ชาตพิ ันธ์ุ
ไดม้ ผี ้ใู หค้ วามหมายของคาว่า ชาตพิ นั ธ์ุ ไวห้ ลากหลาย ในทีน้ี ผจู้ ัดทาได้รวบรวมความหมายของคาวา่ ชาติพันธ์ุ จากนักวิชาการตา่ ง ๆ ทไี่ ด้ ใหค้ วามหมายที่แตกต่างกนั ไป คณะกรรมการจดั ทาพจนานกุ รมศพั ทม์ านุษยวทิ ยา ราชบณั ฑิตยสถาน อธิบายวา่ ชาติพนั ธุ์ (ethnicity) หมายถงึ กลุ่มชนท่มี ี ลกั ษณะสาคัญทางวัฒนธรรมร่วมกนั เช่น ภาษา ศาสนา ขนบประเพณี ประวัติศาสตร์ รปู แบบของบ้านเรอื น การแต่งกาย อาหารการกิน และ การละเล่น
สานักงานราชบัณฑติ ยสถานไดใ้ ห้ไดอ้ ธบิ ายคาวา่ ชาตพิ ันธ์ุ ประกอบดว้ ย คาวา่ ชาติ กับ พันธ์ุ ชาติ หมายถึง กลมุ่ ชนท่ีอยรู่ วมกนั เปน็ ประเทศ มคี วามรูส้ กึ ผกู พันรับผิดชอบรว่ มกันในเรือ่ งภาษา ประวัติศาสตร์ความเป็นมาและวฒั นธรรม หรืออยู่ในปกครองรฐั บาลเดียวกนั พนั ธุ์ หมายถึงเช้อื สาย วงศว์ าน เทอื กเถาเหล่ากอ ชาติพันธุ์ (อ่านว่า ชาด-ติ-พัน) จงึ หมายถึงกลมุ่ คนท่อี ยใู่ น ประเทศใดประเทศหนงึ่ และมีวฒั นธรรมรว่ มกนั มขี นบธรรมเนียมประเพณแี ละ ภาษาพูดเดยี วกนั ท้งั มีความเชอ่ื ว่าสบื เช้อื สายมาจากบรรพบุรษุ เดยี วกนั กล่มุ ชาติ พนั ธุใ์ ช้หมายรวมทั้งชนท่ีเป็นกลมุ่ ใหญแ่ ละชนทีเ่ ปน็ กลุ่มนอ้ ย ในประเทศไทย คนไทยเป็นกลุม่ ชาตพิ ันธทุ์ ใี่ หญท่ ี่สุด นอกจากนน้ั ยงั มกี ลมุ่ ชาติพนั ธ์ตุ า่ ง ๆ อกี จานวนมาก เชน่ กลุ่มชาติพนั ธ์จุ ีน กลมุ่ ชาตพิ นั ธม์ุ อญ กลุ่มชาตพิ ันธเุ์ ขมร กลมุ่ ชาติ พันธุก์ ะเหรีย่ ง กลุ่มชาตพิ นั ธซ์ุ าไก รัฐบาลพยายามสง่ เสริมใหท้ กุ กลมุ่ ชาตพิ นั ธ์ุทอี่ ยู่ ในประเทศไทยมคี วามเท่าเทยี มกนั และมคี วามสานกึ เป็นชาติเดยี วกนั
ในความคิดของมอนเทกิว (A. Montague) “กลมุ่ ชาตพิ ันธ์ุ” หมายถงึ กลุ่มคนหรอื กลมุ่ ชนทถี่ ูก มองวา่ แตกต่างจากกลมุ่ อน่ื ๆ ในทางกายภาพหรอื ในทางวฒั นธรรม เฟรดรกิ บารธ์ (Fredrik Barth) นกั มานุษยวิทยาชาวองั กฤษนักคดิ คนสาคญั ได้ใหค้ วามหมาย วา่ คือ กลุ่มคนที่มแี บบแผนพฤติกรรมทางวฒั นธรรมรว่ มกัน เป็นส่วนหนึ่งของสงั คมใหญท่ าใหม้ ีการ ปฏิสัมพนั ธก์ ับกลุ่มชาติพนั ธุ์อ่ืนๆ ทอ่ี ยู่รว่ มระบบสงั คมเดยี วกนั สรปุ ไดว้ ่า ชาตพิ ันธห์ุ มายถึง กลุ่มคนที่อาศยั อยู่บรเิ วณเดียวกัน มคี วามเช่อื ความคดิ เดียวกัน จนพฒั นาไปเป็นประเพณีและมวี ัฒนธรรมเดียวกัน
นอกจากนี้ชาติพันธ์ยุ งั สามารถจาแนกมนุษยใ์ ห้มคี วามแตกต่างกันในหลาย ๆ ด้าน โดยมนุษย์นั้นไดถ้ กู จาแนกออกเปน็ 3 กล่มุ ใหญ่ ๆ อันเนื่องมาจากปัจจยั บรรพบุรษุ ทางภูมศิ าสตร์ รูปลกั ษณ์ทาง กาย และความเป็นชาติพันธุ์ จาแนกออกเปน็ 3 กล่มุ ใหญ่ ๆ ดงั ต่อไปน้ี 1.มนุษย์เชือ้ ชาติคอเคซอยด์ 2.มนษุ ย์เชื้อชาตินิกรอยด์ 3. มนษุ ย์เช้ือชาติมองโกลอยด์
1. มนุษย์เชอ้ื ชาตคิ อเคซอยด์ แพร่กระจายในแถบยโุ รป อเมรกิ าเหนอื – ใต้ มีรปู ร่างสูงใหญ่ ผิวขาว ขนตาม ลาตวั สนี า้ ตาล ผมสีทอง รมิ ผปี ากบาง จมูกโด่ง นัยน์ตาสีนา้ เงิน หรอื สีฟา้ มีเชอ้ื ชาตยิ ่อยเป็น พวกนอรด์ ิก เซลตคิ อามาเนีย และออสเตรเลยี 2. มนุษยเ์ ช้อื ชาตนิ ิกรอยด์ กระจัดกระจายอยู่ในแอฟรกิ าและมชี าติยอ่ ย ๆ ในปาปวั นิวกนิ ี และเมลานีเซีย มีผวิ สี ดาและสีน้าตาลเข้ม ผมดาหยกิ ขอด รมิ ฝีปากหนา รูปร่างสันทดั และสงู ใหญ่ในบางกลมุ่ 3. มนุษย์เช้ือชาตมิ องโกลอยด์ กระจัดกระจายอยู่ในเอเชยี มีชาติยอ่ ย ๆ เช่น เอสกโิ ม อินเดียน ในอเมริกาเหนอื - กลาง รูปร่างสนั ทัด ผมสีดา ตาสนี า้ ตาล มีผวิ สเี หลืองจมกู ไม่โดง่ นกั สว่ นมากอาศัยอยใู่ นภูมภิ าคเอเชยี ตะวันออก เฉยี งใต้ โดยชาติพันธุ์ในจงั หวัดสกลนคร เปน็ ชาตพิ นั ธุท์ มี่ เี ช้อื สายมองโกลอยด์ และมคี วามแตกตา่ งกนั ไปตาม ลักษณะทางภูมศิ าสตร์ก่อนอพยพมาอยู่ในจังหวดั สกลนคร ซง่ึ มี 6 ชาติพันธ์ุ
ความเป็นมาของจงั หวัดสกลนคร เดมิ ชื่อเมืองหนองหารหลวงแห่งอาณาจกั รขอมโบราณ ปจั จบุ นั คืออาเภอโคกศรสี ุพรรณ พทุ ธศตวรรษที่ 19 อยภู่ ายใตอ้ ิทธพิ ลของอาณาจักรล้านช้าง จงึ เปล่ียนชอ่ื เปน็ เชียงใหม่หนองหารจนถงึ ในสมัยรตั นโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ใหย้ กพระธาตุเชิงชมุ เป็น เมืองสกลวาปี พระบาทสมเด็จพระ จลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวทรงเปลย่ี นรูปแบบการปกครองเปน็ ส่วนภมู ภิ าค โดยส่วนกลางสง่ พระยาสุริยเดช (กาจ) มา เป็นขา้ หลวงเมืองสกลนครคนแรก
คาว่า \"สกลนคร\" มาจากคาภาษาสนั สกฤต สกล (สะ-กะ-ละ) หมายความว่า โดยรวม ครอบคลุม หรือทงั้ หมด และ คาวา่ \"นคร\" (นะ-คะ- ระ) จากภาษาสนั สกฤต หมายถึงแหล่งท่อี ยู่ หรอื เมือง ดงั นนั้ ชอ่ื ที่แท้จรงิ ของ เมอื งหมายความวา่ \"นครแห่งนครทงั้ มวล\" จงั หวัดสกลนครตงั้ อยูภ่ าคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนบน มีประวตั ิศาสตรม์ ายาวนาน มกี ารขดุ พบซากฟอสซลิ ไดโนเสาร์ และการ สารวจแหลง่ ชุมชนโบราณในพ้นื ที่แอ่งสกลนคร นอกจากนจ้ี ังหวดั สกลนครยงั มีความหลากหลาย เชน่ มีกลุ่มชาติ พนั ธม์ุ ากถงึ 6 ชนเผ่า ถอื ได้ว่าเปน็ อตั ลักษณ์ของคนจังหวัดสกลนครท่ีมีความเชื่อ วถิ ชี วี ติ และประวัตศิ าสตร์ที่ หลากหลาย แตส่ ามารถอยูร่ ว่ มกนั ได้
1. ไทอสี านหรอื ไทยลาว ประวตั กิ ารตงั้ ถน่ิ ฐาน ไทลาวหรือไทอีสาน มีการตงั้ ถ่นิ ฐานอาศัยอยใู่ นที่ลมุ่ แมน่ า้ โขงก่อนพุทธศตวรรษท่ี 22 อาศยั กระจายกัน แถวริมฝ่งั แม่นา้ โขง ตงั้ แตจ่ งั หวดั เลย หนองคาย อดุ รธานี สกลนคร จนถึงนครพนม ขณะนน้ั อยูใ่ นอาณาจกั รลา้ นช้าง ชาวลาวสว่ นใหญ่มบี รรพบุรุษ อพยพมาจากฝั่งซา้ ยแมน่ า้ โขงหรอื ในประเทศสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาวในปัจจุบนั นอกจากน้ีพบกระจายตงั้ ถิ่นฐานอยู่ ใรบริเวณต่าง ๆ ของท่รี าบสูงโคราช อาทิหนองบวั ลาพนู ขอนแกน่ มหาสารคาม ยโสธร ชัยภมู ิ และอบุ ลราชธานี เปน็ ตน้
พิธีกรรมและระบบความเชื่อ ประเพณี และระบบความเชือ่ สงั คมคนไทยลาว เปน็ สังคมท่มี ลี ายลกั ษณ์อักษรร้หู นังสือ นับถอื พระพทุ ธศาสนา มี ขนบธรรมเนียม และจารตี ประเพณีของความเป็นเมอื งอยูก่ อ่ นแล้ว คนไทยลาวจงึ ใชก้ ารนับถอื พระพุทธศาสนา และการนบั ถือผเี ปน็ แกนกลางของระบบประเพณี พิธีกรรม สามารถสร้างความ สมดลุ ในระบบความเชอื่ ทงั้ สอง ทาใหเ้ กิดการดารงชีวิตท่ีราบรนื่ และ มั่นคงมจี ติ ใจที่ดกี วา่ ชนชาติ อน่ื ๆ คนไทยลาวในภาคอีสานจะนับถือผบี า้ น หรือท่เี รียกว่าผีปตู่ า หรือผีตาปู่ ซง่ึ ชุมชน บา้ นไทยลาวตอ้ งมีศาลปู่ตา ซงึ่ สว่ น ใหญจ่ ะอยู่ในบริเวณใดบริเวณหนง่ึ ภายในหรือใกล้กับหม่บู ้าน มักเปน็ บริเวณทีแ่ ยกจากเขตเรือนและมีตน้ ไม้ใหญ่ปกคลมุ แสดงใหเ้ ป็น เขตเฉพาะท่ใี ครจะมาหกั โคน่ ต้นไมไ้ ม่ได้ จนมักมีผูก้ ล่าวว่าศาลผีปตู่ าเป็นสงิ่ ท่ชี ว่ ยอนุรักษ์ป่าไม้ไว้ไดเ้ หมือนกนั ศาลปู่ตาเป็นศาล ของผบี ้าน มเี จ้าจา้ หรอื หมอจา้ เปน็ ผู้ทตี่ ิดตอ่ วิญญาณ ณ บริเวณศาลปู่ตา ศาลป่ตู าจงึ เปน็ ผบี รรพบุรษุ ของคนในบา้ นที่เวลามกี าร โยกยา้ ยถนิ่ ฐาน ผูค้ นในบ้านต้องพามาด้วยเพอื่ คอยปกปอ้ งคุ้มครองมักมกี ารเซน่ ไหวป้ ระจาปี โดยผา่ นเจา้ จา้ หรือหมอจา้ เปน็ ผ้นู า ประกอบพิธกี รรมเปน็ เสมอื นการบอกกล่าว ในยามทม่ี ีความเดือดร้อนเกิดข้นึ เช่น กอ่ นทนี่ าจะต้องมกี ารบอกกล่าว หรือเรียกวา่ เล้ียง ผตี าแฮก เป็นต้น อาจกลา่ วไดว้ ่าผีปตู่ า คอื ผผี ดู้ ูแลและให้ความร่มเยน็ เปน็ สขุ แกผ่ คู้ นในหมู่บ้าน แตห่ ากคนไม่อยใู่ นจารีตประเพณีที่ดี งามแล้วจงึ เปน็ การละเมิดผี ละเมดิ กฎของชมุ ชน และอาจถกู ผปี ู่ตาลงโทษ ใหเ้ กดิ ความเดือดร้อน และความวิบตั นิ านาประการแก่ ผู้คนในชมุ ชนได้
พิธเี หยา ปู่ตา
การแตง่ กาย กล่มุ ไทยลาวในสมัยอดีต ผหู้ ญงิ จะนุ่งผา้ ซ่นิ ยาวปดิ เข่า จะ ตกแตง่ ชายผา้ ช้นิ เรียกว่า ตีนซ่นิ ซ่งึ นิยมตนี ซนิ่ สีนา้ เงินเข้ม (สีหมอ้ ดนิ ) แทรกทางลงสขี าว ปกติใช้ผา้ ฝา้ ย หากเป็นพิธีการ จะใช้ ผ้าไหม เสื้อแขนกระบอกเกลา้ ผมมวยสูง หากมอี ายุแลว้ ฝา่ ยหญงิ จะ เกล้าผมมวยต่าไวท้ ี่ทา้ ยทอย ห่มสไบทบั หรือเรียกว่าผา้ เบี่ยงหรือผา้ หม่ เบย่ี ง ส่วนฝ่ายชายจะนุง่ กางเกงเรียกตามภาษาถิ่นวา่ “โซง่ ” เป็นกางเกงยาว เหนอื เข่าหรอื เสมอเข่า เสือ้ คอกลม ผา่ หน้าตดิ กระดุม แขนกระบอก ผ้าขาวม้าคาดเอว บางครั้งจะ นงุ่ โสร่งผา้ ไหม ซง่ึ มักจะเปน็ งานพิธีการจะนยิ มสวมใสผ่ ้าไหม
2. กลมุ่ ชาตพิ นั ธภ์ุ ูไท ประวตั ิการตัง้ ถนิ่ ฐาน มีถิ่นฐานดงั้ เดิมอย่ใู นแคว้นสิบสองจไุ ทย และแควน้ สิบสองปนั นา ดนิ แดนส่วนเหนือของลาว และ เวียดนามตดิ ตอ่ กับภาคใตข้ องประเทศจีน ถิน่ เดิมก่อนอพยพ ชาวผไู้ ทยจานวนมากอาศยั กระจัดกระจายทั่วไป ในบริเวณท่ีเรยี กว่า “สบิ สองจุไท” โดยเฉพาะบริเวณลุ่มแม่น้าคา อยูร่ วมกับเผา่ อน่ื ๆ เนอ่ื งจากความอดุ ม สมบรู ณ์ของล่มุ แม่น้าคา ทาใหช้ าวภูไทยส่วนใหญ่อาศัยอยู่บรเิ วณนี้
พธิ ีกรรมและระบบความเช่อื ความแตกต่างของพธิ ีกรรมขน้ึ อยู่กับประเภทของผีแต่ละชนิดซ่ึงแบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1. ผีฟา้ หรือเทวดา 2. ผีเจา้ หรือเจ้าผี 3. ผีเลวหรือผสี ามัญ เชน่ ผบี รรพบุรุษหรือผปี ูต่ า ผตี ระกลู ผเี รือน ความเชอื่ เรือ่ งผมี เหสักข์ของชาวผไู้ ทย ชาวผไู้ ทยพรรณานิคม เรยี กผีเจา้ ปู่ บางคนเรียกเจา้ หาญแดง จะจดั ข้ึนเปน็ ประจาทุกปีในวนั ขึ้น 9 คา่ เดือน 4 โดยนาขา้ วปลา อาหาร ซึ่งนิยมอาหารคาวเลือด ชาวบา้ นจงึ นาควายไปฆา่ ทีป่ า่ หนา้ ศาล แลว้ ทาลาบพร้อมใสเ่ ลอื ดสดๆ ผสมคลกุ ขา้ ว จัด 8 สารบั ไปถวาย และ ขาดไม่ได้คอื เหลา้ โดยมผี ู้ผู้ทาพธิ ีกรรมท่เี ร่ิมดว้ ยพธิ ีกร คือ จ้า หรือกวานจา้ ความเชอื่ เรอ่ื งผนี า ผนี า คอื ผีที่อยตู่ ามทุ่งนาเพือ่ คมุ้ ครอง จะเรมิ่ ทาพธิ ีกรรมน้ใี นตน้ ฤดูฝนกอ่ นการไถ คราด พิธบี ูชาทาง่ายๆ คอื นาขา้ วปลา อาหารใส่กระทง รวมทง้ั ดอกไม้ ธปู เทยี น พธิ ีน้เี รียกวา่ เสียงดี ตาแฮก หรอื เลีย้ งผคี ร้งั แรก ความเชอ่ื เรือ่ งผเี รอื น ผเี รอื น คือ ผีของบรรพบรุ ษุ ผลี ูกหลานทเ่ี คยอยูใ่ นบ้านเรือนหรอื ไมไ่ ดอ้ ยู่ บา้ นเรือนที่ลว่ งลับไปแล้ว ดงั นั้นผีเรอื นจงึ มี หลายตน เชน่ ผอี ารักษ์ใหญ่ หรือผเี จา้ ทีเ่ จ้าทาง ผปี หู่ รอื ผีตระกูล เปน็ ผูท้ ีอ่ ยใู่ กล้ชดิ เจา้ ของบา้ นมากท่สี ุดและเป็นใหญ่อยู่ในบ้านเรอื น
การแตง่ กาย จะใสเ่ สือ้ สดี า ผ้าถงุ ดาขลิบแดง สวมเล็บทาด้วยโลหะหรอื บางแหง่ ใช้กระดาษทาเปน็ เส้นมพี ตู่ รงปลายสแี ดง หม่ ผ้าเบีย่ งสแี ดง ผมเกลา้ มวยทัดดอกไม้สขี าว บางครั้งผกู ดว้ ยผ้าสีแดงแทน ในปัจจบุ ันพบวา่ เสื้อผา้ ชดุ ฟอ้ นผไู้ ท จงั หวดั สกลนครไดเ้ ปลี่ยนไปบ้าง คอื ใช้เสอื้ สแี ดงขลบิ สีดา ผ้าถุงสดี ามเี ชิง ผา้ เบยี่ งอาจใช้เชงิ ผา้ ตีนซน่ิ มาหม่ แทน
3. กลุ่มชาตพิ ันธโ์ุ ส้ ประวตั กิ ารตั้งถนิ่ ฐาน ถ่นิ ฐานเดมิ ของชาวโส้ ชาวโสเ้ ดิมมถี น่ิ อาศยั อยบู่ ริเวณภาค กลางของสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว อาศัยกระจดั กระจาย ในเขตการปกครองของเมอื งภวู ดลสอางค์ หรอื เมอื งภวู านากระแดง้ เมอื่ สมยั ขึ้นกบั ราชอาณาจักรไทย ชาวโสอ้ าศยั อยใู่ นเมืองพิณ เมอื งนอง เมืองวงั -อ่างคา และเมืองตะโปน (ปจั จุบนั คือ เมืองเซโปนของ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว) จากนั้นจงึ อพยพชมาส่จู ังหวัด มุกดาหารและสกลนคร
พิธกี รรมและความเชื่อ วิถชี ีวิตของชาวโส้ ดว้ ยกลุ่มชาตพิ ันธุ์โส้ เปน็ กลุม่ ชนท่ีมคี วามเชื่อในสง่ิ ศกั ดิ์สทิ ธิท์ งั้ ทเ่ี ปน็ สง่ิ เหนอื ธรรมชาติ (Supernaturalism)และความเชือ่ ตามคติขอม ชาวโสย้ ังมกี ารรกั ษาขนบธรรมเนียมประเพณี จากบรรพบุรุษอย่างเหนยี ว แนน่ เชน่ พิธกี รรมเกี่ยวกบั การเกดิ การแตง่ งาน การรกั ษาคนป่วย พธิ กี รรมเก่ียวกบั การตาย และพธิ กี รรมเกี่ยวกบั การละเลน่ ไดแ้ ก่ การเลน่ ลายกลอง การเลน่ โสท้ ั่งบ้งั ชาวโสจ้ ะนาเอาคนตรีเขา้ ไปบรรเลงเปน็ สว่ นประกอบสาคญั ในการ ประกอบพธิ ีกรรม พิธกี รรมเก่ียวกบั การเกดิ เมือ่ หญงิ ชาวโสต้ งั้ ครรภ์ได้ 8 เดือน ชาวโสจ้ ะทา “พธิ ีตดั กาเนดิ ” โดยใชห้ มอท่ี มีวิชาอาคม ซ่ึงจะเป็นหมอผชู้ ายหรอื หญงิ กไ็ ด้แตต่ อ้ งไมเ่ ปน็ หม้ายมาทาพิธีตัดกาเนดิ พิธีกรรมเกยี่ วกับการรกั ษาคนปว่ ย ชาวโสจ้ ะมีความเชอ่ื ในเรื่องผมี าก และชาวโสจ้ ะแบง่ ประเภทของผีเป็น 2 ประเภท คอื ผมี ลู และ ผนี า้ เป็นผูท้ อ่ี ยู่ตาม ธรรมชาติ เชน่ ผฟี า้ ผแี ถน ผีไร่ ผนี า ผีตามป่าตามเขา ส่วนผีมูล เป็น ผที ี่มาจากเช้ือสายบรรพบุรษุ เมือ่ จะกระทาการใดๆ หรือเมอ่ื เจบ็ ปว่ ยชาวโสจ้ ะทาพิธกี รรมเหยา
การแต่งกาย สมยั โบราณ ผู้ชาย สวมเสื้อคอต้ังเลก็ น้อย ติดกระดมุ ชายเส้อื ผา้ ดา้ นขา้ ง กางเกงขาก๊วยหรือผ้าเทย่ี ว สีดา กางเกง ช้ันในสขี าว ถ้ามีเทศกาลจะนยิ มคาดเอวหรือพนั ศรีษะด้วยผ้าปดิ ทส่ี วยงาม สวมรองเทา้ ทาดว้ ยหนังควาย ผเู้ รียนไสยศาสตรจ์ ะ สวมลูกประคาด้วยลูกแกว้ หรือลูกมะกล่าเป็นสญั ลกั ษณ์ ผหู้ ญิง นยิ มใส่เสอื้ ดา แขนกระบอก ผ่าอกขลบิ แดงทง้ั สองด้าน ตดิ กระดุมด้วยเหรียญเงิน ไมม่ ีกระเปา๋ ทตี่ วั เสื้อ ผ่าชายเส้ือท้ังสอง ด้าน มีฝา้ ยสแี ดงพันเป็นเกลยี วเยบ็ เปน็ รงั ดุม ใชเ้ ปน็ สญั ลักษณ์ ของหญงิ สาวที่ยงั ไมแ่ ต่งงา ใชน้ ้ามนั ทาผม
4. กลุ่มชาตพิ ันธญ์ุ อ้ หรือย้อ ประวตั กิ ารตั้งถิ่นฐาน ไทยยอ้ เดมิ อย่ทู เี่ มืองหงสาวดี ในประเทศลาว มีหัวหนา้ ชอื่ ท้าวหมอ้ ภรรยาชื่อนาง สุนันทา พาครอบครวั และบ่าวไพรป่ ระมาณ 100 คน ล่องแพตามแมน่ า้ โขงจนถึงปากแม่น้าสงคราม และตัง้ หลักปกั ฐานไดเ้ ข้าสวามภิ ักดิ์ตอ่ เจ้าอนวุ งศ์ ซงึ่ เปน็ เจา้ นครเวียงจันทน์ และไดส้ ร้างเมอื งข้ึนชอื่ เมอื งไชยสุทธิ์อตุ ตมบุรี (ปัจจบุ ันคืออาเภอไชยบรุ ี)
พธิ กี รรมและความเชื่อ ไทยญ้อ มขี นบธรรมเนียมประเพณีคลา้ ยชนชาติพนั ธุล์ าว เชน่ ประเพณีฮตี สิบสองคองสิบสี่ (เชน่ ชาวอีสานท่วั ไป) งานแต่งงานของชาวไทยญ้อ จะแต่งสะใภไ้ ปเลย้ี งย่าเรยี กว่าไปสู่ ถ้าแต่งแลว้ ไดเ้ ขยมาอยู่ดว้ ย เรียกว่ามาสู่ สมัยก่อนชาวไทยญอ้ นิยมแตง่ งานกนั ในชนชาตเิ ดียวกัน เพราะพวกเขาเชอ่ื ว่าชาติของตนมตี ระกลู สูง กว่าชนชาตอิ น่ื ๆ กลวั เสียเชอ้ื เสยี แนว
การแต่งกาย ชายสวมเสอื้ คอพวงมาลัยสเี ขยี วสด ใช้สไบไหมสีนา้ เงนิ พับ ครึ่งกลาง พาดไหล่ ซา้ ยและขวา ปล่อยชายสองข้างไปดา้ นหลงั ให้ ชายเทา่ กนั นุง่ ผ้าโจงกระเบนสนี า้ เงนิ เขม้ ใชส้ ไบไหมสีแดงคาดเอว ปล่อยชายข้างซ้ายดา้ นหนา้ เครื่องประดบั สร้อยเงิน หอ้ ยพระ ใบหทู ัดดอก ดาวเรอื งด้านซ้ายหญิงสวมเสอ้ื แขนกระบอก สีชมพู (สีบานเย็น) คอกลมขลบิ ดา หรือนา้ เงินเข้ม น่งุ ผ้าถงุ ไหมสีนา้ เงนิ มีเชิง (ตนี จก) เข็มขัดลายชดิ คาดเอว ใช้สไบไหมสีน้าเงินพาด ไหลด่ า้ นซ้ายแบบเฉยี ง ปล่อยชายยาวทงั้ ดา้ นหนา้ และด้านหลังให้ ชายเทา่ กนั เครอ่ื งประดบั สร้อยคอ ตมุ้ หู สรอ้ ยขอ้ มือเครื่องเงนิ ผมเกลา้ มวยประดับดอกไมส้ ด หรอื ดอกไมป้ ระดิษฐ์
5. กลุ่มชาติพนั ธก์ุ ะเลงิ ประวตั กิ ารตง้ั ถ่ินฐาน บรรพบุรษุ ชาวกะเลิง อพยพมาจากฝัง่ ซา้ ยแมน่ า้ โขง โดยได้ตัง้ หลักแหลง่ อย่ใู กล้กับ ตัว เมอื งสกลนคร คอื บรเิ วณบ้านนายอ บ้านดงมะไฟ แต่ชาวกะเลิงสว่ นใหญไ่ มส่ นใจทีจ่ ะตั้งบ้านเรือน แถวนน้ั กลบั พาพรรคพวกของตนไปตง้ั ถน่ิ ฐานอยู่ ตามพืน้ ทร่ี าบเชงิ เขาภพู าน
พธิ ีกรรมและความเช่อื ความเช่อื เรอื่ งพิธีกรรมของชาวบา้ น บญุ เล้ียงผปี ู่ตา สู่ขวญั ผู้เฒา่ ความเชื่อเร่อื งผปี ูต่ า ชาวกะเลิงมีความเช่ือวา่ ผปี ู่ ตาเปน็ ผีบรรพบรุ ษุ ทมี่ คี วามสาคญั มาก ของหมูบ่ ้าน ป่ตู าสามารถคมุ้ ครองชาวบา้ นใหอ้ ย่เู ยน็ เปน็ สขุ เจา้ หรอื พอ่ เปน็ ผูท้ ท่ี า หนา้ ท่ี ติดต่อสอื่ สารระหวา่ งชาวบ้านกับปตู่ า เป็นบุคคลสาคญั และชาวบ้านเคารพนบั ถอื มาก วันทเ่ี ลีย้ งป่ตู า คอื วันข้นึ 3 ค่า เดอื น 3 ของทกุ ปี คือ เดือนกุมภาพนั ธ์ และถา้ จะมกี ารแตง่ งาน หลงั จากเสรจ็ พธิ ีการ แตง่ งานแล้วจะตอ้ งมกี ารคลอบป่ตู า คอื บอกให้ทา่ นรับรูถ้ ึงการแตง่ งานเพือ่ ใหท้ ่านค้มุ ครอง และใน การคดั เลือกเจ้าของชาวกะเลงิ น้ัน โดยเฉพาะในบา้ นบัวมี 2 ลกั ษณะ คือ 1. เลือกตามเครอื ญาติของเจา้ จ้าคนเดมิ 2. การใช้หมอเสย่ี งทายเอาว่าเจ้าจา้ ทา่ นชอบใคร พธิ ีเลยี้ งผีปูต่ า เจา้ จะ เป็นผูท้ าพิธใี นการเล้ียงผีป่ตู า หลังจากน้ันเจ้าจะเปน็ ผ้ทู าพิธเี ลย้ี ง หลงั จากนี้เจา้ และชาวบ้านท่ีทาพธิ ีเสร็จจะพากันนาอาหาร มา กินรวมกันในบริเวณรอบศาลปตู่ า มีการร้องรา กนิ เหลา้ สาโทกันอย่างสนกุ สนาน อาหาร และเหล้าที่ นามาเล้ียงจะตอ้ งกิน ใหห้ มดหรอื ถ้ากนิ ไมห่ มดจะต้องท้งิ จะเอากลบั บา้ นไมไ่ ด้ วถิ ีชวี ติ ของชาวกะเลิงบ้านบวั เป็นสังคมท่ีเรยี บงา่ ย อยกู่ นั ตามระบบ เครอื ญาติ การผลิต ความเชือ่ การดารงชีวติ ที่เชอ่ื มโยงเปน็ กระบวนการชีวิตเดียวกนั มคี วามผกู พนั กับธรรมชาตแิ ละ ส่ิงแวดล้อม ซงึ่ อุดมไปดว้ ยทรัพยากรธรรมชาตอิ ันเปน็ พนื้ ฐานต่อการดารงชีวิต จึงกลายเปน็ แบบแผน ของสังคมหมู่บา้ นทีม่ ี ความผกู พนั และพงึ่ พาอยู่กบั ธรรมชาติ แตไ่ มไ่ ดห้ มายความว่าธรรมชาตสิ ร้างให้ พวกเขาเปน็ คนเฉื่อยชาหรอื เป็นคนท่ชี อบ กอบโกย เหน็ แก่ตวั ตรงข้ามธรรมชาตสิ อนใหพ้ วกเขาได้รู้จักการอยู่รว่ มกัน เกอื้ กลู เคารพซงึ่ กนั และกัน เพือ่ สันติสขุ ในหมู่บ้าน
การแตง่ กาย ผ้าซน่ิ ใช้ดา้ ย 2 เสน้ มาทาเกลยี วควบกัน ใช้ ท้งั ผ้าฝ้ายธรรมดาและผา้ ไหม เป็นผา้ ตีนเต๊าะ แต่มเี ชิง แถบเลก็ ๆ แคบ 2 นวิ้ นยิ มสเี ปลอื กออ้ ย เขน็ ดว้ ยดา้ ยสี แดง เหลอื งเป็นสายเลก็ ๆ นอกจากนี้ยังนยิ มใชผ้ า้ ฝา้ ย เข็น 2 เส้นควบกนั เชน่ แดงควบเหลอื ง นา้ เงนิ ควบขาว เขียวควบเหลอื ง ถา้ ไมใ่ ช่เปน็ ผา้ ตนี เตา๊ ะมกั นงุ่ ส้ัน เสื้อ กะเลิงนยิ มแตง่ ตัวกะทดั รดั เชน่ ถ้านงุ่ ซิน่ ผ้าฝา้ ยสน้ั มกั ใชผ้ ้าทอพืน้ บา้ น เปน็ ตาสี่เหลย่ี มเลก็ ๆ คาดอก โพกผ้าบนศีรษะ สะพายกะหยงั ขึน้ ภเู ก็บผกั เก็บ หญ้าส่วนกะเลงิ ทนี่ งุ่ ซนิ่ ยาวคลุมเข่ามักสวน เครือ่ งประดบั เช่น สรอ้ ยขอ้ มือทาด้วยรัตนชาติ หรอื ดนิ เผา ใส่ตา่ งหเู ปน็ ห่วงกลม เส้ือแขนยาวสขี าวเหลืองเกบ็ ชายเส้ือคาดเขม็ ขดั เงิน เป็นชดุ ท่ใี ชใ้ นงานมงคลต่างๆ นับเป็นเครือ่ งแตง่ กายทงี่ ดงามที่สดุ ของชาวเผ่ากะเลงิ วยั หน่มุ สาว สว่ นกะเลงิ สูงอายุ มักนุ่งซนิ่ ลายดา ขาว แดง สวมเส้อื แขนกระบอกย้อมคราม ทีส่ าบเสือ้ มเี หรียญ สตางคแ์ ดงติดเปน็ แนวกระดุม เกล้าผมสงู
6. กลุ่มชาติพันธโ์ุ ย้ย ประวตั ิการตง้ั ถนิ่ ฐาน ชาวโยย้ เปน็ กลมุ่ ชาติพันธุ์กลมุ่ หน่ึงในจังหวดั สกลนคร ต้งั บา้ นเรอื นอย่เู ป็นชมุ ชนใหญ่ ในเขต อาเภอวานรนิวาส และอาเภออากาศอานวย ในกลุม่ ชาวไทโย้ยนเ้ี ปน็ กลุ่มที่มคี วามขยันหมน่ั เพียรใน การทางาน มคี วามเปน็ อยู่ การดาเนินชีวติ อยา่ งมธั ยัสถ์ ซ่ึงชาวไทโย้ยในอากาศอานวยยงั คงลักษณะ เดน่ เป็นเอกลักษณ์ และคณุ ลักษณะต่างๆ ของชาติพนั ธเุ์ ดมิ ที่ได้รับสบื ทอดมา
พธิ กี รรมและความเช่อื ที่คนในกลมุ่ ไดร้ ว่ มชุมนุมกนั ทาบญุ เปน็ ประจาทกุ ๆ เดอื น ในรอบปี คอื เดอื นอา้ ยทาบุญขา้ วกรรม เดือนย่ี ทาบุญคูณลาน เดือนสามบญุ ขา้ วจี่ เดือนสบี่ ุญพระเวส เดอื นหา้ บุญสงกรานต์ เดือนหกบญุ บง้ั ไฟ เดอื นเจ็ดบญุ เลยี้ งอารักษ์ หลักเมอื ง เดือนแปดบุญเขา้ พรรษา เดือนเก้าบญุ ข้าวประดับดนิ เดอื นสบิ บญุ ข้าวสาก เดือนสบิ เอด็ บญุ ออกพรรษา และ เดอื นสบิ สองบญุ กฐนิ ชาวไทโย้ยมกี ารปฏิบัตดิ ว้ ยความเชื่อฮตี สิบสองคองสบิ ส่ี น้ีเป็นจารีตประเพณีทกุ ครอบครวั ผลท่ี เกดิ ขึ้นคอื ทุกๆ คนจะไดเ้ ข้าวัดใกลก้ บั หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา และทาใหเ้ กดิ การรูจ้ กั คุ้นเคยสามัคคีกนั และเมือ่ ว่าง จากงานอาชพี ทุกคนจะเสยี สละทางานเพอ่ื สว่ นรวม ปจั จุบนั การจดั กจิ กรรมในฮีตสบิ สองสว่ นใหญจ่ ะจดั เพอ่ื เทศกาลเท่าน้นั และปจั จุบนั สงั คมสมยั ใหมไ่ ดแ้ พรเ่ ขา้ สหู่ มู่บา้ น ทาให้ประเพณเี กา่ ๆ เริ่มเส่ือมไปเพราะคนในสงั คมมุง่ เนน้ ในเรอื่ งของการ ดาเนินชวี ติ การทามาหากนิ ตามระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนยิ ม ประเพณีเกี่ยวกับวถิ ีชวี ติ ซึ่งเป็นประเพณขี องชาวไทโยย้ บ้าน อากาศ เร่มิ จากประเพณกี ารเกิดทีม่ กี ารผกู แขน การบวชท่ีมีการทาขวญั การแตง่ งานทมี่ พี ธิ ีบายศรี และการตายทีม่ กี าร สวดทาบุญ แผ่สว่ นกุศลแลว้ ฝงั หรอื เผาหรอื เกบ็ กระดกู จากข้อมลู ทไ่ี ด้ พบวา่ ทกุ ๆ ประเพณดี งั กลา่ วมกี ารปฏบิ ตั ิ ต่อกนั มาถึงปัจจุบัน เพราะสว่ นใหญท่ าตามประเพณี สว่ นหนงึ่ ทาแลว้ สบายใจ และอกี ส่วนหนง่ึ ทาเพ่ือความเป็นศริ ิมงคลตอ่ ชวี ติ การนับถอื ศาสนาของชาวไทโยย้ บา้ นอากาศ พบว่านับถือศาสนาพทุ ธ โดยนบั ถอื ตามบรรพบุรษุ ที่บา้ นอากาศมีวดั อยู่ ประจาหมู่บ้าน 6 วดั มพี ระเณรประจาวัดทาหนา้ ทอี่ บรมสัง่ สอน ชาวบ้านทุกวนั พระ มกี ารทาบญุ ฟังเทศนป์ ระจาทกุ วัน พระใหช้ าวบ้านเข้าใจธรรม
การแตง่ กาย รปู แบบของเคร่อื งแตง่ กายชาวไทโย้ยบา้ นอากาศ ทงั้ ชายและหญงิ คอื ชาวไทโยย้ โบราณแต่งกายด้วยเสือ้ ผ้า ฝ้ายย้อมครามทอมือ เย็บด้วยมือ สีกรมทา่ เขม้ ออกดา กางเกงขา ทรงกระบอก เส้อื แขนทรงกระบอก ผ้าถุงเปน็ ผ้า มดั หมที่ อเองหรือผา้ ไหมมัดหมีมีหวั ซิ่นและตนี ซนิ่ มีผา้ สไบ ลวดลายตา่ งๆ พาดไหล่ สามารถแตง่ ไดท้ กุ เวลา เป็นชดุ แตง่ กายทปี่ ระหยัด ปัจจบุ ันชาว ไทโย้ยบา้ นอากาศจะแต่ง เฉพาะมงี านประเพณี เทศกาลงานบุญในหม่บู า้ นเท่าน้ัน ในชีวติ ประจาวันจะแตง่ ธรรมดาง่ายๆ เหมอื นคนกลุ่มอ่นื ๆ ซึ่งส่วนมากจะซื้อจากตลาด แตถ่ า้ เปน็ งานศพ จะแตง่ กาย ไวท้ กุ ขส์ ีดาหรือสีสภุ าพทีส่ ุด
บรรณานุกรม งามพิศ สัตย์สงวน. หลักมานษุ ยวทิ ยาวฒั นธรรม. พมิ พ์ครัง้ ที่ 2 กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . 2536. จานง อดวิ ฒั นสิทธ.ิ์ ชาติพันธุ์. พิมพค์ รงั้ ท่ี 14 กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. 2552. เทวนิ ศรดี าโคตร. (2557). กลมุ่ ชาติพนั ธุใ์ นสกลนคร. [ออนไลน์]. ไดจ้ าก : https://mai 2562.blogspot.com. [สบื ค้นวันท่ี 31 มกราคม 2563]. ธวธั ชยั ไพรหลง. (2562). กลมุ่ ชาตพิ นั ธไุ์ ทโสใ้ นแอง่ สกลนคร. [ออนไลน]์ . ได้จาก : https://www.thaijo.org.org/.com. [สบื ค้นวนั ที่ 31 มกราคม 2563]. สถิตย์ ภาคมฤค. (2560). คณุ ค่าทางวฒั นธรรมของโหราศาสตรช์ าติพนั ธใ์ุ นแอง่ สกลนคร [ออนไลน]์ . ได้จาก : https://www.thaijo.org.org/.com. [สบื ค้นวันท่ี 31 มกราคม 2563]. สัญญา สญั ญาวิวฒั น.์ (2553). วัฒนธรรมแอง่ สกลนคร. สกลนคร : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร.
คณะผ้จู ดั ทา 1.นาย สุริยาสมผล รหัสนักศกึ ษา 62115268201 2.นางสาว พิรดา อ่มุ ภูธร รหสั นักศกึ ษา 62115268202 3.นางสาว อมั พร รกั ดี รหสั นักศกึ ษา 62115268211 4.นาย ศตวรรษ ยุทธคราม รหสั นักศกึ ษา 62115268219 5.นาย สรุ พลชี้ดา้ ม รหัสนักศึกษา 62115268230 6.นาย ฉตั รมงคล นนั ทะศรี รหสั นกั ศึกษา 62115268232 สาขาวชิ าสงั คมศึกษา คณะครุศาสตร์ ช้ันปที ่ี 1 เสนอ อาจารย์ นนทวรรณ แสนไพร
ขอบคณุ ที่รบั ชม
Search
Read the Text Version
- 1 - 31
Pages: