การย่อย การดดู ซมึ การกระจายสารอาหาร ในร่ างกาย Dr. Surasawadee Som1 nuk 22 July 2019
Outline 1. หน้าท่ขี องระบบทางเดนิ อาหาร 2. อวยั วะท่เี ก่ียวข้องกับการย่อย การดดู ซมึ และการกระจายสารอาหารในร่ างกาย 3. กระบวนการย่อยอาหาร 4. กระบวนการดูดซึมสารอาหาร 5. การกระจายสารอาหารในร่างกาย 2
Learning ระบบทางเดนิ อาหาร https://www.youtube.com/watch?v=Og5xAdC8EUI 3
หน้าท่ีของระบบทางเดนิ อาหาร มี 3 ประการคือ 1. ช่วยให้เกดิ การเคล่ือนไหว ในทางเดนิ อาหาร 2. หล่ังสารท่เี ก่ียวข้องกบั ระบบทางเดนิ อาหาร 3. ย่อยและดดู ซมึ อาหาร OGastr intestinal tract 4
Memory คานิยาม check 1. การย่อย Digestion : การสลายโมเลกลุ อาหารท่ีไมล่ ะลายนา้ ขนาดใหญ่ เป็นโมเลกลุ อาหารละลายนา้ ขนาดเลก็ เพ่ือให้สามารถถกู ดดู ซมึ เข้าสนู่ า้ เลือดได้ 2. การดูดซมึ Absorption : การที่สารอาหารท่ีถกู ยอ่ ยจนมีอณเู ลก็ ลงแล้ว เช่น กลโู คส กรดไขมนั กรดอะมิโน ซมึ ผ่านผนงั ทางเดินอาหาร (Alimentary canal) เข้าสกู่ ระแสโลหิต แล้วถกู นาไปเลยี ้ งสว่ นตา่ งๆ ของร่างกาย การดูดซมึ แบบธรรมดา การดูดซมึ แบบใช้ตัวพา (facilitated transport) การดูดซมึ แบบท่ีต้องอาศัย (passive transport) จะเป็นการ จะเป็นการเคลือ่ นท่ีของสารจากท่ีที่มคี วามเข้มข้นสงู พลังงาน (active transport) เคลอื่ นทข่ี องสารจากที่ที่มคี วาม กว่าไปยงั ท่ีที่มีความเข้มข้นน้อยกว่าโดยมีตวั พา จะเป็นการเคล่ือนท่ีของสาร เข้มข้นสงู ไปยงั ทท่ี มี่ ีความเข้มข้น (carrier) ในเย่ือห้มุ เซลล์ด้านหน้าเป็นตวั ช่วยในการ จากท่ีที่มีความเข้มข้นต่าไป น้อยกวา่ เชน่ การเคลื่อนทข่ี องนา้ เคลื่อนท่ี ทาให้การเคลื่อนที่แบบนีเ้ร็วกวา่ แบบ ยงั ที่ท่ีมคี วามเข้มข้นสงู กวา่ ในกระบวนการออสโมซสิ และการ ธรรมดาและไมต่ ้องใช้พลงั งานชว่ ยในการเคล่อื นท่ี โดยมีทงั ้ ตวั พาและพลงั งานใน เคล่ือนทีข่ องสารชนิดหนง่ึ รูปของ ATP (adenosine แลกเปลย่ี นกบั สารอกี ชนิดหนึ่ง triphosphate) เป็นตวั ช่วยใน โดยทไ่ี มม่ กี ารใช้พลงั งาน การเคล่อื นท่ี 5
Memory การดูดซมึ Absorption : check 6
Memory คานิยาม (ต่อ) check 3. การขนส่ง Transport : ขบวนการเคลอ่ื นท่ี ของสารอาหารในร่างกาย โดยผ่านระบบเลือดและระบบนา้ เหลือง 4. การขับถ่าย excretion: กระบวนการ ขบั ถ่ายของเสียเกิดขนึ ้ ในสิง่ มีชีวติ และเซลล์ทกุ ชนิด 7
Learning ระบบทางเดนิ อาหาร (เป็ นระบบท่ีซับซ้อนและต้องใช้การทางานร่วมกันของอวยั วะต่าง ๆ ) อวัยวะท่เี กยี วกับการย่อย อวัยวะย่อยอาหาร (มีลักษณะเป็ นท่อ) เพ่มิ เตมิ ปาก คอหอย ต่อมนา้ ลาย หลอดอาหาร ระบบตับและ ทางเดนิ นา้ ดี ตบั ถุงนา้ ดี กระเพาะอาหาร ตับอ่อน ลาไส้เลก็ 8 ลาไส้ใหญ่
Learning กระบวนการย่อยอาหาร กระบวนการย่อยอาหารในระบบทางเดนิ อาหารของร่างกาย การยอ่ ยในชอ่ งปาก 3 ระดบั การยอ่ ยในกระเพาะอาหาร การยอ่ ยในลาไส้เลก็ และลาไส้ใหญ่ 9
Learning การย่อยในช่องปาก ฟัน คลกุ เคล้าอาหารให้ผสมเข้ากบั นา้ ลาย เคีย้ วอาหารให้ละเอียด ลนิ ้ ขม มีตอ่ มรับรส เปรีย้ ว เค็ม หวาน
Learning การย่อยในช่องปาก (ต่อ) Major salivary gland คอื gland ที่จะปลอ่ ยน้า้ ลาย (secretion) ออกมาตอ่ เมือ่ มี stimulus ต่อมนา้ ลาย (Salivary gland) นา้ ลาย หลง่ั นา้ อเิ ลคโตรไลท์ (โซเดยี ม โพแตสเซยี ม และคลอไรด์) พาโรติด (parotid) เอนไซม์ หลง่ั นา้ อเิ ลคโตรไลท์ สบั แมนดิบลู าร์(submandibular) เอนไซม์ สบั ลงิ กวั ล์(sublingual) หรือสบั แมกซลิ ลารี (submaxillary) นา้ เมือก หรือมวิ คสั (ผลติ นา้ ลายมากท่สี ุด) Minor salivary gland คอื gland ที่ปลอ่ ย secretion ออกมาสชู่ อ่ งปากตลอดเวลาเพ่ือทาให้ช่องปาก ชมุ่ ชื่นอย่ตู ลอด lingual, labial, buccal (molar) และ palatine gland 11
Learning การย่อยในช่องปาก (ต่อ) เอนไซม์ในนา้ ลาย (Salivary enzyme) แอลฟา –อะไมเลส (Salivary amylase) หรือไทยาลนิ (ptyalin) แป้ง สรุป การย่อยในปาก เดกซ์ทริน (Dextrin) มเี ฉพาะการย่อยแปง้ เทา่ นนั้ คาร์โบไฮเดรต โมเลกลุ เล็กกวา่ แปง้ แตใ่ หญ่กวา่ นา้ ตาล อะไมเลส มอลโตส แปง้ + นา้ เดก็ ซ์ตริน + มอลโตส (นา้ ตาลโมเลกลุ ค)ู่ แปง้ ขนาดเลก็ นา้ ตาลโมเลกลุ คู่ 12
Learning หลอดอาหาร(Esophagus) หรู ูด (esophageal sphincter) คลายตวั เพือ่ ให้อาหารลง หลอดอาหาร (Esophagus) ปิด เพ่ือปอ้ งกนั ไมใ่ ห้อาหาร ถ้า...กรดย้อนกลบั ขนึ ้ ไปใน หรือไคม์ท่ีเป็นกรดใน หลอดอาหาร จะเกิดการ กระเพาะ ย้อนกลบั ขนึ ้ ไปใน ระคายเคอื ง ต่อเยื่อบผุ นงั หลอดอาหาร ของหลอดอาหาร จะรู้สกึ แสบร้อน บริเวณกลางอก เรียกวา่ Heart burn หรู ูด กระเพาะ ภาวะกรดไหลย้อน (pyrolic sphincter) Gerd อาหารผ่านจากหลอดอาหาร ใช้เวลาน้อยกว่า 10 วินาที 13
Learning หลอดอาหาร(Esophagus) 14
Learning กระเพาะอาหาร (Stomach) แบ่งเป็ น 4 ส่วน ฟันดสั Fundus ส่วนของกระเพาะ Cardium region คาร์ เดียม บอดี อาหารด้านบน แอนทรัม ลักษณะ เป็ นกระพุ้ง อยู่รอบรูเปิ ดหลอดอาหารเพ่อื ท่โี ค้งต่อกบั ส่วนคอร์ รองรับอาหารท่มี าจากหลอดอาหาร เดียล Antrum ส่วนล่างของกระเพาะอาหาร ท่ตี ่อกบั ลาไส้เล็กส่วนดูโอดนี ัม ทาหน้าท่ี Body บด และผสมอาหารให้เข้ากับนา้ ย่อย ได้เป็ นไคม์ท่มี ีลักษณะก่งึ เหลว ส่วนของกระเพาะ อาหารท่มี ีความจุมาก และเคล่ือนย้ายผ่านหรู ูดไพโลริก เข้าสู่ลาไส้เล็ก ส่วนดโู อดีนัม ท่สี ุด เป็ นส่วนท่รี องรับ อาหาร และเป็ น ตาแหน่งท่มี ีการผลิต นา้ ย่อย 15
Learning กระเพาะอาหาร (Stomach) หน้าที่หลกั ย่อยสลายสารอาหารโมเลกุลใหญ่ให้เล็กลง ผลิตเอนไซม์ท่ใี ช้ในการย่อยโปรตีน ดูดซมึ นา้ ไอออนต่าง ๆ หน้าท่ีของกระเพาะอาหารท่ีจาเป็ นต่อการดารงชีวติ การผลติ สารท่เี รียกว่า อนิ ทรินซคิ แฟคเตอร์ (intrinsic factor) ซ่งึ เป็ นสารท่จี าเป็ นในการดูดซมึ วติ ามนิ บ1ี 2 16
Learning ต่อมนา้ ย่อยของกระเพาะอาหาร (gastric gland) ประกอบด้วยเซลล์ 3 ชนิด ภายในกระเพาะอาหารจะมีผนงั มีลกั ษณะเป็นคลื่น กรดเกลือ เรียกวา่ รูกี (Rugae) มตี อ่ มสร้างนา้ ย่อย เปลีย่ น ประมาณ 35 ล้านตอ่ มเรียกว่า 1. Mucous cell pepsinogen เป็น Gastric Gland หลงั่ เมือก ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ pepsin เซลกระเพาะถกู ยอ่ ย 3. Chief cell Gastric Gland สร้างนา้ ย่อยของกระเพาะ 2. Parietal cell หลงั่ pepsinogen อาหารเรียกวา่ Gastric Juice - สร้าง Hydrochloric acid (HCL) หรือกรดเกลอื เพือ่ ช่วยในการยอ่ ยอาหาร - สร้าง Intrinsic factor (IF) จาเป็นสาหรับการดดู ซมึ วิตามนิ บี 12 17
Learning นา้ ย่อยในกระเพาะอาหาร (gastric juice) 1. กรดไฮโดรคลอริก (Hydrochloric acid) หรือกรดเกลือ เปลย่ี นรูปของเอนไซม์เพปซโิ นเจน ให้เป็นเพปซนิ 2. เอนไซม์เพปซโิ นเจน หลงั่ ออกมาในรูปทย่ี งั ทางานไมไ่ ด้ HCL มบี ทบาทสาคญั ในการย่อยสารอาหารโปรตีน เอนไซม์โปรตเี อส (เพปซิน) 3. เอนไซม์เรนนิน เป็นเอนไซม์ที่ทาให้นา้ นมจบั ตวั กนั เป็นก้อน สาคญั ตอ่ ทารก เพราะปอ้ งกนั ไมใ่ ห้นา้ นมไหลผา่ นกระเพาะ เร็วเกินไป 4. เอนไซม์ลิเพส ไตรกลีเซอร์ไรด์ กรดไขมนั และกลีเซอรอล การยอ่ ยไขมนั เกิดขนึ ้ เพียงเลก็ น้อย 18
Learning ความเป็ นกรด ด่างของกระเพาะอาหาร 19
Learning ลาไส้เลก็ (Small intestine) ลาไส้เล็ก (Small intestine) ยาวประมาณ 7-8 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 2-4 ซม อย่ตู ่อจากกระเพาะ ลาไส้เล็กส่วนต้น มีท่อต่อกับอวัยวะอ่นื มีตอ่ มสร้างนา้ ย่อย และมนี า้ ย่อยจาก 3 แหลง่ มาผสมกบั ไคม์ ตอ่ มสร้างเมอื ก และมกี ารย่อยอาหารมากที่สดุ ลาไส้เลก็ ส่วนกลาง นา้ ยอ่ ยจากผนงั ลาไส้เลก็ (Intestinal Juice) มีหน้าที่ดดู ซมึ สารอาหารท่ีถกู ยอ่ ย อย่างสมบรู ณ์แล้ว นา้ ยอ่ ยจาก ตบั ออ่ น (Pancreatic Juice) ผ่านเซลเย่ือบผุ ิว เข้าสกู่ ระแสเลือด เพื่อพาไปท่ีตบั นา้ ดี (Bile)จากตบั (Liver)ซง่ึ นามาเก็บไว้ท่ีถงุ นา้ ดี ลาไส้เลก็ ส่วนสุดท้าย 20 ตอ่ กบั ลาไส้ใหญ่ ดดู ซมึ วติ ามนิ บี 12
Learning ภายในลาไส้เลก็ Circular fold รอยจีบย่น เพ่ิมพืน้ ท่ผี ิวในการดดู ซมึ สารอาหาร Villi ตมุ่ หรือขนขนาดเลก็ ทีย่ ่ืนออกมาจากผิวด้านในของ ทางเดนิ อาหาร ภายในตมุ่ หรือขนเหลา่ นีจ้ ะมเี ส้นเลือดฝอย ซงึ่ ทาหน้าทีร่ ับอาหารท่ยี อ่ ยแล้วเพื่อลาเลียงไปยงั เซลล์ต่าง ๆ ในร่างกาย Microvilli เย่ือห้มุ เซลที่ย่ืนออกมาเพื่อเพ่ิมพืน้ ที่ผิวใน การดดู ซมึ 21
Learning การย่อยในลาไส้เลก็ การย่อยเชงิ กล (mechanical digestion) เพอริสตลั ซสิ (peristalsis) เป็นการหดตวั ของกล้ามเนือ้ ทางเดนิ อาหารเป็นช่วงๆ ติดตอ่ กนั การเคลื่อนไหวแบบนี ้ จะชว่ ยผลกั อาหาร หรือบีบไลอ่ าหารให้เคลอื่ นที่ตอ่ ไป มี 2 วธิ ี การหดตวั เป็นจงั หวะ (rhythmic segmentation) เป็นการหดตวั ทช่ี ว่ ยให้อาหารผสมคลกุ เคล้ากบั นา้ ย่อย หรือชว่ ยให้เคลอ่ื นที่ไปยงั ทางเดนิ อาหารสว่ นถดั ไป อาจมจี งั หวะเร็ว (15-20 ครัง้ /นาที) หรือ ช้า (2-3 ครัง้ /นาที) การย่อยทางเคมี (chemical digestion) บริเวณดูโอดีนัม 22
การย่อยทางเคมี (chemical digestion) บริเวณดูโอดีนัม นา้ ย่อยของลาไส้เลก็ (intestinal juices) เป็นเอนไซม์ที่สร้างมาจากผนงั ของลาไส้เลก็ เอง 1. มอลเทส (maltase) ย่อย มอลโตส กลโู คส+ กลโุ คส 2. ซเู ครส (sucrase) ย่อย นา้ ตาลทราย กลโู คส + ฟรุกโทส 3. แลกเทส (lactase) ย่อย แลก็ โทส กลโู คส + กาแลก็ โทส 4. ไตรเพปทเิ ดส (tripeptidase) ย่อย Tripeptide amino acid + dipeptide 5. ไดเพปทิเดส (dipeptidase) ย่อย dipeptide amino acid 6. อะมโิ นเพปทิเดส ย่อย โปรตีนสายสนั ้ กรดอะมโิ น 7. ไลเพส (lipase) ย่อย fat fatty acid + glycerol 8. เอนเทอโรไคเนส (enterokinase เปล่ียนโพรเอนไซม์ทริปซิโนเจน (trypsinogen) เป็นทริปซิน (trypsin) 23
Memory สรุปลาไส้เลก็ (Small intestine) check ลาไส้เล็ก เป็ นบริเวณท่ดี ดู ซมึ อาหารส่วนใหญ่ ทาหน้าท่เี พ่มื พนื้ ท่ใี นการดดู ซมึ สารอาหาร เพราะ เป็นบริเวณที่มีการยอ่ ยอาหารเกดิ ขนึ ้ อยา่ งสมบรู ณ์ 24 และโครงสร้างภายในลาไส้เลก็ เหมาะแก่การดดู ซมึ ผนงั ด้านในของลาไส้เลก็ จะไมเ่ รียบ มีสว่ นย่ืนของกลมุ่ ของเซลล์ท่ีเรียงตวั เป็นแถวเดียวมลี กั ษณะคล้ายนิว้ มอื เรียกวา่ วิลลสั (Villus) ”ป่มุ ซมึ ” เป็นจานวนมาก
Learning ทางเดนิ อาหารของร่างกายมนุษย์ การส่องกล้องดูทางเดนิ อาหารส่วนบน Gastroscopy 25
Learning ลาไส้ใหญ่ Large intestine แบ่งเป็ น 3 ส่วน 2 โคลอน (Colon) ลาไส้ใหญ่สว่ นที่ยาวที่สดุ ลาไส้ใหญ่ ลาไส้ใหญ่สว่ น สว่ นทอดขนึ ้ บน ทอดลงลา่ ง ลาไส้ใหญ่สว่ นปลาย 1 ซีกมั (Caecum) 3 ไส้ตรง (Rectum) กระเปาะลาไส้ใหญ่ Feces รับอาหารมาจากลาไส้เลก็ 26 Large intestine มคี วามยาวประมาณ 1.5 เมตร
Memory หน้าท่ีของลาไส้ใหญ่ check 1. ชว่ ยยอ่ ยอาหารเพียงเลก็ น้อย 2. ถ่ายระบายกากอาหาร (Waste product) ออกจากร่างกาย 3. ดดู ซมึ นา้ และอิเลค็ โตรไลท์จากอาหาร ท่ถี กู ย่อยแล้ว เชน่ โซเดยี ม และเกลือแร่ อนื่ ๆ ที เหลืออยใู่ นกากอาหาร รวมทงั้ วติ ามินบางอยา่ งทส่ี ร้างจากแบคทเี รีย ซงึ่ อาศยั อยใู่ นลาไส้ใหญ่ ได้แก่ วติ ามิน บีรวม วิตามินเค 4. ทาหน้าทเี่ กบ็ อจุ จาระไว้จนกวา่ จะถงึ เวลาอนั สมควรที่จะถ่ายออกนอกร่างกาย 27
Learning การส่องกล้องทางทวารหนัก Colonoscopy 28
Learning อวัยวะท่ชี ่วยในการย่อยอาหาร 29
Learning อวัยวะท่ชี ่วยในการย่อยอาหาร ตับ (Liver) สง่ ไปที่ ทอ่ นา้ ดยี อ่ ย ไปรวมกนั ที่ ทอ่ นา้ ดใี หญ่ในตบั เซลล์ตบั สร้างนา้ ดี common hepatic bile duct หรือเก็บสะสม สง่ นา้ ดไี ปท่ี ในถงุ นา้ ดี ทอ่ นา้ ดีใหญ่ ลาไส้เล็กส่วนต้น ปลอ่ ยนา้ ดีไปท่ี 30
Learning อวัยวะท่ชี ่วยในการย่อยอาหาร (ต่อ) ตบั อ่อน (Pancreas) หน้าท่ี 2 อย่าง สร้างนา้ ย่อย (Exocrine) สร้างนา้ ยอ่ ย (pH สร้างอนิ ซูลิน (Endocrine) เป็นด่าง) นา้ ย่อยท่สี ร้างจากตับอ่อน 31 ไลเปส ไขมนั กรดไขมนั และกลเี ซอรอล ทริปซนิ โปรตีน พอลเิ พปไทด์และไดเพปไทด์ คาร์บอกซเิ พปพเิ ดส เพปไทด์ กรดอะมโิ น อะไมเลส แปง้ มอลโตส
Learning การย่อยสารอาหาร (คาร์โบไฮเดรต) 1 ปาก: เอนไซม์อะไมเลส 3 ลาไส้เล็ก: แปง้ จะถกู ยอ่ ย ตาลโมเลกลุ คู่ ย่อยแปง้ เป็น Polysaccharides เอนไซม์อะไมเลสจากตบั ออ่ นจะยอ่ ยแปง้ ให้เป็น สายสนั ้ oligosaccharide, disaccharides และ monosaccharide 2 กระเพาะอาหาร: เอนไซม์อะ ไมเลส ไมอ่ ยใู่ นรูปท่ีทางานได้ 4 การย่อยคาร์โบไฮเดรต เกิดอยา่ งสมบรู ณ์ ไม่มีการยอ่ ยคาร์โบไฮเดรตใน โดยเอนไซม์ท่ียดึ ติดกบั บรัช บอร์เดอร์ (brush border) ของลาไส้เลก็ ซงึ่ disaccharides และ กระเพาะ oligosaccharides จะถกู ยอ่ ย เป็น 5 ลาไส้ใหญ่: ใยอาหาร และ monosaccharide คาร์โบไฮเดรตท่ีไม่สามารถยอ่ ยได้ บางสว่ นจะถกู แบคทีเรียยอ่ ย ให้เป็น 32 กรดไขมนั สายสนั้ และใยอาหารที่เหลอื จะถกู ขบั ออก
Learning การย่อยและดูดซมึ สารอาหารคาร์โบไฮเดรต https://youtu.be/9HNz_QW838Q 33
Learning การย่อยสารอาหาร (โปรตีน) 1 ปาก: การเคยี ้ วเป็นกลไก 3 ลาไส้เล็ก: polypeptides ถกู ย่อยเป็น เบอื ้ งต้น ในการทาให้โปรตีน amino acid, โปรตีนถกู ยอ่ ยเป็น แตกตวั tripeptides, dipeptides โดยเอนไซม์ที่มา จากตบั ออ่ น 2 กระเพาะอาหาร: โปรตีนเร่ิมถกู ยอ่ ยทางเคมี 4 โปรตีนหลากหลายรูปแบบท่ีถกู จากกรดไฮโดรคลอริกและ ยอ่ ยจะเคลื่อนไปยงั เซลลเ์ ย่ือบุ กรดอะมิโนกม็ ีการขนสง่ ในแบบ เอนไซม์ pepsin เดียวกนั กบั โปรตนี 7 โปรตนี จานวนเลก็ น้อยสญู เสยี ไป ทางอจุ จาระ 5 Dipeptides and tripeptides เข้าไปสเู่ ซลเย่ือบุ 6 amino acids ผ่านจาก เซลล์เยอ่ื บุ (mucosal cell) เข้าสกู่ ระแสเลอื ด และภายในเซลล์ จะถกู ย่อยให้ กลายเป็นกรดอะมิโน และไปท่ีตบั ตบั ควบคมุ การขนย้ายของกรดอะมิโนไปยงั 34 สว่ นอนื่ ๆของร่างกาย
Learning การย่อยและดูดซมึ สารอาหารโปรตีน https://youtu.be/EYfB6g3Gl0c 35
Learning การย่อยสารอาหารไขมนั 3 ลาไส้เลก็ เอนไซม์ไลเปสจากตบั ออ่ น จะถกู 1 กระเพาะอาหาร ขบั ออกมายงั ลาไส้เลก็ เพือ่ ย่อย ไขมนั จานวนเลก็ น้อยถกู ย่อยในโดย triglycerides ให้เป็น fatty acid เอนไซม์ไลเปสที่ผลติ ขนึ ้ ในกระเพาะ และ glycerol 2 นา้ ดี สร้างขนึ ้ ที่ตบั เกบ็ ไว้ในถงุ นา้ ดี และขบั 4 ลาไส้เล็ก สง่ิ ท่ีเกิดจากการยอ่ ยไขมนั และกรด ออกมาในลาไส้เลก็ นา้ ดี จาก micelle จะเคลอ่ื นเข้าไปใน เพ่ือช่วยยอ่ ยและชว่ ยดดู microvilli เพ่ือให้ไขมนั แพร่เข้าไปใน ซมึ ไขมนั เซลเยื่อบุ 6 ลาไส้เลก็ มีประสิทธิภาพในการดดู 5 ภายในเซลล์เย่อิ เมอื ก ซบั ไขมนั ดงั นนั้ ไขมนั จงึ มีการขบั ถา่ ย Fatty acid and monoglycerides จะ รวมกนั เป็น triglycerides และขนสง่ ใน ออกมาจากอจุ จาระน้อย รูปของ chylomicron เข้าสรู่ ะบบ นา้ เหลอื ง 36
Memory การย่อยและการดูดซมึ สารอาหารไขมัน check https://youtu.be/3J5pNwLYZ7w 37
Learning การดดู ซมึ สารอาหารในแต่ะตาแหน่ง ปาก มีการดดู ซมึ อาหารเข้ากระแสเลือดบ้างเลก็ น้อย มกี ารดดู ซมึ น้อยมาก กระเพาะ แอลกอฮอล์ถกู ดดู ซมึ ได้มาก มีการดดู ซมึ - นา้ (ประมาณ 30-40 % ของแอลกอฮอล์ท่ดี ื่มเข้าไป) - นา้ ตาลกลโู คส - เกลอื แร่ ทเี่ หลือไปถกู ดดู ซมึ ในลาไส้เลก็ - และวติ ามนิ ทลี่ ะลายนา้ เชน่ วิตะมิน B และ C คนดมื่ สรุ าขณะท้องวา่ งจะเมาเร็ว -ไขมนั ที่ Emulsified มาบ้าง แล้ว 38 - ยาบางชนิด (พวกฝิ่น เฮโรอนี จะดดู ซมึ ทาง กระเพาะอาหารเข้าสกู่ ระแส เลอื ดได้มาก)
Learning การดูดซมึ สารอาหารในลาไส้ใหญ่ นา้ ขีแ้ ข็ง ซงึ่ ติดมากบั กากอาหารจากลาไส้เล็ก และเหนียว อจุ จาระ ขีอ้ ่อน ลาไส้ใหญ่ ถ้าท้องผกู (Constipation) นาน การดดู นา้ ก็ย่ิงมากขนึ ้ จนอจุ จาระแห้งและแข็ง ทาให้ถ่ายยาก และทรมานท่ีสดุ 39
การดูดซมึ สารอาหารในลาไส้เลก็ ป่มุ ซมึ แต่ละอนั (Villus) Capillaries ทงั้ หลอดเลอื ดแดง & กล้ามเนือ้ ซงึ่ สามารถยดึ หดได้ หลอดเลือดดา ติดตอ่ กนั เป็นตาขา่ ย เพ่ือรับอาหารทถี่ กู ยอ่ ยแล้วดดู ซมึ เข้าไป สว่ นแกนกลางเป็นทอ่ นา้ เหลือง (Lacteals หรือ Chyle Vessels) ทาหน้าท่ดี ดู ซมึ ไขมนั และวิตามนิ ทีล่ ะลายในไขมนั คือ วติ ามนิ เอ ดี อี และ เค อาหารจะมาสมั ผสั เพื่อถกู ดดู ซมึ ได้มากขนึ ้ และเร็วขนึ ้ ป่มุ ซมึ (Villi) ยื่นออกมาจากผนงั ลาไส้ มลี กั ษณะคล้ายนิว้ มือ ลาไส้เล็ก สารอาหาร ประมาณ 95 % เซลล์เย่ือเมือก (Epithelial cells) ย่นพบั ไปมา จะถกู ดดู ซมึ ท่ีลาไส้เลก็ เกือบทงั้ หมด 40
การดดู ซมึ สารอาหารท่ีลาไส้เลก็ (ต่อ) กรดอะมโิ น ไขมนั สว่ นมาก 2 ใน 3 ของไขมนั ทงั ้ หมด นา้ ตาลชนั้ เดยี ว ไขมนั สว่ นน้อย วิตามนิ ท่ีละลายในไขมนั (1 ใน 3 ของไขมนั ทงั้ หมด ผา่ นเข้าทางเส้นเลอื ด จะผา่ นเข้าทางหลอด ฝอยของป่มุ ซมึ ไปยงั เส้น นา้ เหลอื งของป่มุ ซมึ เลอื ดดา (Portal Vein) หลอดนา้ เหลอื งใหญ่สู่ การดดู ซมึ ในลาไส้เลก็ มี 2 ทาง Thoracic Duct และหลอดเลอื ด ใต้กระดกู ไหปลาร้าด้านซ้าย (Left Subclavian Vein) ร่ างกาย ทางเส้นเลือดฝอย หลอดเลือด Superior Vena Cava หลอดเลือดดา และแดง ทางหลอดนา้ เหลือง หวั ใจห้องบนด้านขวา (Right Atrium) ยงั มกี ารดดู ซมึ เกลือแร่ วิตะมนิ และนา้ ตลอดความยาวของลาไส้เลก็ ด้วย 41
Learning การย่อยและการดดู ซมึ นา้ ร่ างกายได้ รับนา้ นา้ ถกู ดดู ซมึ โดยวธิ ี Osmosis ร่ างกายเสียนา้ ลาไส้เลก็ จะมกี ารดดู ซมึ มากท่สี ดุ คอื ประมาณ 80% 42
Learning การผ่าตดั กระเพาะอาหาร เพ่อื ลดนา้ หนัก | BARIATRIC SURGERY 1.การผ่าตัดรัดกระเพาะ Laparoscopic Gastric Banding การนาซิลโิ คนรัดสว่ นต้นของกระเพาะอาหารให้มขี นาดเลก็ ลง มีความจเุ หลอื 30 ซีซี ทาให้ผ้ปู ่วยรู้สกึ อ่ิมเร็วขนึ ้ เพราะขนาดกระเพาะที่เลก็ ลง 2. การผ่าตดั ส่องกล้องลดขนาดกระเพาะ Laparoscopic Sleeve Gastrectomy การผา่ ตดั ปรับรูปร่างของกระเพาะให้เหมอื นผลกล้วยหอม มคี วามจเุ หลอื 150 ซีซี โดยตดั กระเพาะและสว่ นที่ผลติ ฮอร์โมนควบคมุ ความหิวออกประมาณ 80% เป็นการผ่าตดั แบบสอ่ งกล้องบริเวณหน้าท้อง แผลเลก็ ขนาด 0.5 ซม.เพ่ือ ใสเ่ คร่ืองมือผ่าตดั ชนิดพิเศษในการตดั และเยบ็ กระเพาะอาหารไปพร้อมกนั โดยแพทย์ผ้ทู าการผา่ ตดั ต้องมคี วาม เชี่ยวชาญเป็นพเิ ศษ เพื่อวดั ขนาดกระเพาะอาหารให้ได้ขนาดท่ีเหมาะสม 3. การผ่าตดั ส่องกล้องลดขนาดกระเพาะและทาบายพาส Laparoscopic Gastric Bypass การผา่ ตดั แยกกระเพาะอาหารให้มขี นาดเลก็ ลงเป็นรูปกระเปาะ มีความจุ 30 ซีซี จากนนั ้ ตดั แยกลาไส้เป็นสองสว่ น สว่ นหน่ึงมาต่อกบั กระเพาะเพื่อบายพาสอาหารความยาว 100-150 ซม. ถือเป็นวิธีมาตรฐานของการผ่าตดั ลดขนาด กระเพาะอาหารที่นิยมมากวา่ 50 ปี 43
Learning การผ่าตัดส่องกล้องลดขนาดกระเพาะ Laparoscopic Sleeve Gastrectomy https://ww2.bangkokhospital.com/index.php/th/center-of- excellence/surgery/bariatric-surgery-center 44
Learning การผ่าตดั ส่องกล้องลดขนาดกระเพาะและทาบายพาส Laparoscopic Gastric Bypass https://ww2.bangkokhospital.com/index.php/th/center-of- excellence/surgery/bariatric-surgery-center 45
ตารางเปรียบเทยี บการผ่าตดั กระเพาะอาหารเพ่ือลดนา้ หนัก รักษาโรคอ้วน 46
Learning การตดั ต่อกระเพาะ 47
Memory กระบวนการย่อยสารอาหารคาร์โบไฮเดรต ลพิ ดิ และโปรตนี check ของเหลวในระบบย่อยอาหาร คาร์ โบไฮเดรต สารอาหารท่ถี ูกย่อย โปรตนี ไขมัน นา้ ลาย นา้ ย่อยในกระเพาะอาหาร นา้ ย่อยจากตบั อ่อน นา้ ย่อยจากลาไส้เล็ก นา้ ดี มีการย่อย ย่อยได้บางส่วน ไม่มีการย่อย 48
ให้นิสติ เขียนงานทารายงาน ในกระดาษ A4 เกลือแร่ และวติ ามนิ ต่างๆ ถูกดดู ซมึ ตาแหน่งใดบ้างในระบบทางเดนิ อาหาร 49
Thank you for your attention
Search
Read the Text Version
- 1 - 50
Pages: