หนว่ ยที่ 2 การวิเคราะห์การตลาดเก่ยี วกบั ไม้ดอกไม้ประดบั
หนว่ ยที่ 2 การวิเคราะหก์ ารตลาดเก่ียวกับไม้ดอกไม้ประดบั สาระสาคัญ การวิเคราะหก์ ารตลาดเก่ียวกบั ไม้ดอกไมป้ ระดับนั้นประกอบไปดว้ ยการวิเคราะห์ สถานการณ์ ในช่วงเวลานั้นของการผลิตไม้ดอกไมป้ ระดบั ในต่างประเทศ ภายในประเทศ และ ระดับทอ้ งถิ่น ซึ่งจะทาให้ ได้รบั รเู้ กี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของจานวนพ้ืนที่ปลูกไมด้ อกไม้ประดับ เพ่ือท่ีจะใชใ้ นการวเิ คราะห์ความเป็นไป ได้ ในการวางแผนการผลิตเพื่อการจาหน่ายไมด้ อกไม้ประดับ ในต่างประเทศภายในประเทศ และระดับท้องถน่ิ ซึ่งในการวิเคราะหส์ ถานการณก์ ารผลติ ไมด้ อกไม้ประดบั ในระดับทอ้ งถ่ินนั้น จะนาไปสูแ่ นวทางการผลิตพนั ธ์ไุ ม้ ชนิดพันธ์ุของไม้ดอกไม้ประดับที่จะปลกู แหลง่ ตลาดท่ีจะซ้ือขาย ราคาซื้อขาย และพื้นท่ีท่ีใชใ้ นการผลิตไม้ ดอกไม้ประดบั อยา่ งเหมาะสมตอ่ ความตอ้ งการของตลาด จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ จุดประสงคท์ ั่วไป 1. เพอ่ื ใหน้ ักเรียนมีความเข้าใจเก่ียวกบั สถานการณก์ ารผลิตไมด้ อกไมป้ ระดับในตา่ งประเทศ ภายในประเทศ และในระดบั ทอ้ งถ่ิน 2. เพอื่ ใหน้ กั เรียนมีความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกบั สถานการณก์ ารตลาดของไมด้ อกไม้ประดับทงั ในตา่ งประเทศ ภายในประเทศ และในระดบั ท้องถ่ิน จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 1. อธิบายสถานการณ์การผลิตไม้ดอกไม้ประดับของต่างประเทศ ภายในประเทศและในระดบั ท้องถนิ่ ได้ 2. นกั เรียนสามารถนาความรู้เกี่ยวกบั สถานการณ์การผลติ ไม้ดอกไมป้ ระดับไปปรบั ใช้ในการผลติ และการจดั จาหนา่ ยไม้ดอกไมป้ ระดบั ได้ เน้ือหาสาระ การวเิ คราะห์การตลาดเก่ียวกับไมด้ อกไม้ประดบั การผลติ ไมด้ อกไมป้ ระดบั ในประเทศไทยสามารถผลติ ไมด้ อกไมป้ ระดับ เพอ่ื การจาหนา่ ยทัง้ ภายใน ประเทศและส่งออกตา่ งประเทศ ซ่ึงนาเงินตราเข้าประเทศเป็นจานวนมาก แต่บางคร้ังหรือบางช่วงของฤดูกาล ตอ้ งสั่งไมด้ อกไมป้ ระดับนาเขา้ มาใชภ้ ายในประเทศโดยเฉพาะไมเ้ มืองหนาวที่ประเทศไทยผลิตไมไ่ ด้ ในบาง ฤดกู าล การทาธุรกจิ เกย่ี วกับการผลิตและการจาหน่ายไมด้ อกไม้ประดับเหมือนกับการทาธรุ กจิ ดา้ นอ่ืนๆ คอื จะต้องร้วู า่ จะผลิตอะไรที่จะไดก้ าไรสูงสดุ ในช่วงใด และจะตอ้ งนาเขา้ ไม้ดอกไม้ประดบั ในช่วงใดและไม้อะไรท่ี ใหผ้ ลคุม้ ค่า ดงั น้ันเกษตรกรท่ีผลติ ไม้ดอกไมป้ ระดับเพื่อจาหน่ายทั้งในระดับทอ้ งถ่ิน ระดับภมู ภิ าค จนถึง ระดับประเทศ จะตอ้ งมกี ารศึกษาวเิ คราะห์เกี่ยวกับด้านตลาดเพื่อท่ีจะไดท้ าการผลิตไม้ดอกไม้ประดบั ได้ถกู ช่วงเวลาที่ตลาดต้องการ สถานการณ์ตลาดและแหล่งผลติ ไมด้ อกไมป้ ระดับ ปัจจบุ ันประเทศไทยมีพ้ืนที่ปลูกไม้ ดอกไมป้ ระดบั ประมาณ 70,000 ไร่ (ศนู ยส์ ารสนเทศการเกษตร สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร, 2556) โดยไมด้ อกไมป้ ระดบั ที่ปลูกกนั มาก คอื กลว้ ยไม้ ดาวเรือง มะลิ กหุ ลาบ รกั เบญจมาศ และอื่นๆผลผลิตไม้ ดอกไมป้ ระดบั นามาใช้ภายในประเทศเป็นสว่ นใหญ่ โดยการนามาประดับตกแต่งอาคารสถานที่ ซึ่งแหล่งผลิต ไมด้ อกไม้ประดับ มีดังตอ่ ไปนี้ 1. ระดบั ทอ้ งถิ่นจงั หวดั ขอนแก่น เป็นจังหวดั ที่อยู่ในภาคตะวันนออกเฉยี งเหนือ ประชาชนส่วนมาก ประกอบอาชพี ทางการเกษตรโดยสว่ นมากมอี าชีพการทานาและทาไร่ แตก่ ่อนเมอ่ื เกษตรกรหมดฤดกู ารทานา จะประกอบอาชีพเสรมิ โดยการเพาะต้นกลา้ พืชผกั สวนครัว และแต่ต่อมาอาชีพการปลกู ไม้ดอกไม้ประดบั ราย
ย่อยๆเกดิ ขนึ้ มากเพ่อื รองรบั ความตอ้ งการในทอ้ งถ่ิน โดยใชพ้ ื้นท่ีบรเิ วณบ้านเรือนที่อยู่อาศัยมาทาการผลิต ไม้ตัดดอก และมตี ลาดจาหน่ายไมด้ อกประดับหลายๆ แหลง่ ดงั นี้ 1.1 บ้านศิลา ตาบลศลิ า อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแกน่ เกษตรกรสว่ นมากมีอาชีพหลักในการทานา และอาชีพเสรมิ ในการผลติ ไมต้ ดั ดอก บัว ดอกพดุ ดาวเรอื ง มะลิ บานไม่รู้โรย ซ่ึงจะใช้พื้นทบี ริเวณที่อยูอ่ าศยั และพนื้ ทีส่ วนในการผลิต ซง่ึ เกษตรกรสามารถสร้างรายได้เสริมใหก้ บั เกษตรกรเปน็ อย่างดี ภาพที่ 2.1 แหลง่ จาหนา่ ยไม้ตัดดอก บา้ นศิลา อาเภอเมอื ง จงั หวัดขอนแก่น 1.2 ตลาดต้นไม้กดุ กวา้ ง ตลาดตน้ ไม้ลานไมม้ ิตรภาพ และตลาดตน้ ไมอ้ ุทยานเกษตร มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ อาเภอเมือง จังหวัดขอนแกน่ เป็นตลาดตน้ ไม้ทรี่ วบรวม จาหน่าย พันธุไ์ ม้หลากหลาย ชนดิ ไม้ผลไม้ยนื ตน้ ไม้ขดุ ลอ้ ม ไม้ดอกไม้ประดบั พชื ผัก ทนี่ ามาจากแหลง่ ผลิตหลายๆแหลง่ เพอื่ รองรบั กบั ความต้องการของตลาดในท้องถน่ิ ภาพท่ี 2.2 แหลง่ จาหน่ายไม้ดอกไม้ประดับ ในจงั หวดั ขอนแกน่ 2. ระดับภูมภิ าค การผลิตไมด้ อกไม้ประดับ แตล่ ะแหล่งตามภมู ิภาคของประเทศไทยนั้นจะทาการ ผลติ ไมด้ อกไมป้ ระดบั ตามสภาพแวดล้อมของภมู ิอากาศ ภมู ปิ ระเทศท่ีเหมาะสมกับไม้ดอกไมป้ ระดบั ชนิดนั้นๆ ดังต่อไปนี้ 2.1 แหล่งผลิตภาคเหนอื พนั ธุไ์ ม้ดอกไมป้ ระดบั ท่ีผลิตในภาคเหนือส่วนใหญ่จะเปน็ พนั ธุ์ไม้ประเภท ท่ตี ้องการสภาพภมู ิอากาศหนาวเย็น ไดแ้ ก่ สนมังกร แอสเตอร์ ลลิ ล่ี เบญจมาศ พทิ ูเนีย จังหวดั ท่ีผลติ สาคญั ได้แก่ เชยี งใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน นา่ น แพร่ ตาก และกาแพงเพชร ภาพท่ี 2.4 แหล่งผลติ เบญจมาศ อาเภอแมว่ าง จังหวัดเชยี งใหม่
2. 2 แหล่งผลติ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ พันธไุ์ มด้ อกไม้ประดับส่วนมาก ผลิตเพื่อใช้ในการประดับ ตกแต่งสวนตกแต่งบรเิ วณท่ีอยู่อาศยั จงั หวดั ท่ีผลิตไม้ดอกไมป้ ระดับทสี าคญั ไดแ้ ก่ เลย ขอนแก่น นครราชสีมา บุรีรัมย์ อบุ ลราชธานี และอดุ รธานี เปน็ ตน้ ภาพท่ี 2.5 แหลง่ ผลติ จาหนา่ ยไม้ดอกไม้ประดับ อาเภอภูเรอื จงั หวดั เลย 2.3 แหล่งผลิตภาคกลางและภาคตะวันออก แหลง่ ผลิตนี้ถอื วา่ เป็นแหล่งผลิตที่สาคญั ของประเทศ โดยมชี นิดของพันธไ์ุ มด้ อกไม้ประดับมากมายที่ผลิต แหล่งผลิตที่สาคัญ ไดแ้ ก่ กรงุ เทพฯ เขตบางแค เขตตล่ิง ชนั เขตมนี บรุ ี และเขตปริมณฑล ได้แก่ บางกรวย บางบัวทอง บางใหญ่ ไทรนอ้ ย สามพราน ดาเนนิ สะดวก อัมพวา สว่ นภาคตะวันออกแหล่งผลติ ท่ีสาคัญท่ีสุดคือ สวนนงนชุ อาเภอสตั หบี จงั หวัด ชลบุรี คลอง15 อาเภอองค์รกั ษ์ จงั หวดั นครนายก และจงั หวัดปราจีนบุรี ภาพท่ี 2.6 แหล่งจาหนา่ ยพนั ธุไ์ ม้คลอง15 อาเภอองค์รักษ์ จงั หวดั นครนายก 2.4 แหลง่ ผลิตภาคใต้ พันธ์ไุ มท้ ี่ผลติ และใชใ้ นภาคน้ีสว่ นใหญ่เปน็ ไม้ที่ต้องการความช้ืนสงู เชน่ หมากแดง หมากงาชา้ ง อะโกลนีมา กลว้ ยไมส้ กุลรอ้ งเท้านารี จังหวัดทผี ลติ พนั ธ์ไุ ม้ ได้แก่ นราธิวาส ปัตตานี ชมุ พร สงขลา เป็นตน้ ภาพที่ 2.7 หมากงาชา้ ง อาเภอรัตภมู ิ จังหวดั สงขลา 3. ระดับประเทศและต่างประเทศ จากการศกึ ษาขอ้ มูลพ้ืนฐานเศรษฐกิจการเกษตร ของสานกั งาน เศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในดา้ นการผลิตสนิ คา้ เกษตรกรรมที่จาหน่ายทั้งภายใน ประเทศ และตา่ งประเทศ ขอ้ มูลการผลิตทางดา้ นพชื มีข้อมลู การผลิตข้าว พืชไร่ ไมผ้ ล ไมย้ ืนตน้ พชื ผัก สว่ นข้อมลู ไมด้ อกไมป้ ระดับน้ัน จะมีขอ้ มลู ของ กลว้ ยไม้ เป็นสว่ นใหญ่ เพราะกลว้ ยไม้เปน็ ไมด้ อกไม้ประดบั ที่ สาคญั ของประเทศไทยที่มีการผลิตและจาหน่ายทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศสว่ นไมด้ อกไม้ประดับอื่นๆ ได้ทาการผลิตเพื่อจาหน่ายในต่างประเทศบ้างเพียงเลก็ น้อย สว่ นมากจะจาหนา่ ยในระดบั ท้องถ่ินและระดบั ภูมิภาคซงึ่ จะนามาใชป้ ระโยชน์ ในการตกแต่งสถานท่ีทงั้ ภายในและภายนอกอาคาร (ศนู ย์สารสนเทศการเกษตร สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร, 2556) การผลิตและการจาหน่ายไมด้ อกไมป้ ระดับทีส่ านักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้เกบ็ รวบรวมข้อมลู การ ผลิต การจาหน่ายท้ังภายในประเทศและตา่ งประเทศ ไวใ้ ห้เกษตรกรผู้ที่มคี วามเกย่ี วข้องไดศ้ กึ ษาหาความรู้ และเปน็ แนวทางในการผลิตไมด้ อกไม้ประดบั ตอ่ ไป จงึ ได้จัดกลุ่มไม้ดอกไมป้ ระดับ ดังน้ี
3.1 ไมด้ อกเมอื งรอ้ น ได้แก่ 3.1.1 กลว้ ยไม้ สถานการณ์การปลกู กลว้ ยไมข้ องโลก ปี 2555 (ศูนยส์ ารสนเทศการเกษตร สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร, 2556) ในช่วง 5 ปีทผี่ ่านมา (2550-2554) ปริมาณ การส่งออกมแี นวโนม้ อตั ราเฉลยี่ เพ่ิมขน้ึ รอ้ ยละ 7.72 แตม่ ูลค่าการสง่ ออกมีอตั ราเฉล่ียลดลงร้อยละ 2.12 โดยมีประเทศ เนเธอรแ์ ลนด์ มมี ลู ค่าการสง่ ออกกล้วยไมม้ ากที่สุดเพ่ิมข้ึนอัตราร้อยละ 42.24 ส่วนการผลติ และการจาหน่าย กลว้ ยไมข้ องประเทศไทย ปี 2551-2555 เนื้อที่เกบ็ เกยี่ วและผลผลิตกลว้ ยไมล้ ดลง จาก 21,602 ไร่ และ 51,834 ตนั ในปี 2551 เป็น 18,550 ไร่ และ 44,580 ตัน ในปี 2555 หรอื ลดลง อัตรารอ้ ยละ 4.05 และ 3.88 ต่อปี ตามลาดับ สาเหตุมาจากการเกิดอุทกภยั ในช่วงปลายปี 2554 ทาใหพ้ ้ืนท่ีปลูกและผลผลติ กล้วยไม้บางสว่ นเกิดความเสยี หาย สง่ ผลให้แนวโน้มในภาพรวมลดลง สว่ นผลผลติ ต่อไร่เพ่ิมขึ้นเล็กน้อย จาก 2,400 กิโลกรมั ในปี 2551 เปน็ 2,403 กโิ ลกรัม ในปี 2555 หรอื เพิ่มขน้ึ อตั รารอ้ ยละ 0.16 ตอ่ ปี แหล่งปลกู กลว้ ยไมท้ ี่สาคญั 5 อนั ดบั แรก คอื กรงุ เทพมหานคร นนทบุรี นครปฐม ราชบุรี และ สมทุ รสาคร เนื่องจากมีพ้ืนที่เพาะปลกู สภาพอากาศที่เหมาะสม และใกล้ทะเล นอกจากน้ียงั มีการเพาะปลกู กลว้ ยไม้ในจังหวดั ใกล้เคยี ง ได้แก่ กาญจนบุรี ปทุมธานี สพุ รรณบุรี พระนครศรีอยุธยา และชลบรุ ี เน่ืองจาก สภาพภมู ิอากาศเหมาะแก่การเจริญเติบโตของกลว้ ยไม้ มีแหล่งนาทส่ี มบรู ณ์ และการคมนาคมขนส่งสะดวก ตน้ ทุนการผลิตตอ่ ไรก่ ลว้ ยไม้สกลุ หวายของเกษตรกร ปี 2553-2555 มแี นวโนม้ อตั ราเพิ่มข้ึนร้อยละ 7.63 ต่อปี จากไร่ละ 148,882.05 บาท ในปี 2553 เป็นไรล่ ะ 172,462.07 บาท ในปี2555 โดยตน้ ทนุ ผัน แปรอัตราเพิ่มขึ้นตอ่ ปรี อ้ ยละ 4.33 จากไรล่ ะ 100,986.36 บาท ในปี 2553 เปน็ ไรล่ ะ109,924.32 บาท ในปี 2555 และตน้ ทนุ คงที่อตั ราเพิ่มข้ึน ร้อยละ 14.27 ตอ่ ปจี ากไรล่ ะ 47,895.69 บาทใน ปี 2553 เปน็ ไรล่ ะ 62,537.75 บาท ในปี 2555 เน่ืองจากราคาปัจจัยการผลติ โดยเฉพาะค่าตน้ พนั ธุ์ วัสดุ อปุ กรณ์การปลูกและโรงเรอื นมีราคาเพ่ิมสงู ขน้ึ ทาใหต้ น้ ทนุ ตอ่ กิโลกรัมอตั ราเพิ่มขึ้นต่อปรี อ้ ยละ 8.03 จากกิโลกรมั ละ 61.50 ในปี 2553 เป็นกโิ ลกรัมละ 71.77 บาท ในปี 2555 (ศนู ย์สารสนเทศการเกษตร สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร, 2556) การตลาดของกลว้ ยไม้ทีม่ ีความตอ้ งการใชใ้ นประเทศ ปี 2551- 2555 (ศนู ย์สารสนเทศการเกษตร สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร , 2556) ความต้องการใช้ดอกกลว้ ยไม้ ภายในประเทศอตั ราลดลงร้อยละ3.02 ต่อปี โดยลดลงจากปรมิ าณ 26,683 ตนั ในปี 2551 เป็น 25,159 ตนั ในปี 2555 เน่ืองจากภาวะอทุ กภยั ทาให้สวนกล้วยไมเ้ สียหายจานวนมาก ผลผลิตจงึ ลดลง ทาให้ผลผลติ ที่ใชใ้ นประเทศลดลงด้วย ซ่ึงความต้องการใชใ้ นประเทศในช่วงระยะเวลา ดังกลา่ วมสี ัดส่วน รอ้ ยละ 46 ของผลผลิตท้ังหมด ส่วนที่เหลอื ร้อยละ 54 สง่ ออกตา่ งประเทศ ราคาที่เกษตรกรขายได้ ปี 2551-2555 ราคาดอกกลว้ ยไม้ (กา้ นชอ่ ยาว55-60 ซ.ม.) ทีเ่ กษตรกรขายได้อัตราเพ่ิมข้ึนร้อยละ 2.69 ต่อปี โดยเพ่ิมขึ้นจากช่อละ 4.53 บาท ในปี 2551 เป็นชอ่ ละ 5.29 บาทในปี 2555 เกษตรกรที่มีสวน กล้วยไม้สามารถต่อรองราคากบั ผู้ส่งออก ไดร้ าคาสงู ข้ึนกวา่ เดิม ราคาส่งออก ปี 2551-2555 ราคาส่งออก ดอกกล้วยไมเ้ พ่ิมขึ้นจากกิโลกรัมละ 95.86 บาท หรอื ช่อละ 2.90 บาท ในปี 2551 เปน็ กโิ ลกรมั ละ 105.35 บาท หรอื ช่อละ 3.19 บาท ในปี 2555 หรอื เพ่ิมข้ึนอัตราเฉลี่ยรอ้ ยละ 1.24 ต่อปี เนื่องจาก ผลผลิตในประเทศมีนอ้ ย แต่ความต้องการกลว้ ยไมไ้ ทย ในตลาดตา่ งประเทศยงั มีอยู่ต่อเนื่องทาใหร้ าคาขยับตัว สูงขนึ้ การสง่ ออก ปี 2551-2555 (ศนู ยส์ ารสนเทศการเกษตร สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร , 2556) ปริมาณและมลู ค่าการสง่ ออกดอกกลว้ ยไม้อตั ราลดลงเฉล่ีย รอ้ ยละ 5.02 และ 3.84 ตอ่ ปี ตามลาดับ
โดยลดลงจากปรมิ าณ 25,152 ตนั และมูลค่า 2,411 ลา้ นบาท ในปี 2551 เป็นปรมิ าณ 19,424 ตนั และมลู ค่า 2,046 ล้านบาทในปี 2555 เนื่องจากผลผลติ ในประเทศลดลงจากภาวะนา้ ทว่ มจงึ มปี ริมาณ เหลือส่งออกนอ้ ยลง ตลาดส่งออกหลักของไทย ได้แก่ ญ่ีปนุ่ สหรฐั อเมริกา สหภาพยุโรป สาธารณรฐั ประชาชน จีน เวยี ดนาม ลาว ประเทศกลมุ่ อาเซียนมอี ตั ราการขยายการ ส่งออกเพ่ิมข้นึ ท้งั ปริมาณและมูลคา่ เนื่องจาก การเปิดการคา้ เสรมี ากจงึ ทาให้มกี ารส่งออกกล้วยไมก้ าและไม้ตัดดอกไปขายยังประเทศเพื่อนบา้ น ท้ัง เมยี น มาร์ ลาว และกมั พูชา ส่วนประเทศญ่ีปนุ่ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป อัตราการขยายการ สง่ ออกทั้งปริมาณ และมูลค่า มแี นวโนม้ ลดลงอาจจะเปน็ เพราะว่าการเขม้ งวดเกี่ยวกบั มาตรการนาเขา้ ตอ้ ง ปลอดโรคและแมลง ในการนากลว้ ยไม้ไปขายในประเทศเหล่านี้ ไทยเป็นผู้ผลติ และผ้สู ง่ ออกดอกกลว้ ยไมเ้ ขตร้อนมาก เป็นอนั ดับ 1 ของโลก หากพจิ ารณาสัดส่วนการส่งออกสามารถแบ่งเป็นมูลค่าสง่ ออกดอกกลว้ ยไม้รอ้ ยละ 80.23 เป็น กล้วยไมส้ กลุ หวาย (Dendrobium) รองลงมาเป็น สกลุ มอ็ คคารา่ อะแรนดา้ อะแรนเธอรา อะแรคนสิ ออนซิ เดยี ม แวนดา้ และ ซิมบเิ ดียม เปน็ ต้น และส่วนทเี หลือ อีกรอ้ ยละ 19.77 เปน็ การส่งออกต้นกลว้ ยไม้ ซ่ึงสว่ น ใหญ่เปน็ พนั ธ์ุ ฟาแลนนอปซสิ (Phalaenopsis) และ ซิมบเิ ดียม (Cymbidium) ความนยิ มกล้วยไมข้ องไทย แบ่งออกเป็นตลาดเอเชีย ได้แก่ญ่ีป่นุ จนี และ อนิ เดีย โดยมีญ่ีปุน่ เป็นตลาดใหญท่ ี่สดุ มคี วามตอ้ งการดอก กล้วยไม้สีอ่อน ทรงกลม ช่อยาว ตลาดยโุ รป ไดแ้ ก่ อติ าลี และเนเธอรแ์ ลนด์ โดยมอี ิตาลีเป็นลูกคา้ ท่ีสาคญั มคี วามต้องการกลว้ ยไมส้ ขี าว และสีเขม้ ชอ่ ยาว ส่วนตลาดอ่ืนๆ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา และ ออสเตรเลยี สาหรบั ประเทศคแู่ ข่งของกล้วยไม้ไทย คอื มาเลเซียและ สงิ คโปร์ การนาเขา้ ประเทศไทยมีการนาเขา้ ดอกกลว้ ยไมท้ กุ ปใี นปรมิ าณและมูลค่าไม่มาก โดยในปี 2551-2555 (ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร, 2556) ปรมิ าณการนาเขา้ เฉล่ีย 5 ปอี ตั ราลดลงร้อยละ 5.61 โดยเปลี่ยนแปลงจาก 1.46 ตัน ในปี 2551 เปน็ 3.13 ตัน ในปี 2555 ส่วนมูลค่าเพิ่มขึ้นรอ้ ยละ 1.26 ตอ่ ปี โดยเพิ่มขน้ึ จาก 0.43 ล้าน บาท ในปี 2551 เปน็ 1.09 ลา้ นบาทในปี 2555 โดยนาเข้าจาก นิวซีแลนด์ เนเธอร์แลนด์ และไตห้ วนั ภาพท่ี 2.8 แหล่งผลิตกลว้ ยไมส้ ง่ ออก จงั หวัดราชบุรี 3.1.2 ดาวเรือง เปน็ พชื เศรษฐกิจในตลาดโลกมานานแล้วเน่ืองจากมกี ารวิจยั พบว่าในกลีบดอก ดาวเรือง สีส้มมีสารธรรมชาตกิ ลุ่มแคโรทีนอยด์ (Carotenoids) ทม่ี ีช่ือว่า แซนโทฟิล (Xanthophylls) สูงมาก และเป็นประโยชนต์ ่อเซลลร์ า่ งกายของคนและสตั ว์ การผลิตดาวเรอื งในประเทศไทยมที ั้งตัดดอกจาหน่ายและ การผลิตเพอ่ื อุตสาหกรรมแบบครบวงจร ปจั จุบนั มโี รงงานรบั ซื้อดอกดาวเรอื งเพ่ือนาไปอบแหง้ และสง่ ออกไป ประเทศอินเดียเพ่ือสกัดสารท่ีเป็นประโยชน์หลงั จากนั้นจึงส่งไปบรษิ ัทที่อเมริกา พ้ืนที่ปลูกดาวเรอื งเดด็ ดอก ประมาณ 9,500 ไร่ แหลง่ ผลิตดาวเรอื งอยใู่ นจงั หวัดกาญจนบรุ ี สพุ รรณบรุ ี ราชบุรี ปทุมธานี ศรีษะเกษ บรุ รี ัมย์ เชยี งใหม่ และสโุ ขทยั สาหรับการผลิตดาวเรืองเพื่ออุตสาหกรรมมีพื้นท่ีปลกู ประมาณ 18,500 ไร่ แหล่งผลิตที่สาคญั อยู่ใน เชยี งใหม่ เชียงราย ลาพูน ลาปาง แพร่ นา่ น ตาก กาแพงเพชร และ ปราจีนบุรี (ศนู ย์สารสนเทศ กรมสง่ เสริมการเกษตร, 2551) ภาพท่ี 2.9 แปลงดาวเรอื งตดั ดอกจาหน่าย 3.1.3 มะลิ เปน็ ไม้ดอกที่ผลิตได้ทงั้ ปนี ยิ มนามาใช้ประโยชน์ภายในประเทศ โดยนามารอ้ ยมาลัย ทาดอกไมแ้ ห้ง สกัดเป็นนา้ มนั หอมระเหย มบี างส่วนส่งออกไปนอกประเทศ ไดแ้ ก่ สงิ ค์โปร มาเลเซีย และ ญี่ป่นุ พื้นท่ีการผลติ ประมาณ 6,000 ไร่ อยใู่ นจังหวดั นครสวรรค์ นครปฐม นครราชสีมา ขอนแก่น ศรษี ะเกษ อดุ รธานี เพชรบรุ ี นครศรธี รรมราช และสงขลา (ศนู ยส์ ารสนเทศ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร, 2551)
ภาพที่ 2.10 แปลงมะลิเก็บดอกจาหน่าย 3.1.4 หน้าวัว เปน็ ดอกไมท้ ี่ตลาดตา่ งประเทศและตลาดภายในประเทศตอ้ งการ นอกจากการ ผลิตเพอื่ ตัดดอกแล้วยังผลิตเป็นไม้กระถางได้อีกด้วย ปจั จบุ นั มีการนาเขา้ พันธุ์หน้าววั จากต่างประเทศ ท่ีมสี สี นั และรูปรา่ งแปลกใหม่ มีความหลากหลาย หนา้ ววั เป็นพืชท่ีใชเ้ ทคโนโลยีการผลติ ท่ีทันสมัย จึงตอ้ งการลงทุนสูง หนา้ ววั มกี ารผลิตที่จงั หวัดเชียงใหม่ นครราชสมี า ชมุ พร สรุ าษฎร์ธานี เปน็ ตน้ (ศูนยส์ ารสนเทศ กรมส่งเสริม การเกษตร, 2551) ภาพที่ 2.11 หน้าวัวตัดดอกจาหนา่ ย 3.1.5 บวั หลวง เปน็ พืชที่ทุกสว่ นของตน้ สามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ดต้ ั้งแต่ ดอก ใบ ฝกั เมล็ด เหง้า และ ไหล มพี ื้นที่การผลติ ประมาณ 5,500 ไร่ ปลกู ได้ทกุ ภาคทวั่ ประเทศ แหลง่ ผลิตทีส่ าคัญ คอื นนทบรุ ี นครปฐม สพุ รรณบุรี อุบลราชธานี ขอนแกน่ พิจติ ร พะเยา นครสวรรค์ พิษณุโลก พัทลงุ สาหรับบัว หลวงตดั ดอกพันธุท์ นี่ ยิ มบรโิ ภคได้แก่ บวั หลวงสัตตบุษย์ และบวั หลวงสัตตบงกช ตลาดจาหนา่ ยบัวหลวงตัด ดอก ไดแ้ ก่ ปากคลองตลาด ตลาดไท ตลาดสมี มุ เมือง ตลาดองค์การตลาดเพื่อเกษตรกร และตลาดดอกไม้ใน ท้องถนิ่ (ศูนยส์ ารสนเทศ กรมสง่ เสริมการเกษตร, 2551) ภาพท่ี 2.12 แปลงปลกู บัวหลวงจาหนา่ ย 3.1.6 ธรรมรักษา ดาหลา ขิงแดง เปน็ ไมต้ ดั ดอกเมอื งรอ้ นท่ียังเป็นที่นิยมปลกู เน่ืองจากมีสีสัน สวยงาม รูปทรงแปลกตา และอายุการใชง้ านนาน มกี ารปลูกในจงั หวดั กาญจนบรุ ี ภเู ก็ต ปราจีนบุรี นนทบรุ ี นครปฐม (ศูนยส์ ารสนเทศ กรมสง่ เสริมการเกษตร, 2551) ตลาดนาเข้าธรรมรักษาได้แก่ ฮอ่ งกง จีน อิตาลี ฮอลแลนด์ และญ่ีปุ่น เปน็ ตน้ พันธข์ุ ิงแดงที่นิยมปลูก ไดแ้ ก่ ขงิ แดง ขิงชมพู ตลาดนาเข้าขงิ แดง ไดแ้ ก่ ประเทศ ในตะวันออกกลาง เชน่ สหรฐั อาหรับเอมิเรต บาห์เรน และซาอุดิอาระเบีย พนั ธ์ุดาหลาที่นยิ มปลูก ไดแ้ ก่ ดา หลาแดง ดาหลาชมพู ประเทศที่นาเข้าดาหลา ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ตรนิ ิแดดแอนด์โทบาโก เยอรมัน เป็นต้น สาหรบั การผลติ ดอกไม้เมอื งรอ้ นและดอกไมท้ ่ัวไป หวั ใจสาคญั คอื การรกั ษาคณุ ภาพ และการสรา้ งความ หลากหลาย ซึ่งหากท้ัง 2 อย่างน้ีดาเนนิ ไปไดด้ ้วยดีอนาคตไม้ตดั ดอกของไทยก็ไปได้อกี ไกล ภาพท่ี 2.13 แปลงปลกู ธรรมรกั ษา ภาพที่ 2.14 แปลงปลูกดาหลา ภาพที่ 2.15 แปลงปลกู ขิงแดง 3.1.7 ปทุมมา บอนสี วา่ นแสงอาทติ ย์ เป็นพนั ธ์ไุ ม้ท่ีส่งออกในรูปของ หัว หน่อ แขนง เหง้า ประเทศท่ีนาเข้าไมห้ ัวหลกั ๆ ได้แก่ เยอรมนั ญ่ีปุ่น สหรฐั อเมริกา ปทมุ มา ปลกู มาก ในจงั หวัดเชยี งใหม่ เชยี งราย โดยปลกู เพ่ือผลิตหัวพนั ธุ์เพ่ือส่งออกตา่ งประเทศ ได้แก่ ญ่ีปุ่น ยุโรป และอเมริกา บอนสี แหลง่ ผลิต หัวบอนสเี พ่ือการส่งออกอยทู่ ี่จังหวัดลาพนู เชยี งใหม่ มีการผลิตหวั เพ่ือการสง่ ออกมลู ค่าไมต่ ่ากวา่ 3 ล้านบาท (ศนู ย์สารสนเทศ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร, 2551) ภาพที่ 2.16 แปลงปลูกปทุมมา จงั หวดั ลาพูน ภาพที่ 2.17 แปลงปลกู บอนสี จงั หวดั เชียงใหม่ ภาพที่ 2.18 แปลงปลกู ว่านแสงอาทิตย์ จังหวัดเชียงใหม่
3.2. ไม้ดอกเมอื งหนาว 3.2.1 กุหลาบ มแี นวโน้มการผลิตลดลงในปี 2550 พ้ืนที่การผลิตประมาณ 6,600 ไร่ (ศนู ยส์ ารสนเทศ กรมสง่ เสริมการเกษตร, 2551) ซึ่งพื้นท่ีปลกู กหุ ลาบท่ีลดลงนั้น สว่ นใหญ่เปน็ พื้นทป่ี ลูก กุหลาบคุณภาพบนท่ีสูงแถบจงั หวดั เชียงใหม่ เชยี งราย ปลกู ภายใต้โรงเรอื นพลาสตกิ มกี ารดูแลอย่างท่ัวถงึ แต่ เมอ่ื ต้นทุนการผลติ สงู ข้ึน ประกอบกับมีการนาเขา้ กุหลาบคุณภาพดีจากจนี เขา้ มาซ่ึงมีราคาตา่ กว่าของไทย ทาใหเ้ กษตรกรบางรายไม่สามารถแข่งขันได้ จึงเลิกปลกู กหุ ลาบไป พื้นท่ีปลกู กหุ ลาบเกรดรองมาส่วนใหญ่อยูท่ ี่ อาเภอพบพระ จังหวดั ตาก ซึ่งปลกู กุหลาบกลางแจง้ เพ่ือจาหน่ายเชงิ ปริมาณแต่คุณภาพไม่สูงนกั และราคา ค่อนขา้ งตา่ สาหรับตลาดของกหุ ลาบ มีทั้งในประเทศและต่างประเทศ ปี 2550 มีการส่งออกกุหลาบ ปริมาณ 506 ตัน คดิ เป็นมลู คา่ ประมาณ 44.02 ล้านบาท ประเทศที่นาเขา้ กุหลาบจากไทยที่สาคัญ ได้แก่ ญ่ีปุน่ สหรฐั อเมรกิ า อิตาลี จนี และอื่นๆ อยา่ งไรกต็ าม ก็ยังมีการนาเขา้ กหุ ลาบเช่นกันปริมาณ 317 ตนั คิดเป็น มลู คา่ 12.21 ล้านบาท ส่วนใหญน่ าเข้าจากประเทศจีน ในปี 2552 (ศูนยส์ ารสนเทศการเกษตร สานกั งาน เศรษฐกิจการเกษตร,2556) มกี ารนาเขา้ กุหลาบจากจนี ทาใหส้ ง่ ผลกระทบต่อตลาดกหุ ลาบในประเทศไทย อยา่ งมาก โดยเฉพาะกหุ ลาบคุณภาพดีจากทางเชียงใหม่ เกษตรกรผู้ปลูกกุหลาบคุณภาพดีของไทย เดิมน้ัน สามารถแขง่ ขันกับกหุ ลาบนาเข้าจากเนเธอร์แลนดแ์ ละยุโรปได้ แต่การนาเข้ากุหลาบจากจีนทาให้เกษตรกร ต้องไปผลิตกุหลาบคุณภาพรองแทน เน่ืองจากกุหลาบจากจนี ทมี่ ีคุณภาพใกลเ้ คียงของไทยมีดอกใหญ่ ก้านยาว คุณภาพดแี ต่ราคาตา่ กว่า ดังน้ันการท่ีจะทาใหเ้ กษตรกรผปู้ ลูกกุหลาบคุณภาพดขี องไทยสามารถแขง่ ขันกับจนี ได้น้ัน เกษตรกรตอ้ งแข่งขันในเรื่องการปรบั ปรงุ สายพันธใ์ุ ห้ตรงกบั ความต้องการของตลาด ปรบั ปรุง ประสทิ ธภิ าพการผลติ โดยเฉพาะการลดตน้ ทุนการผลติ และพึ่งพาเทคโนโลยีที่ทันสมยั เพื่อให้สามารถแขง่ ขัน ไดใ้ นด้านราคา ภาพที่ 2.19 แปลงกหุ ลาบตัดดอก 3.2.2 เบญจมาศ เป็นไม้ดอกเมอื งหนาวอีกชนิดหนึ่งท่ีได้รบั ความนิยมจากผบู้ รโิ ภค เน่ืองจากมี อายกุ ารปกั แจกันนาน มีรูปทรงและสีสันที่หลากหลาย เกษตรกรสามารถปลกู เบญจมาศได้ตลอดทงั้ ปี โดยเฉพาะบนพื้นที่สูงในจังหวดั เชียงใหม่ และอาเภอวังนา้ เขียว จังหวดั นครราชสมี า นอกจากนี้ ทางภาคใต้ที่ จงั หวดั ยะลา แตต่ อ้ งปลกู ภายใตโ้ รงเรือนเพ่ือปอ้ งกันน้าฝน แตก่ ารผลิตเบญจมาศกม็ ีข้อจากดั ซ่งึ เกษตรกรจะ สามารถผลิตได้ปรมิ าณและคุณภาพดีในช่วงฤดูหนาว แม้ในบางพื้นท่ีจะสามารถผลติ เบญจมาศนอกฤดูได้ แต่ คณุ ภาพยงั ไม่ดีเท่าเบญจมาศในฤดู ทาให้ต้องมีการนาเขา้ เบญจมาศจากต่างประเทศเข้ามาอย่เู สมอ ในปี 2550 (ศนู ยส์ ารสนเทศ กรมส่งเสรมิ การเกษตร, 2551) มพี ื้นที่ปลูกเบญจมาศประมาณ 2,385 ไร่ ประเทศ นาเขา้ ท่ีสาคญั คอื ไต้หวนั พมา่ และมาเลเซยี ภาพที่ 2.20 แปลงเบญจมาศตัดดอก 3.3 ไมป้ ระดับ ไมป้ ระดับมมี ากมายหลากหลายชนิดเพ่อื ใหเ้ กดิ ความเปน็ หมวดหมู่ สามารถแยกเป็น กลมุ่ ๆ ซึ่งในท่ีนี้จะขอแยกเปน็ 4 กลมุ่ ใหญๆ่ ได้แก่ 3.3.1 กลุม่ ไมป้ ระดบั ยนื ตน้ หรอื ไมข้ ุดล้อม เชน่ ปาลม์ ประดบั ต่าง ๆ ไทร คูน โมก สน ตะแบก พญาสัตบรรณ ปบี ประดู่ ลีลาวดี ประยงค์ ชงโค อินทนิล แคแสด หางยกยงู ไผ่น้าเต้า ไผ่ เหลือง ไผเ่ ขียว ภาพท่ี 2.21 แปลงปาล์มฟอกซ์เทล
3.2.2 กลมุ่ ไม้กระถาง แบง่ ได้เป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) ไมใ้ บกระถาง เชน่ โกสน กวนอมิ คลา้ เฟิน แกว้ กาญจนา (อโกลนีมา) หมากผู้หมากเมยี สาวน้อยประแป้ง เขม็ สามสี บอนไซ บอนสี โฮย่า ล้ินมังกร 2) ไม้ดอกกระถาง เช่น ชวนชม โปย๊ เซยี น เขม็ หน้าววั ชบา เฟื่องฟา้ ยี่โถ ดาวเรอื ง พทิ ูเนยี บานชื่น แพงพวย สร้อยไก่ ภาพท่ี 2.22 ชวนชมไมด้ อกกระถาง 3.2.3 กลมุ่ ไม้ชาถงุ หรอื ไม้คลมุ ดิน เช่น ผกากรอง เทยี นทอง เข็มแคระ กาบหอยแครง ในดา้ น การผลติ ไม้ประดับเพ่ือการค้า ในปจั จบุ ันประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกไม้ประดบั ประมาณกวา่ 15,000 ไร่ (ศูนย์ สารสนเทศ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร, 2551) และคาดวา่ พื้นท่ีการผลติ เพ่ิมข้ึนในแต่ละปี ไมต่ า่ กวา่ ร้อยละ 3 เกษตรกรไทยเองมคี วามสามารถในการผลติ และพัฒนาปรับปรงุ พนั ธใุ์ หม่ๆ ซ่ึงบางชนดิ เปน็ ท่ียอมรับว่าเป็นที่ หนึ่งในระดับโลก เชน่ แกว้ กาญจนา(อโกลนมี า) หยก โป๊ยเซยี น นับวันไมป้ ระดับจะมีบทบาทสาคัญต่อ เศรษฐกิจของประเทศมากข้ึน โดยมแี นวโน้มการผลติ เพอื่ การส่งออกเพ่ิมมากขน้ึ โดยประเทศท่ีไทยส่งออกมาก 10 อนั ดบั แรก เรียงจากมากไปหานอ้ ย ไดแ้ ก่ ประเทศญ่ีปุน่ เนเธอรแ์ ลนด์ สหรัฐอเมรกิ า เกาหลใี ต้ ออสเตรเลยี ลาว อาฟริกาใต้ แคนาดา สงิ คโปร์ อาหรบั เอมเิ รตส์ ภาพท่ี 2.23 ผกากรองไม้คลมุ ดิน 3.2.4 ไมต้ ัดใบ เป็นไม้ประดบั ท่ีมรี ปู ร่างและสีสันสวยงาม สามารถตัดใบมาใชป้ ระดับหรอื ประดษิ ฐ์ตกแต่งในรูปแบบต่างๆ สมยั กอ่ นนาไม้ตดั ใบมาประดับตกแต่งกบั ดอกไม้สดในงานพิธีกรรมทางศาสนา แต่ในปัจจุบันร้านจาหน่ายดอกไมไ้ ดน้ าไมต้ ัดใบมาประดับตกแตง่ เป็นชอ่ ดอกไม้ในงานพิธีการมงคลต่างๆ ไม้ตดั ใบ ท่ีผลิตเพื่อจาหน่ายในประเทศไทยมีหลากหลายชนดิ มที ง้ั ชนดิ ท่ีปลูกกลางแจ้ง ไดแ้ ก่ หมากเหลือง เลบ็ ครฑุ ใบพุดยางอนิ เดยี ชนิดที่ปลกู กึ่งกลางแจ้ง ได้แก่ หมากผู้หมากเมีย ไผ่ฟิลปิ ปินส์ และชนดิ ท่ีปลกู ในร่ม หรือปลูก ภายในโรงเรอื น ไดแ้ ก่ ไม้ตดั ใบสกลุ ฟโิ ลเดนดรอน สกลุ แอนทเู รยี ม เตยหอม และเฟินต่างๆ การผลิตสว่ นใหญ่ ใช้บริโภคภายในประเทศ ใช้ร่วมกับดอกไมใ้ นการจัดตกแตง่ สถานที่ แจกนั ชอ่ ดอกไม้ ในโอกาสต่างๆ (อภชิ าติ และปรัชญา, 2555) ภาพที่ 2.24 หมากเหลอื งตดั ใบจาหนา่ ย สาหรับตลาดต่างประเทศ ปี 2550 (ศนู ย์สารสนเทศ กรมสง่ เสรมิ การเกษตร, 2551) มีการส่งออก ใบไม้ ก่ิงไมส้ ด (ตั้งแตเ่ ดอื นมกราคม -พฤศจิกายน 2550) ปรมิ าณ 823.1 ตนั มลู ค่า 30.88 ลา้ นบาท มูลค่าการส่งออกเพ่ิมข้ึนจากปที ี่ผ่านมาร้อยละ14.3 ประเทศผู้นาเขา้ ท่ีสาคญั ได้แก่ สหรัฐอเมริกา แคนาดา เนเธอร์แลนด์ สิงคโปร์ บัลกาเรยี และเยอรมนี ดา้ นการนาเขา้ ไทยนาเข้าใบไม้ ก่ิงไม้สด จากประเทศจีน ญ่ีปุน่ ลาว และเนเธอร์แลนด์ ชนดิ ไม้ตดั ใบท่ีมปี รมิ าณและมลู ค่าการส่งออกมากได้แก่ ใบหมากผหู้ มากเมีย ใบฟิ โลเดนดรอน เฟิน ใบเตยหอม ใบเล็บครุฑ ฯลฯ การใชไ้ มต้ ดั ใบในประเทศและการส่งออกมีแนวโนม้ เพิ่มขึ้นอีก สาหรับการผลิตเพ่ือการส่งออกผู้ผลิตควรเนน้ การผลติ ให้มคี ุณภาพมาตรฐาน และวางแผนการผลิต ให้ตรง ความต้องการของตลาด เพื่อจะสามารถรักษาตลาดให้ได้อย่างตอ่ เนืองและควรมีการพฒั นา ใหม้ พี ันธ์ุใหม่ๆ เพ่ือสร้างความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภค
สรุป การวเิ คราะหก์ ารตลาดของไม้ดอกไมป้ ระดับเปน็ การที่ผู้ผลิตจะต้องรแู้ ละศกึ ษา วิถกี ารตลาดของไม้ ดอกไมป้ ระดบั เพื่อท่ีจะนาการวเิ คราะหม์ าปรับเปลี่ยนวธิ แี ละกระบวนการผลิตไม้ดอกไม้ประดบั ใหเ้ หมาะสม กบั ความต้องการของตลาด ซ่ึงตลาดไมด้ อกไมป้ ระดับมีทง้ั ระดับท้องถน่ิ ที่ผผู้ ลิตจะผลติ ไม้ดอกไมป้ ระดบั ตาม ความต้องการของผู้บริโภค และความถนดั ความชานาญของผผู้ ลิตระดับภมู ภิ าคเปน็ แหล่งผลิตไม้ดอกไม้ ประดับอกี ระดับหนึ่ง ที่สามารถผลิตและจาหน่ายไมด้ อกไม้ประดบั จานวนมาก และเปน็ แหลง่ ทีผู้บริโภค แต่ละ ภาคแต่ละจงั หวัดรู้จัก เช่น แหล่งผลิตภาคเหนอื จังหวัดเชยี งใหม่ เชียงราย จะปลูกไมด้ อกไมป้ ระดบั เมอื ง หนาว ไดแ้ ก่ เบญจมาศ แอสเตอร์ สนมังกร ส่วนแหลง่ ผลิตในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือจะผลติ พันธุ์ไม้เกี่ยวกับ ใชป้ ระโยชน์ทางด้านตกแตง่ สวน แหลง่ ผลติ ภาคกลางและภาคตะวนั ออก จะมพี นั ธ์ไุ มห้ ลากหลาย ในการ นามาใช้ประโยชน์ เชน่ นามาตกแต่งสวนท้ังภายในและภายนอกอาคารและถือว่าเปน็ แหลง่ รวบรวมพันธไุ์ ม้ จากภมู ภิ าคอ่ืนๆ มาทาการจาหน่ายให้กบั นกั จดั สวนและผทู้ ี่ชืน่ ชม มีใจรกั ในการปลกู ไม้ดอกไมป้ ระดับตกแต่ง อาคารบ้านเรอื น แหล่งผลิตไมด้ อกไมป้ ระดบั ระดบั ภมู ิภาคน้ี ได้แก่ คลอง15 อาเภอองคร์ กั ษ์ จังหวัด นครนายก และเขตปริมณฑล จังหวัดปทุมธานี และจงั หวดั นนทบุรี ส่วนแหล่งผลติ ไมด้ อกไมป้ ระดับในภาคใต้ ส่วนมากจะเปน็ ไมป้ า่ ที่ตอ้ งการความชื้นสูง ซึ่งผู้ผลิตนามาขยายพนั ธุ์จาหน่าย เชน่ หมากแดง หมากงาชา้ ง และกล้วยไม้ป่าตา่ งๆ นอกจากน้ันแล้วการผลิตไม้ดอกไม้ประดบั ยังมแี หล่งใหญ่ที่ผลิตไม้ดอกไม้ประดบั สง่ ออก จาหนา่ ยยัง ตา่ งประเทศหรือนามาจาหนา่ ยในแหล่งภาคกลาง หรือให้ผู้บรโิ ภคมาจดั ซื้อถงึ แหล่งผลิต ไม้ดอกไม้ประดับท่ี ผลิตและจาหนา่ ยแบ่งเป็นกลุ่มดงั นี้ 1.ไม้ดอกเมืองร้อน ไดแ้ ก่ กล้วยไมซ้ งึ เป็นไมด้ อกท่ีสาคญั ในการสง่ ออกจาหนา่ ยในต่างประเทศ อย่ใู น อันดบั 2 ของโลก รองมาจากประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ กลว้ ยไม้เป็นสินคา้ สง่ ออก นารายได้เข้าสู่ประเทศปลี ะ หลายล้านบาท แหล่งผลติ กล้วยไม้ท่ีสาคัญไดแ้ ก่ กรงุ เทพมหานคร นครปฐม ราชบุรี สมุทรสาคร ส่วนประเทศ ทไ่ี ทยสง่ ออกกลว้ ยไม้มากท่ีสุดไดแ้ ก่ ประเทศญี่ปุ่น นอกจากนั้นยงั มไี มด้ อกท่ีผลิตใชใ้ นประเทศและส่งออกจาหนา่ ยตา่ งประเทศ ไดแ้ ก่ ดาวเรอื ง มะลิ หน้าวัว บวั หลวง ธรรมรกั ษา ดาหลาและขิงแดง 2. ไม้ดอกเมอื งหนาว เชน่ กหุ ลาบ เบญจมาศ เป็นไม้ดอกที่ผลิตและจาหน่ายทั้ง ภายในประเทศและ ตา่ งประเทศ แหล่งผลิตท่ีสาคัญ ไดแ้ ก่ จังหวัดเชยี งใหม่ จงั หวดั เชียงราย และอาเภอวังน้าเขียว จงั หวัด นครราชสีมา 3. ไม้ประดับ ไม้ประดับมมี ากมายหลายชนดิ ได้แก่ ไมป้ ระดับยืนตน้ ไมก้ ระถาง ไมช้ าถงุ ไม้คลุมดนิ และไม้ตัดใบ ซึ่งไม้ประดบั เหลา่ น้ี ผผู้ ลิตไดจ้ ดั จาหนา่ ยใหก้ บั นักจัดสวนนาไปตกแตง่ ทั้งสวนขนาดใหญ่ และ สวนขนาดเลก็ และประชาชนท่ัวไปท่ีมีใจรักและช่ืนชอบไม้ดอกไม้ประดบั ซึ่งนามาประดับอาคารบ้านเรือน นอกจากจะนาไมป้ ระดับมาใช้ภายในประเทศแลว้ ไม้ประดบั ยังเป็นสินค้าส่งออกจาหน่ายต่างประเทศนา รายได้เข้าสู่ประเทศไมน้ ้อยกว่าสนิ ค้าเกษตรอื่นๆ โดยเฉพาะไม้ตดั ใบมีปริมาณและมลู ค่าการสง่ ออกจานวน มากขนึ้ เร่ือยๆ
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: