มิตสิ ัมพนั ธ์ของรูปเรขาคณิต 5) สมการเชงิ เส้นตวั แปรเดียว 6. เครื่องมือทใี่ ชใ้ นการวิจยั 1. แผนการจัดการเรียนรผู้ า่ นระบบออนไลน์ (Moodle) 2. การเรยี นรู้ระบบออนไลน์ (Moodle) ผา่ นเว็บไซต์ www.pakkredlearningcyber.com 3. แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ใช้สำหรับวัดก่อนเรียน หลังเรียน และวัดซ้ำหลังเรียนเม่ือนักเรยี น เรยี นผ่านไปแล้ว 2 สปั ดาห์ โดยเปน็ แบบทดสอบปรนัย 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ

โรงเรยี นปากเกรด็ จงั หวดั นนทบรุ ี - 4 - โครงร่างงานวิจยั เพอ่ื พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 7. ตวั แปรทศ่ี กึ ษา ตวั แปรอสิ ระ คือ การจัดการเรยี นรผู้ ่านระบบออนไลน์ (Moodle) ผา่ นเวบ็ ไซต์ www.pakkredlearningcyber.com ตวั แปรตาม คอื ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นวิชาคณิตศาสตร์1 ของนักเรยี นระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ท่ี ใช้การจดั การเรยี นรู้ผา่ นระบบออนไลน์ (Moodle) 8. นยิ ามศพั ท์เฉาะ 1. การเรียนรู้ระบบออนไลน์ หมายถึง การรับรู้ข้อมูล เพ่ือพัฒนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ ผ่านระบบ อินเตอร์เนต็ ที่ครูผูส้ อนจัดเตรยี มเนือ้ หาประสบการณใ์ หผ้ เู้ รียนไดฝ้ กึ หดั 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความร้คู วามเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในการแก้ โจทย์ปัญหา ซ่ึงประเมินได้จากการใช้แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนมีลักษณะเป็น แบบทดสอบแบบปรนัย 4 ตวั เลอื ก จำนวน 2 ชุด ซึ่งแบ่งเป็นแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลงั เรยี น โดยใช้ขอ้ สอบชุดเดียวกัน แต่แบบทดสอบหลังเรยี น จะมกี ารสลบั ข้อและสลับตัวเลือก 9. กรอบแนวคิดในการวิจยั ตัวแปรตน้ การจดั การเรียนรรู้ ะบบออนไลน์ ตัวแปรตาม ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์1

โรงเรียนปากเกรด็ จงั หวัดนนทบรุ ี - 5 - โครงร่างงานวจิ ยั เพือ่ พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 10. สมมตุ ิฐานของการวิจัย (ถา้ มี : ตอ้ งสอดคล้องกับวตั ถุประสงคข์ องงานวจิ ัยหรอื ความมงุ่ หมายของ งานวจิ ยั ) หลังได้รบั การจัดการจดั การเรียนรูผ้ ่านระบบออนไลน์ (Moodle) ผา่ นเว็บไซต์ www.pakkredlearningcyber.com นกั เรยี นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณติ ศาสตร์ สูงกวา่ ก่อนเรียน 11. เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี กี่ยวข้อง ไดด้ ำเนนิ การศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี ก่ียวข้อง ดงั นี้ 1. เอกสารที่เกี่ยวขอ้ งกับวชิ าคณิตศาสตร์1 1.1 การจัดการเรยี นรู้วิชาคณิตศาสตร์ 1.2 เนอื้ หาท่ีใชใ้ นการวิจัย 2. เอกสารท่เี ก่ยี วข้องกบั ความพงึ พอใจในการจดั การเรยี นการสอน 2.1 ความหมายของความพงึ พอใจ 2.2 ความสำคัญของความพงึ พอใจ 2.3 ประเภทของความพึงพอใจ 2.4 วธิ ีการสร้างความพงึ พอใจ 3. เอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั บทเรยี นออนไลน์ 3.1 ความหมายของการเรียนออนไลน์ 3.2 องคป์ ระกอบของบทเรียนออนไลน์ 3.3 รปู แบบการเรียนการสอนด้วยบทเรียนออนไลน์ 3.4 ทฤษฎกี ารเรียนรู้ทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั บทเรยี นออนไลน์ 12.1 แบบแผนการวจิ ยั และสถติ ิที่ใช้ แบบแผนการวิจยั และสถติ ทิ ่ใี ชท้ ดสอบสมมตุ ิฐาน แบบแผนการทดลองแบบ One-group pretest – posttest design (เปรียบเทียบก่อน-หลัง) กลมุ่ สอบก่อน ทดลอง สอบหลัง E T1 X T2 สถิติทดสอบ t (t-test for Dependent Samples)  D : df = n −1 สูตร สูตรทใี่ ช้ทดสอบ t = n D2 −(D)2 n −1

โรงเรยี นปากเกรด็ จงั หวดั นนทบรุ ี -6- โครงรา่ งงานวิจยั เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 12.2 สถิติพ้ืนฐาน สถติ ิในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ค่าสถิตพิ นื้ ฐาน คา่ เฉล่ีย = สว่ นเบี่บงเบนมาตรฐาน S.D. = 12.3 สถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการตรวจสอบเครอื่ งมือ IOC = 13. แหล่งคน้ ควา้ หรอื เอกสารอา้ งอิง กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2551). หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย. เกศินี โชติกเสถียร. (2529). ใน เอกสารประกอบการสอนวิชาการใช้เทคโนโลยีทางการสอนในห้องเรียน. กรุงเทพฯ: ภาควิชาเทคโนโลยที างการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร.์ มหาวิทยาลยั จำนง พรายแย้มแข. (2531). เทคนคิ การสอนกล่มุ สร้างเสริมประสบการณช์ ีวิต. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ . จุลจักร โนพันธ์; และ วัฒนา สุทธิปัญญา. (2527). เกมการแข่งขันเพื่อลดเวลาการสอนลดเวลาการสอน นวัตกรรมท่ีนา่ สนใจ. ลพบรุ ี: โครงการสง่ เสรมิ สมรรถภาพการสอน. พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2530). การสร้างและพัฒนาแบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิ. กรุงเทพฯ: สำนักทดสอบทาง การศึกษาและจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2560). คูม่ อื ครกู ารใช้ หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) กรุงเทพฯ: สถาบัน ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี ลงช่ือ ..................................................... ผเู้ สนอโครงรา่ งงานวจิ ัย (นางสาวเมลดา รุง่ เรอื ง) ตำแหนง่ ครู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook