ก า ร พ ย า บ า ล แ บ บ อ ง ค์ร ว ม ใ น ก า ร แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า สุ ข ภ า พ แ ก่ บุ ค ค ล วั ย ท า ร ก จ น ถึ ง วั ย รุ่ น ท่ี มี ค ว า ม ผิ ด ป ก ติ ของระบบทางเดินอาหารทงั้ ในระยะเฉียบพลนั วิกฤต และเรือ้ รงั โดยใช้ กระบวนการพยาบาลและให้ การพยาบาลโดยคานึ งถึง ความเป็นมนุษยแ์ ละความหลากหลายทางวฒั นธรรม อ. ศราวธุ เรืองสวสั ด์ิ
การพยาบาลเดก็ ท่ีมีปัญหาทางเดินอาหารที่รกั ษาทางยา: - Diarrhea, - Gastritis, - Gastroenteritis การพยาบาลเดก็ ที่มีปัญหาทางเดินอาหารที่รกั ษาด้วยการผา่ ตดั : - กระเพาะอาหารส่วนปลายตีบ (Infantile Hypertrophic Pyloric Stenosis : IHPS) - การอดุ ตนั ของลาไส้ส่วน duodenum (Duodenum Atresia) - ลาไส้กลืนกนั (Intussusception) - ลาไส้ใหญ่โป่ งพองแต่กาเนิด(Hirschsprung’s Disease)
เม่อื เรียนจบแล้วนักศึกษาสามารถ.- 1. สามารถวิเคราะหก์ ลไกการเกิดปัญหาสขุ ภาพของเดก็ ท่ีมี ความผิดปกติของระบบทางเดินอาหารทงั้ ในระยะเฉียบพลนั วิกฤต และเรอื้ รงั ได้ 2. สามารถประเมินภาวะสขุ ภาพและวิเคราะหค์ วามรนุ แรง ของปัญหาท่ีเกิดจากความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร ทงั้ ในระยะเฉียบพลนั วิกฤต และเรอื้ รงั ได้ 3. สามารถใช้กระบวนการพยาบาลในการแก้ไขปัญหาเดก็ ที่ มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหารทงั้ ในระยะ เฉียบพลนั วิกฤต และเรอื้ รงั ได้
ปัญหาโรคในท้องของเดก็ แตกต่างจากผใู้ หญ่ ทารกที่อาเจียนโดยท้องไม่อืดนัน้ ต้องสงั เกตว่า ส่ิงท่ีอาเจียน มี น้าดีปนหรือไม่ ถา้ ไม่มีน้าดีปนให้สงสยั ว่าอาจเป็น โรค Gastro esophageal Reflux เดก็ ท่ีอาเจียนโดยไม่มีน้าดีปน อาจเป็นโรค Infantile hypertrophiepylolic stenosis
ถ้าเดก็ อาเจียนมีน้าดีปนออกมา คิดถึงภาวะ Duodenal Obstruction เดก็ บางรายมาพบแพทยด์ ้วยอาการท้องอืด 1. การอดุ ตนั ของลาไส้ 2. การอกั เสบของลาไส้ และเยื่อบชุ ่วงท้อง 3. ก้อนในท้อง 4. น้าในท้อง
เดก็ แรกเกิดไม่ถ่ายขีเ้ ทา 24 ชม. หลงั คลอดดรู กู ้น รกู ้นปกติ ต้อง X-Ray ดลู มในทวารหนัก ถา้ ไมม่ ี ลาไส้อดุ ตนั ต้องผา่ ตดั ถา้ มี สวนล้าง NSS อจุ จาระออกมาเป็นก้อนแขง็ Meconium Plug Syndrome
ท้องอืดบอ่ ยๆเป็นๆหายๆต้องสวนอจุ จาระบอ่ ย Hirschsprung’s Disease วินิจฉัยโดยการสวนแป้ ง เดก็ อายุ 2เดือน ถึง 2 ปี เป็น Intussusception ได้ บอ่ ย รอ้ งกวน ถา่ ยเหลวมีมกู เลือดปน
Digestive_System
อุจจาระร่วง (Diarrhea) หมายถงึ ถ่ายเหลวเป็ นนา้ มากกว่าเนือ้ 3 ครัง้ /วนั หรือมีมูกปน เลือด 1 ครัง้ สาเหตุ 1. ตดิ เชือ้ เช่น rota virus, bacteria 2. ไม่ตดิ เชือ้ เช่น ขาดนา้ ย่อย lactase แพ้โปรตนี ในนมวัว แพ้อาหาร ถูกตดั ลาไส้ อาการ อาการแสดง 1. เชือ้ โรตาไวรัส อุจจาระเป็ นนา้ ปนกากอาหาร สีเหลืองปนเขียว มีฟอง กล่ินเหมน็ เปรีย้ ว ไม่มีเลือดปน พบในเดก็ 6 ด – 2 ปี 2. บดิ shigella มีไข้ > 38.5 °C ประมาณ 1-2 วนั ปวดท้อง ปวดเบ่ง มีมูกเลือดกล่ินเหม็น เหมือนไข่เน่า
อุจจาระร่วง (Diarrhea) (ต่อ) อาการ อาการแสดง 3. การขาดนา้ ย่อย lactase จากการขาดตงั้ แต่แรกเกิด หรือเดก็ อายุ 2-5 ปี หรือภายหลังการอักเสบของลาไส้ ปวดท้อง มีลมมาก แน่นท้อง ภายหลังด่มื นม 30 นาที – 2 ชม. 4. การแพ้โปรตีนนมวัว พบในเดก็ อายุ < 1 ปี อุจจาระเหลวเป็ น นา้ หรือมูกเลือดปน อาเจียน ปวดท้อง หลังเร่ิมให้นมผสม/ เปล่ียนนม 5. โรคอุจจาระร่วงรุนแรงจากเชือ้ Vibrio cholera มีอาการถ่ายเป็ น นา้ ทนั ที โดยไม่ปวดท้อง กล้ามเนือ้ อาจเป็ นตะคริวเน่ืองจากมีการ สูญเสียเกลือแร่
อุจจาระร่วง (Diarrhea) (ต่อ) อาการ อาการแสดง 6. โรคอุจจาระร่วงจากการรับประทานอาหารท่ปี นเปื้อนสารพษิ จากเชือ้ แบคทเี รีย จะอุจจาระร่วงไม่รุนแรง แต่มีอาการอาเจียน รุนแรง และมักเป็ นอาการนามาก่อนถ่ายอุจจาระร่วง มีอาการปวด ท้องแบบตะคริว (cramping) ร่วมด้วย ** การดแู ลเม่ือเดก็ มีอาการก้นแดง ล้างทาความสะอาด ไม่ควรโรย แป้ ง ทาด้วย zinc paste / zinc oxide ** อาการอาเจยี น ท้องเสีย ทาให้เกิดภาวะ K ต่า จะมีอาการ ท้องอืด กล้ามเนือ้ อ่อนแรง หวั ใจเต้นไม่สม่าเสมอ
Gastritis (โรคกระเพาะอาหารอกั เสบ) Gastritis (โรคกระเพาะอาหารอกั เสบ) หมายถงึ โรคทเ่ี กดิ จากมกี ารอกั เสบ บวม แดง ของเยอ่ื เมอื กบภุ ายในกระเพาะ อาหาร เมอ่ื มอี าการและรกั ษาไดห้ ายภายในประมาณ 1-3 สปั ดาห์ เรยี กว่า โรคกระเพาะอาหารอกั เสบเฉียบพลนั แตเ่ มอ่ื มอี าการเรอ้ื รงั เป็นๆหายๆ นานเป็นเดอื น หรอื เป็นปี เรยี กว่า โรคกระเพาะอาหารอกั เสบเรอ้ื รงั
Gastritis (โรคกระเพาะอาหารอกั เสบ) สาเหตุ ของโรคกระเพาะอาหารอกั เสบ เกดิ จากการทก่ี ระเพาะอาหารหลงั่ กรดมาปรมิ าณมาก อาจเกดิ จากความเครยี ด การได้รบั ยาหรอื สารเคมี เช่น ยา ต้านการอกั เสบ หรอื ยาแก้ปวดกลุ่ม NSAIDS แอสไพรนิ กลุ่มสเตยี รอยด์ รวมถงึ สารเคมอี ่นื ๆ ทม่ี าจากของดอง มฤี ทธิ ์ กดั กรอ่ นเยอ่ื บกุ ระเพาะ จนเป็นสาเหตุใหก้ ระเพาะบางลง การ ติดเช้ือแบคทีเรีย เฮลิโคแมคเตอร์ ไฟลอร์ (Helicobacter pylori : H. pylori) การตดิ เชอ้ื ไวรสั และราบางชนิด
Gastritis (โรคกระเพาะอาหารอกั เสบ) อาการและอาการแสดงของโรคกระเพาะอาการอกั เสบ เด็กจะมีอาการปวดท้องตาแหน่งกระเพาะอาหาร (ใต้ล้ินป่ี) เป็นๆ หายๆ มีท้องอืด แน่นอึดอัดท้อง คล่ืนไส้ อาเจยี น เม่อื เป็นมากอาจอาเจยี นเป็นเลอื ดได้ บางรายมถี ่าย เป็นเลอื ดหรอื ถา่ ยเป็นสดี า
Gastritis (โรคกระเพาะอาหารอกั เสบ) การตรวจวินิ จฉัย จากประวตั อิ าการ ประวตั โิ รคประจาตวั ต่างๆ เช่น การ กินยาต่างๆ ความเครียดในชีวิตประจาวนั /ครอบครวั การ ตรวจร่างกายพบมีอาการจุดเสียดท่ีบริเวณล้ินป่ี มีอาการ คล่นื ไสอ้ าเจยี น การส่องกลอ้ งตรวจกระเพาะอาหาร ร่วมกบั การตัดช้ินเน้ือจากส่วนท่ีมีการอักเสบเพ่ือจะช่วยในการ วนิ จิ ฉยั แยกโรค
Gastritis (โรคกระเพาะอาหารอกั เสบ) การรกั ษา โรคกระเพาะอาการอกั เสบ จะรกั ษาตามสาเหตุ เช่น ใหย้ าปฏชิ วี นะเม่อื โรคเกดิ จากตดิ เช้อื แบคทเี รยี H. pylori หรือการปรบั เปล่ียนยาแก้ปวด เม่ือโรคเกิดจากยาในกลุ่ม NSAIDS เป็นตน้ และรกั ษาตามอาการ เช่น ใหย้ าลดกรด ยาเคลอื บกระเพาะอาหาร ยาช่วยย่อยอาหาร และยาบรรเทา อาการปวดทอ้ ง เป็นตน้
Gastroenteritis (กระเพาะอาหารและลาไส้อกั เสบ) Gastroenteritis (กระเพาะอาหารและลาไสอ้ กั เสบ) โรคกระเพาะอาหารและลาไสอ้ กั เสบ (Gastroenteritis) คอื โรคทเ่ี กดิ จากความผดิ ปกตริ ะบบทางเดนิ อาหารซ่งึ เกดิ จากเชอ้ื ไวรสั หรือแบคทีเรียท่ี เป็นสาเหตุของโรคลาไส้ท่ีพบบ่อยท่ีสุดในเด็ก โดยไวรสั ทพ่ี บบอ่ ยทส่ี ดุ คอื ไวรสั โรตา้
Gastroenteritis (กระเพาะอาหารและลาไส้อกั เสบ) Gastroenteritis (กระเพาะอาหารและลาไส้อกั เสบ) สาเหตกุ ารเกิดโรค สว่ นใหญ่เกดิ จากเชอ้ื ไวรสั ไดแ้ ก่ Rota virus หรอื เชอ้ื แบคทเี รยี การเกดิ โรคมคี วามสมั พนั ธ์กบั จานวนเช้อื ความรุนแรงของเช้อื และ ภูมติ า้ นทานของเดก็ ทร่ี บั เชอ้ื เขา้ ไป ซง่ึ โดยปกตเิ ชอ้ื โรคจะถูกทาลาย โดยกรดในกระเพาะอาหาร
Gastroenteritis (กระเพาะอาหารและลาไส้อกั เสบ) Gastroenteritis (กระเพาะอาหารและลาไส้อกั เสบ) อาการและอาการแสดง อาการทพ่ี บไดแ้ ก่ อุจจาระรว่ งเฉียบพลนั คล่นื ไส้ อาเจยี น ปวดทอ้ งอย่างรุนแรง อาจพบไขส้ ูง ครนั่ เน้ือครนั่ ตวั อ่อนเพลยี และหนาวสนั่ ได้ การรกั ษา ส่วนใหญ่เป็นการรกั ษาตามอาการ เช่น รกั ษาภาวะ ขาดน้า ใหย้ าลดไขใ้ นกรณที ม่ี ไี ข้ โดยทวั่ ไปไมม่ คี วามจาเป็นตอ้ งใชย้ า ตา้ นจุลชพี ยกเวน้ ในเดก็ ทม่ี ภี ูมติ า้ นทานต่า ทารกแรกเกดิ หรอื เดก็ ท่ี มภี าวะ Septicemia
การผสม ORS สูตรนา้ เกลือผสมเอง - นา้ ตาลทราย 2 ช้อนโต๊ะ และเกลือป่ น 1 ช้อนชา - ละลายในนา้ ต้มสุกท่เี ยน็ แล้ว 750 ซีซี (1 ขวด สุรากลม) เม่ือท้องเสีย ไม่ควรให้ผู้ป่ วยงดอาหาร และนา้ เพราะการขาดนา้ และสารอาหาร ย่งิ ทาให้ผู้ป่ วยฟื้นตวั ช้า ให้งดนม จะใช้เฉพาะเดก็ ท่พี ร่องเอ็นไซม์แลคเตส (Lactase ) โดย ให้นมท่ไี ม่มีแล็คโตส (Lactose free)
%BW. การประเมินภาวะขาดนา้ ท่ีลดลง Mild Moderate Severe อาการ ท่ัวไป 3-5% 6 – 9% 10% ขนึ้ ไป ซมึ มาก เหง่ือออก ชีพจร หวิ นา้ หวิ นา้ ,ซมึ ตวั เยน็ อาจไม่รู้สกึ ตัว ตาลกึ โหล กะหม่อมบุ๋ม หายใจ ปกติ เบา เร็ว เร็วมากและเบาจนคลา BP ไม่ได้ นา้ ตา ปกติ ลกึ &อาจเร็ว เร็วและลกึ ปกติ ปกต/ิ ต่า ต่า มี ไม่มี ไม่มี ** ปัสสาวะออก < 0.5 cc/kg/hr
สูตรคานวณนา้ หนักท่ลี ดลง นา้ หนักก่อนป่ วย – นา้ หนักขณะป่ วย x 100 นา้ หนักก่อนป่ วย เช่น เดก็ นา้ หนัก 10 กก. ท้องเสียนา้ หนักเหลือ 9 กก. นา้ หนักเดก็ ท่ลี ดลงก่ีเปอร์เซ็นต์ 10-9 x100 = 10 % 10
Diarrhea / Gastroenteritis การประเมนิ ภาวะขาดนา้ และการรักษา Mild Dehydration รับนมตามปกติ ให้ ORS 50 cc/kg ใน 4 ชม. Moderate Dehydration ให้ ORS 100 cc/kg ใน 4 ชม. Severe Dehydration ให้ IV fluid NSS, R-L ในอัตรา 20-30 มล./กก/ชม. ใน 2 ชม. แรก การรักษาตามอาการ นมแม่ ให้ได้ตามปกติ นมผสม ไม่ต้องเจือจาง ควรลดปริมาณลงและให้ ORS เพ่มิ ORS ให้ป้ อน ครัง้ ละ 1 ช้อนชา ทุก 1 นาที ป้ อนทีละน้อย เพ่อื ไม่ให้อาเจียน และลาไส้ดดู ซมึ ได้ดี ให้อาหารอ่อน
ระดบั การขาดน้า อาการ การรกั ษา การทดแทนน้า การ Maintenance Mild (3-5%) ที่เสียไป Moderate (6-9%) - กระหายน้าเพมิ่ ขน้ึ ORS 50 ml/kg ใน 4 ชวั่ โมง - ในทารกให้ - ใหน้ มแม่ Severe (≥10%) - เย่ือบุปากแห้ง ORS 10 ml/kg - ถา้ ไมไ่ ดร้ บั นมแม่ ให้ เลก็ น้อย - ในเดก็ ให้ 150- นมผสม 250 ml สาหรบั - ทารกและเดก็ ทไ่ี ดร้ บั การถ่ายอุจจาระ อ า ห า ร เ ส ริ ม ใ ห้ แต่ละครงั้ ตามปกติ - ผวิ หนังเสยี ความ ORS 100 ml/kg ใน 4 เหมอื น mild เหมอื น mild ยดื หยนุ่ ชวั่ โมง - เ ย่ือ บุ แ ห้ง ต า ลึก กระหมอ่ มบุ๋ม เ ห มื อ น moderate IV. fluid เป็น initial fluid เหมอื น mild เหมอื น mild และมอี าการร่วมอย่าง resuscitation (Ringer ใดอยา่ งหน่ึง ดงั น้ี Lactate, NSS) 20-30 - ชพี จรเบาเรว็ ml/kg/hr ใน 2 ชวั่ โมง - cyanosis จนกระทัง่ ชีพจรและความ - หารใจเรว็ รู้สึกตัวกลับมาปกติ จึงให้ - ไมร่ สู้ กึ ตวั ORS 50-100 ml/kg
พยั ลอรสั ตีบ Infantile hypertrophic pyloric stenosis (IPHS) เป็นสาเหตุทพ่ี บไดบ้ อ่ ยของภาวะลาไสอ้ ุดตนั ในเดก็ ทารก โดยมสี าเหตุเกดิ จากการหนาตวั ทผ่ี ดิ ปกตแิ ละการเพม่ิ จานวน ของเซลลท์ อ่ี ยใู่ นชนั้ กลา้ มเน้ือทบี รเิ วณพยั ลอรสั ซง่ึ ทาใหช้ อ่ ง หรู ดู กระเพาะอาหารแคบและยาวออก ผปู้ ว่ ยมอี าการภาวะลาไส้ อุดตนั ในสว่ นของกระเพาะอาหาร หรอื gastric outlet obstruction
Hypertrophic pyloric stenosis causes, symptoms, diagnosis, treatment, pathology
อาการและอาการแสดง ผปู้ ว่ ยIPHSจะมอี าการแสดงของโรคไดต้ งั้ แต่อายุ 1ถงึ 18 สปั ดาหส์ ว่ นใหญ่แสดงอาการเมอื อายุ 3 ถงึ 6 สปั ดาห์ โดยเฉลย่ี แสดง อาการในชว่ งอายุ 3 สปั ดาห์ สว่ นใหญ่จะเกดิ จากการผปู้ ว่ ยขาดน้า และสญู เสยี เกลอื แรอ่ ยา่ งหนกั โดยทไี มไ่ ดร้ บั การวนิ ิจฉยั วา่ เป็น IPHS อาการแสดงสว่ นใหญ่ของผปู้ ว่ ย IHPS ไดแ้ ก่ อาการอาเจยี น ออกมาเป็นอาหารโดยทไ่ี มม่ นี ้าดปี น หรอื อาจมกี ารสารอกอาหาร ออกมาหลงั จากกนิ อาหารเขา้ ไป ชว่ งแรกอาจมเี พยี งสารอกตอ่ มาจงึ มี อาเจยี นพงุ่ ซง่ึ พบลกั ษณะอาเจยี นพงุ่ ออกมารอ้ ยละ70 โดยทห่ี ลงั จาก อาเจยี นออกมาแลว้ ผปู้ ว่ ยจะยงั มอี าการหวิ หรอื อยากรบั ประทาน อาหาร
อาการและอาการแสดง อาการแสดงของผปู้ ว่ ย IHPS มากกวา่ รอ้ ยละ 60 จะไมม่ ี ความผดิ ปกตขิ องเกลอื แรใ่ นรา่ งกาย แต่จะมอี าการแสดงของ ภาวการณ์ขาดน้ามากกว่า ผปู้ ว่ ย IHPS มอี าการแสดงของภาวะการขาดสารน้าและเกลอื แรใ่ นรา่ งกาย ไดแ้ ก่ การมนี ้าหนกั ตวั ลดลง การแสดงถงึ ภาวะขาด สารอาหาร ปสั สาวะปรมิ าณน้อยลง ชอ็ ค เป็นตน้ นอกจากน้ีอาจมี อาการอาเจยี นออกมาเป็นเลอื ดจากการทผ่ี ปู้ ว่ ยอาเจยี นมากและ รนุ แรงจนเกดิ ภาวะ Mollory-Weiss tear หรอื อาจเกดิ ตามหลงั ภาวะ กระเพาะอาหารอกั เสบ
การตรวจร่างกาย ในผปู้ ว่ ย IHPS ประมาณรอ้ ยละ 60ถงึ 80 คลาพบกอ้ น พยั ลอรสั ทห่ี นาตวั ขน้ึ ไดท้ ห่ี น้าทอ้ ง โดยกอ้ นทค่ี ลาไดจ้ ะเป็นลกั ษณะ กอ้ นแขง็ ไมเ่ จบ็ เคล่อื นทไี ปมาได้ คลา้ ยผลมะกอก(olive) ทบ่ี รเิ วณ ชอ่ งทอ้ งดา้ นขวาในตาแหน่งเหนือสะดอื และใตต้ อ่ ตบั ซง่ึ จะคลาได้ ชดั เจนขน้ึ หลงั จากทผ่ี ปู้ ว่ ยอาเจยี น การเคล่อื นตวั ของกระเพาะอาหาร (gastric wave) การตรวจรา่ งกายเพอ่ื ประเมนิ ระดบั ของภาวะการขาด สารน้าและเกลอื แร่ เป็นสงิ่ สาคญั ไดแ้ ก่ การตรวจพบกระหมอ่ มบุ๋ม ปากแหง้ รอ้ งไหโ้ ดยทไ่ี มม่ นี ้าตา ผวิ หนงั แหง้ หรอื ซมึ ลงไมต่ อบสนอง เป็นตน้
ลาไส้โป่ งพอง ในทารกแรกเกิด Hirschprung’s disease ไม่ถ่ายขีเ้ ทา อาเจียนมีนา้ ดปี น ท้องอดื ตงึ ท้องผูก มีประวัตถิ ่ายลาบากมาตงั้ แต่แรก เกิด ท้องผูกเรือ้ รัง ท้องอดื โตขนึ้ เร่ือยๆ อุจจาระเป็ นแถบแบนๆ มีกล่ินเหมน็ มาก หรือสีดาโคลน ในเดก็ โตหลังจากสวนอุจจาระ อาการดขี นึ้ ขาดอาหาร ลาไส้ดดู ซมึ ได้น้อย มีโอกาสเกิดการตดิ เชือ้ ท่ลี าไส้ enterocolitis ได้ รักษาโดยการผ่าตดั
การรกั ษา แบง่ เป็น 3 ระยะ คอื ระยะท่ี 1 ลดการอุดตนั ลาไส้ เพอ่ื ลดขนาดของลาไสท้ โ่ี ปง่ พอง และลดการ อกั เสบตดิ เชอ้ื ของลาไส้ ดว้ ยวธิ กี ารสวนระบายอุจจาระ (Rectal irrigation)โดย ใสส่ าย Rectal tube และสวนลา้ งดว้ ย NSS 20 ml/kg โดยไมเ่ กนิ 50 ml/kg และการผา่ ตดั ทวารเทยี ม (Colostomy) เพอ่ื ระบายอุจจาระ ระยะท่ี 2 การทาผา่ ตดั เพอ่ื แกไ้ ขสาเหตุของโรค โดยการผา่ ตดั ลาไสส้ ว่ น ทข่ี าดปมประสาทออกและตอ่ ปลายลาไสท้ ด่ี สี ว่ นทเ่ี หลอื เขา้ ดว้ ยกนั มหี ลายวธิ ี ไดแ้ ก่ Swenson operation, Duhamel operation, Soave operation, Transanalendorectal pull-through ระยะท่ี 3 ผา่ ตดั ปิดทวารเทยี ม เพอ่ื ใหเ้ ดก็ ถา่ ยอุจจาระออกทางทวารหนกั เหมอื นเดก็ ปกติ
การรักษา การพยาบาล การรักษาแบบประคับประคอง ก่อนผ่าตดั - สวนล้างลาไส้วันละ 1-3 ครัง้ - ให้นม/อาหารทลี ะน้อยแต่บ่อยครัง้ หรือ 2-3 วันต่อครัง้ เม่ือนา้ หนักดี - เม่ือท้องผูก สวนอุจจาระด้วย NSS - หลีกเล่ียงการวัดปรอททางทวาร ประมาณ 8 สัปดาห์ จงึ ผ่าตดั การผ่าตัดแก้ไขความผดิ ปกติ หนัก 1. การตัดลาไส้ส่วนท่ไี ม่ทางานออก - ให้นอนศีรษะสูง หลังผ่าตดั และ ทา Colostomy - สอนบดิ ามารดาดแู ล colostomy ท่ี 2. 9-12 เดือน ต่อลาไส้ด้วยวธิ ี บ้าน Abdominal pull-through 3. 3 เดือนต่อมาปิ ด Colostomy
ภาวะแทรกซ้อนท่สี าคัญของการสวนระบายอุจจาระ การแตกทะลุ ของลาไส้ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ในส่วนท่ขี าดเซลล์ปม ประสาทซ่งึ มีผนังบาง และwater intoxication ซ่งึ เกดิ ขึน้ ได้เม่ือสวนล้าง ด้วยนา้ ธรรมดาปริมาณมาก วิธีการสวน ในทารกแรกเกดิ ให้ค่อยๆ ปล่อย normal saline ครัง้ ละ 15 – 20 มล. เข้าสู่ rectum ผ่าน rectal catheter ขนาด 16 Fr ส่วนเดก็ โต ให้ใช้ catheter ขนาด 20 – 28 Fr และใช้ปริมาตรนา้ เกลือ 50 – 100 มล. ในแต่ละครัง้ โดยรวมไม่เกนิ 50 มล./ กก. ควรใช้นา้ เกลืออุ่น โดยเฉพาะ อย่างย่งิ ในทารกท่สี ูญเสียความร้อนง่าย ในระยะแรกการสวนล้างมักจะ ต้องทาหลายครัง้ ในแต่ละวันจนกว่าจะลดการค่งั ค้างได้ ต่อมาให้สวน ล้าง วันละครัง้
ลาไส้กลืนกัน (Intussusception) เดก็ มอี ายุ 6 – 12 เดอื น สุขภาพ สมบรู ณ์ แขง็ แรงดี ช่วงเร่ิมให้ อาหารเสริม ปวดท้องแบบ colicky pain อาเจียน อุจจาระเป็ นมูกปนเลือด คล้ายแยม ผลไม้ คลาท้องได้ก้อนคล้ายไส้ กรอกอยู่ด้านขวา การรักษา ขัน้ แรก ทา hydrostatic reduction โดยใช้ Barium สวน ถ้า ลาไส้ไม่คลายตวั ให้ทาผ่าตดั ลาไส้
ลำไส้อดุ ตนั ( Gut obstruction) ลำไส้อดุ ตนั มักเกดิ ในระยะขวบปี แรก หรือต้งั แต่คลอดออกมำใหม่ๆ สำเหตุ มีกำรอดุ ตนั ช่องทำงเดนิ ของลำไส้ซ่ึงเป็ นทำงผ่ำนของแก๊ส ของเหลวและอุจจำระ
พยำธิสภำพ ลำไส้ที่ตันเกดิ จำกมี late mesenteric vascular accident ทำให้ลำไส้เลก็ ส่วนน้ันขำดเลอื ด มีกำรย่อยสลำยโดยไม่ มีเอนไซม์มำย่อย เพรำะในช่องว่ำงมภี ำวะปรำศจำกเชื้อ จงึ ทำให้มำกำร ตันของลำไส้ตำมมำ ซึ่งภำวะกำรขำดเลอื ดน้ันอำจเกดิ มำจำกภำวะ volvulus, malrotation, gastroschisis, intussusception หรือ internal hernia ในระยะเอม็ บริโอ
อำกำรและอำกำรแสดง อำเจยี น ลกั ษณะอำเจียนจะแตกต่ำงกนั ออกไป เช่น ถ้ำเป็ นกำรตบี ตนั ของหลอด อำหำร จะมลี กั ษณะเป็ นแหวะออกมำ โดยไม่มกี ำรขย้อนหรืออำเจียน ถ้ำอุดตนั แถวๆ pylorus หรือ duodenum ตอนต้น อำเจียนมกั พ่งุ และไม่มสี ี นำ้ ดี ถ้ำอำเจยี นเป็ นสีนำ้ ดมี กั มกี ำรอดุ ตนั ของลำไส้เป็ นส่วนใหญ่ ท้องอดื มำกน้อยขนึ้ อย่กู บั ตำแหน่งท่อี ุดตนั กำรอดุ ตนั ลำไส้ตอนปลำยๆลงไปน้ัน จะอดื มำกเมอื่ เลย 24 ชม.หลงั คลอด ไม่ถ่ำยอจุ จำระ ปกตขิ เี้ ทำจะออกมำภำยใน 8 -12 ชม.หลงั คลอด ถ้ำไม่ถ่ำยขี้ เทำเลยแสดงว่ำมพี ยำธิสภำพแน่นอน แต่ถ้ำน้อย กม็ ีพยำธิสภำพเช่นกนั
ตำแหน่งกำรอดุ ตนั ถ้ำมีกำรอุดตนั ทสี่ ่วนบน ของลำไส้เลก็ ผู้ป่ วย จะแสดงอำกำร อำเจียนเป็ นสำคญั โดยเฉพำะหลงั จำกรับประทำนอำหำร อำกำร ท้องอดื อำจจะไม่มี แต่ถ้ำมีกำรอุดตนั ทสี่ ่วนล่ำงของลำไส้เลก็ จะมีอำกำรท้องอดื เป็ นสำคญั กำรอำเจยี นจะมีในระยะต่อมำ
ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ เมื่อลำไส้อุดตนั กำรขำดนำ้ และขำดสมดุล electrolyte กำรเปลยี่ นแปลงของลำไส้ โดยลำไส้เหนือส่วนทอี่ ุดตนั จะโป่ งพองขนึ้ ผนังยดื ตัว กำรย่อยอำหำรผดิ ปกติ ไม่ถ่ำยอุจจำระและผำยลม ในทสี่ ุด จะมกี ำรแตกทะลุ กำรเปลยี่ นแปลงทำงระบบหำยใจ ท้องอดื มำก อำจทำให้หำยใจลำบำก กำรเปลยี่ นแปลงของระบบไหลเวยี นโลหิต พลำสมำสูญเสียไป ปริมำตร เลอื ดลดลง แรงดันเลอื ด
กำรวนิ ิจฉัย 1.หน้ำท้องมักมีท้องอดื อำจคลำพบก้อนหรือไม่กไ็ ด้ฟังเสียงทีห่ น้ำ ท้องมกั ได้ยนิ เสียงดงั และถ่ี 2.กำรตรวจทำงทวำรหนักหำกไม่พบขเี้ ทำหรือไม่ช่วยกระตุ้นให้ ถ่ำยขเี้ ทำอำจใช้สำยยำงเลก็ ๆสวนล้ำงลำไส้ใหญ่แทนกไ็ ด้ 3.ชีพจรถ้ำชีพจรสูงขนึ้ ทนั ทจี ะช่วยบอกว่ำมีกำรขำดเลอื ดมำเลยี้ ง ลำไส้ หรือลำไส้ ทะลุแล้ว
กำรวนิ ิจฉัย 4.กำรตรวจอจุ จำระหรือขเี้ ทำคอื ตรวจดูลกั ษณะอจุ จำระจะบอกถงึ ภำวะกำรอดุ ตนั ของลำไส้ 5. กำร X -ray เพอื่ กำรวเิ ครำะห์ จะพบว่ำมี gas บริเวณ กระเพำะชัดเจน เม่อื อำยไุ ด้ 12 ช่ัวโมง gas ไปสุดใน ตำแหน่งใด กพ็ อบอกตำแหน่งกำรอุดตนั ได้
แนวทำงกำรรักษำ 1.งดนำ้ และนมทำงปำก 2.ให้สำรนำ้ และเกลอื แร่ทดแทน โดยกำรประเมนิ ภำวกำรณ์ขำดนำ้ จำกกำรตรวจร่ำงกำย และตรวจจะเลอื ดตรวจระดบั เกลอื แร่ 3.ใส่สำยสวนกระเพำะอำหำรทำงปำกเพอ่ื ช่วยระบำยลมและนำ้ ใน ทำงเดนิ อำหำร
แนวทำงกำรรักษำ 4. X-ray abdomen หรือ chest include abdomen สำมำรถ ช่วยวนิ ิจฉัยระดบั กำรอุดตนั 5. rectal irrigation ด้วย warm normal saline ในกรณที ผ่ี ู้ป่ วย ไม่ถ่ำยขเี้ ทำใน 24 ชั่วโมงหลงั คลอด จะช่วยลดอำกำรท้องอดื ได้ 6. barium enema ช่วยวนิ ิจฉัย Hirschsprung’s disease และ small left colon syndrome
แนวทำงกำรรักษำ 7. ultrasonography และ water-soluble upper Gl study ช่วยวินิจฉัย hypertrophic stenosis และ duodenal obstruction สิ่งทส่ี ำคญั ป้ องกนั กำรสูญเสียนำ้ และเกลอื แร่ ส่งต่อมำยงั กมุ ำรศัลยแพทย์ เพอ่ื รับกำรรักษำผ่ำตดั ต่อไป
Question ?
คาถาม:
คาถาม:
คาถาม:
Search