Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทวีปเอเชีย

ทวีปเอเชีย

Published by 5915712008, 2020-07-21 22:06:23

Description: ทวีปเอเชีย

Search

Read the Text Version

ทวปี เอเชีย

ลกั ษณะทางกายภาพของทวปี เอเชีย รูปถ่ายนี *โดย ไมท่ ราบผ้เู ขียน ลขิ สทิ ธิ:ของ CC BY-NC



ลักษณะทางกายภาพของทวีปเอเชีย แโอศลลูินนตดเกะปยโ8ินงัห็สด์นอแมนูตทยดู่เีรเใู่กวซนน(ปีาียสยะซทก่ทวบีกี(มเน(ีอวาโีขงใยนล้ นสหใู่กตต่วาญติมดนเ้ สะ่ออใขวน้รยหอนั์-เู่ศญหเงอลูนน่ทอสยือ(ีสกเส์ตเุดสูตใน้รน)

ความใหญ่ของทวปี เอเชียส่งผลใหม้ ีปริมาณของส9ิงต่างๆทาง ธรรมชาติและวฒั นธรรมมากมาย หลากหลายชนิด โดยมีความเป็นท9ีสุด ในโลกหลายอยา่ งเช่น

ทาํ เลทต'ี *งั ทวปี เอเชียมีดินแดนติดกบั ทวปี ยโุ รปและทวปี แอฟริกา พิกดั ตามภูมิศาสตร์ คือ ละติจูด 11 องศาใต้ ถึงละติจูด 81 องศา 12 ลิปดา เหนือ และลองจิจูด 26 องศา 4 ลิปดา ตะวนั ออก ถึงลองจิจูด 169 องศา 40 ลิปดา ตะวนั ตก มีขนาดกวา้ ง 92 องศา 12 ลิปดา ละติจูด มีขนาดยาว 143 องศา 38 ลิปดา ลองจิจูด



ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ ท#รี าบสูงและทร,ี าบ ทะเลทราย • ทีQราบทีQเกิดจากการ ทบั ถม ของดินตะกอนจากแม่นTาํ • ทะเลทรายโกบี • ทQีราบระหวา่ งภูเขา • ทะเลทรายอาหรับ กล่มุ เกาะ เทือกเขาและทวิ เขา ยอดเขาเอเวอเรสต์ • เกาะกาลิมนั ตนั คาบสมุทร ชุมเขาปาร์มี (Pamir • คาบสมุทรอินโดจีน Knot) • คาบสมุทรอานาโตเลีย

ยอดเขาเอเวอเรสต์ บนเทือกเขาหิมาลยั เป็นยอดเขาที5สงู ท5ีสดุ โดยสงู จากระดบั นํา? ทะเลปานกลาง @,@B@ เมตร ยอดเขาเอเวอเรสตบ์ นเทือกเขาหิมาลยั

ทร'ี าบสูงและทรี' าบ ทวปี เอเชียมภี ูมปิ ระเทศทเ,ี ป็ นทร,ี าบขนาดใหญ่อยู่หลายพืนG ที, โดยมลี กั ษณะ ของทร,ี าบ 2 ประเภทคือ 1. ทร,ี าบทเี, กดิ จากการทบั ถมของดนิ ตะกอนจากแม่นําG ส่วนใหญ่อยู่แถบ ชายฝั,งทะเลเป็ นทร,ี าบปากแม่นําG 2. ทร,ี าบระหว่างภูเขา เป็ นแอ่งทร,ี าบทเ,ี กดิ จากการยุบหรือยกตวั ของแผ่นดนิ ส่วนใหญ่เป็ นทร,ี าบสูงอยู่ภายในทวปี

ทQีราบภายในทวปี เอเชียมกั อยใู่ นเขตแหง้ แลง้ จึงเหมาะแก่การเลTียงสตั ว์

ทQีราบริมชายฝQังทะเลและปากแม่นTาํ มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การทาํ เกษตรกรรม ที#ราบลุ่มแม่น.าํ โขง

ภูมิประเทศคาบสมุทร

ทวเี อเชียมพี ืน+ ทเ-ี ป็ นคาบสมุทรขนาดใหญ่และมคี วามสําคญั อยู่หลายแห่งได้แก่ คาบสมุทรอานาโตเลยี อยรู่ ะหวา่ งทะเลดาํ และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทะเลอีเจียนและ ทะเลมาร์มะรา เป็นที:ต<งั ของประเทศตุรกี

คาบสมุทรอาหรับ ชายฝั&งตะวนั ตกของคาบสมุทรอาหรับติดกบั ทะเล แดง ฝั&งตะวนั ออกเฉียงใตต้ ิดทะเลอาหรับ (ส่วนหน&ึงของ มหาสมุทรอินเดีย) ทางตะวนั ออกเฉียงเหนือติดอ่าว โอมาน และอ่าวเปอร์เซีย

คาบสม คาบสมุทรอินโดจีน เป็นส่วนทวปี เอเชียที9ยนื9 ลKาํ อยรู่ ะหวา่ งทะเล อนั ดามนั และทะเลจีนใต้ อยรู่ ะหวา่ งประเทศอินเดียและจีน จึงไดช้ ื9อวา่ คาบสมุทรอินโดจีน เป็นที9ตKงั ของประเทศ เมียนมา ไทย ลาว กมั พชู า เวยี ดนาม และมาเลเซีย คาบสมุทรเกาหลี เป็นคาบสมุทรท1ีอยรู่ ะหวา่ งทะเลเหลือง กบั ทะเลตะวนั ออกในมหาสมุทรแปซิฟิ ก

เมืองชิงต่าวต.งั อยทู่ างใตข้ อง คาบสมุทรชานตง

แผนท+ีเอเชียแสดงทะเลทรายสาํ คญั

ภูมปิ ระเทศทะเลทราย - ทะเลทรายของทวปี เอเชีย วางตวั จากคาบสมุทรอาหรับ ผา่ นที&ราบสูงอิหร่าน ปากีสสถาน อฟั กานิสถานเขา้ ไป ตอนกลางทวปี ในกลุ่มประเทศเอเชียกลาง จีน และ มองโกเลีย

แผนท+ีเอเชียแสดงทะเลทรายสาํ คญั

ทะเลทรายสําคญั ของทวปี เอเชีย ทะเลทรายโกบี วางตวั อยตู่ อนกลางทวปี เอเชียในเขต มองโกเลียและจีน ทะเลทรายทากลามากนั เป็นทะเลทรายที1อยใู่ นเเอ่งทาริม ระหวา่ งเทือกเขาเทียนชานทางเหนือและเทืออกเขาคุน หลุนชานทางใต้

ทะเลทรายสําคญั ของทวปี เอเชีย ทะเลทรายการากมุ - คีซิลคุม เป็นทะเลทรายอยทู่ าง ตะวนั ตกของทวปี เอเชียและทางตะวนั ออกของทะเลเเค สเปี ยน ทะเลทรายธาร์ เป็ นทะเลทรายอยู่ทางตะวนั ตกเฉียงเหนือ ของอนิ เดยี และทางตะวนั ออกเฉียงใต้ของปากสี ถาน

ทะเลทรายอาหรับ กรุงอาบูดาบี

ภูมปิ ระเทศกล่มุ เกาะ เน,ืองจากทวปี เอเชียมมี หาสมุทรใหญ่ล้อมรอบ อยู่ 3 ด้าน คือมหาสมุทร แปซิฟิ กทางตะวนั ออก มหาสมุทรอนิ เดยี วทางใต้ และมหาสมุทรอาร์กตกิ ทาง เหนือ เกาะมลั ดฟี ส์ในมหาสมุทรอนิ เดยี

ราชาอมั พตั เป็นหมู่เกาะทีQอยทู่ างตะวนั ตกเฉียงเหนือ ของเกาะปาปัว ประเทศอินโดนีเซีย

ลกั ษณะภูมิอากาศ ของทวปี เอเชีย ทวปี เอเชียมีพKืนท9ีตKงั แต่บริเวณเสน้ ศูนยส์ ูตรไปจนถึงขKวั โลกเหนือ จึงทาํ ใหม้ ีภูมิอากาศทุกรูปแบบ และแตกต่างกนั ตKงั แต่ร้อนแบบศูนยส์ ูตร ถึงหนาวเยน็ แบบขKวั โลก หรือ ฝนชุกแบบมรสุมจนถึงแหง้ แลง้ แบบ ทะเลทราย โดยขKึนต่อปัจจยั กาํ หนดภูมิอากาศ

ปัจจยั ทส,ี ่งผลต่อสภาพภูมอิ ากาศ ทต#ี &งั และขนาด ระยะใกล้-ไกลทะเล การวางตวั ของแนวเทือกเขาสูง • ก.นั ลมจากทะเล ทาํ ใหห้ ลงั • พ.ืนท#ีกวา้ งใหญ่ ทาํ ใหม้ ี • ยง#ิ ใกลท้ ะเลจะยงิ# ไดร้ ับ ภูมิอากาศครบทุกแบบ ความ ชุ่มช.ืนจากทะเล เทือกเขาเป็นเขตแหง้ แลง้ ความสูงจากระดบั นํา& ทะเล ระบบลมประจาํ กระแสนํา& ในมหาสมุทร ปานกลาง • ทาํ ใหพ้ .ืนที#น.นั มีอากาศ • ลมประจาํ • กระแสน.าํ อุ่นคุโรชิโว ตะวนั ออกเฉียงเหนือ • กระแสน.าํ เยน็ โอยาชิโอ หนาวเยน็ • ลมประจาํ ตะวนั ตกเฉียงใต้

ลกั ษณะภูมอิ ากาศของทวปี เอเชีย ภูมิอากาศแบบร้อน-ชTืน ภูมิอากาศแบบร้อน-ชTืน ภูมิอากาศแบบกQึง ตลอดปี (Af, Am) สลบั แลง้ (Aw) ทะเลทราย-ร้อนแหง้ แลง้ ภูมิอากาศแบบทะเลทราย- และอบอุ่นแหง้ แลง้ แหง้ แลง้ จดั ตลอดปี (BWh) (Bsk) ภูมิอากาศแบบกQึงร้อน-ฝน ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เร ชุก ฤดูหนาวไม่หนาวจดั เนียน-ค่อนขา้ งชTืนในฤดู ฤดูร้อนอบอุ่นถึงร้อน หนาว แลง้ และอบอุ่นถึง ร้อนในฤดูร้อน (Csa, (Cfa) Csb)

ภูมิอากาศแบบอบอุ่น-ฝน ภูมิอากาศแบบภาคพTืน ภูมิอากาศแบบภาคพTืน ตกมาก ไม่หนาวจดั ในฤดู ทวปี - ฝนตกมาก ทวปี - ฝนตกมาก เยน็ ใน หนาว และอบอุ่นในฤดู ฤดูร้อน และหนาวเยน็ ใน อบอุ่นในฤดูร้อน และ ร้อน (Cfb, Cfc) หนาวเยน็ ในฤดูหนาว ฤดูหนาว (Dfb) (Dwa) ภูมิอากาศแบบกQึงขTวั โลก-ฝนตก ภูมิอากาศแบบขTวั โลก-อากาศหนาว มาก ฤดูร้อนสTนั และหนาวจดั ใน จดั (ET) หรือแบบทุนดรา ฤดูหนาว (Dfc)



ลกั ษณะเด่นภูมอิ ากาศทวปี เอเชีย ความร้อนและความเยน็ จดั ~ ใจกลางทวปี แถบทะเลทราย ฤดูร้อน สูญเสียชีวติ คนมาก ~ ฤดูหนาว ความเยน็ จากเขตไซบีเรียแผล่ งไปทางใต้ ทาํ ใหแ้ ถบละติจูดกลางและ ต9าํ หนาวเยน็

แผนที+อุณหภูมิฤดูร้อน (กรกฎาคม) ของทวปี เอเชีย แผนที+อุณหภูมิฤดูหนาว (มกราคม) ของทวปี เอเชีย

ลมมรสุม - นาํ ความร้อนชEืนและความหนาวเยน็ ไปสู่ประเทศต่าง ๆ - ฤดูหนาว ลมมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือ - ฤดูร้อน ลมมรสุมตะวนั ตกเฉียงใตจ้ ะพดั จากทะเล สู่แผน่ ดิน - ลมมรสุมจะมีอิทธพลเหนือลมประจาํ ถ9ิน เช่น ลมบก ลมทะเล ลมคา้ เราจะรู้สึกร้อนชKืน ฝนตก และลมหนาวเยน็ และแหง้ ในช่วงมรสุม มากกวา่

แผนท+ีลมมรสุมในทวปี เอเชีย

ลมพายุ ~ มหาสมุทรแปซิฟิ กและอินเดียเป็นแหล่งกาํ เนิดลมพายขุ นาด ใหญ่เป็นลมประจาํ ปี มหาสมุทรแปซิฟิ กดา้ นตะวนั ออกของ ฟิ ลิปปิ นส์เป็นแหล่ง กาํ เนิดพายไุ ตฝ้ ่ นุ ~ มหาสมุทรอินเดีย มีการก่อตวั ของพายไุ ซโคลนในฤดูร้อนและ ฤดูฝน

แผนท&ีลมพายทุ วปี เอเชีย

ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิIงแวดล้อม พืชพรรณเขตภูเขาสูง พืชพรรณเขตทะเลทรายและกงึ, ทะเลทราย มอสส์ ไลเคน ตะบองเพชร อินทผลมั พืชพรรณเขตอบอ่นุ พชื พรรณเขตร้อนและมรสุม ทุ่งหญา้ ไมพ้ มุ่ ป่าดบิ ชืน* ป่าไม้ผลดั ใบเขตร้อน พืชพรรณเขตป่ าไทกา ชืน* ทงุ่ หญ้าสะวนั นา ป่ าสนเขตหนาว พืชพรรณเขตทุนดรา พืชพรรณเขตละตจิ ูดกลาง มอสส์ เมเปิ ล โอก๊ วอลนตั พืชพรรณเขต เมดเิ ตอร์เรเนียน ไมพ้ มุ่ เตTีย

แผนที&การกระจายของพืชพรรณธรรมชาตใิ นทวีปเอเชีย

พืชพรรณธรรมชาติในเขตร้อน-ช.ืนสลบั แลง้ ประเภทป่ าผลดั ใบ ชนิดป่ าเตง็ รัง (จงั หวดั กาญจนบุรี) ในภูมิประเทศเขตทะเลทราย จะพบตน้ ตะบองเพชร ซQึงทนต่อสภาพอากาศทQีแหง้ แลง้

ทรัพยากรดนิ เขตอากาศทุนดราและไทกา • ดินชTืน เพราะมีหิมะปกคลุม เขตแห้งแล้งและทส#ี ูง • ดินขาดความชTืน เขตอบอ่นุ • ดินมีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะสาํ หรับทาํ การเกษตร เขตร้อนชืGน • ฝนตกชกุ จงึ ชะล้างธาตอุ าหารในดนิ ออกไป

สภาพดินถูกชะลา้ งในเขตร้อนชJืน สูญเสียหนา้ ดินและธาตุอาหาร รวมถึงโครงสร้างดินถูกทาํ ลาย จึงไม่เหมาะต่อการเกษตร แต่อาจใชเ้ พ+ือการท่องเท+ียว (จงั หวดั แพร่ ประเทศไทย)

ทรัพยากรน*าํ ทวปี เอเชียมที รัพยากรนําA ทใBี ช้ใน การอปุ โภค - บริโภค การประกอบ อาชีพ การคมนาคมขนส่ง การผลติ กระแสไฟฟ้าจากพลงั นําA และการท่องเทยีB ว

แม่นํา4 ทะเล ฉางเจียง ทะเลสาบนEาํ จืด เช่น โตนเล ออ็ บ สาบ ทะเลสาบบิวะ หวางเหอ ทะเลสาบนEาํ เคม็ เช่น ทะเลเดดซี ทะเลสาบ โขง สงขลา สินธุ ยเู ฟรทีส

แผนท+ีแหล่งนJาํ ในทวปี เอเชีย

แม่นTาํ โขง บริเวณประเทศลาว

ทรัพยากรแร่ ถ่านหิน พบบริเวณจีนดา้ นตะวนั ออก อินเดียดา้ นตะวนั ออกเฉียงเหนือ หมู่เกาะญี#ป่ ุนและ เวยี ดนามตอนเหนือ นํา& มนั ดบิ และแก๊สธรรมชาติ พบในปริมาณที#สูงมากที#สุดบริเวณหน#ึงของโลก ท.งั บริเวณเอเชีย ตะวนั ตกเฉียงใต้ จีน และเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ แร่เหลก็ พบแร่เหลก็ บริเวณจีนดา้ นตะวนั ออกและตะวนั ออกเฉียงเหนือ และอินเดีย ตะวนั ออกเฉียงเหนือ แร่แมงกานีส พบบริเวณจีนตอนใตต้ ่อกบั เวยี ดนาม ท#ีราบสูงเดกกนั ในอินเดียและตุรกีดา้ น ตะวนั ออก แร่นิกเกลิ พบในคาซคั ตะวนั ตก จีนตอนเหนือและเกาะเซเลบีสของอินโดนีเซีย

แร่ทองแดง พบในคาซคั สถานตอนกลาง ชายฝQังตะวนั ออกของจีนและเกาะลูซอนของ ฟิ ลิปปิ นส์ แร่ตะกวั, พบในตะวนั ออกเฉียงเหนือของคาซคั สถาน จีนตอนใตแ้ ละชายฝัQง ตะวนั ออกเฉียงเหนือ และเกาหลีเหนือ แร่สังกะสี พบบริเวณชายฝัQงทะเลแคสเปี ยนในเขตอาเซอร์ไบจาน แร่ดบี ุก พบแหล่งดีบุกมากทีQสุดของโลกบริเวณเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตแ้ ถบอินโดนีเชีย มาเลเชียและภาคใตข้ องไทย แร่ทงั สเตน พบในเกาหลีใต้ จีนดา้ นตะวนั ออกและคาซคั สถานตอนกลาง แร่ทองคาํ พบในอุซเบกิสถาน และญีQป่ ุน แร่รัตนชาติ ไดแ้ ก่ เพชร ทบั ทิม และแซปไฟร์

แผนที+การกระจายของแหล่งแร่ในทวปี เอเชีย

ลกั ษณะทางประชากร เศรษฐกิจ สงั คม และวฒั นธรรม ลกั ษณะทางประชากร เศรษฐกจิ สังคม และ วฒั นธรรม • มีประชากรมากทQีสุดในโลก กวา่ 4,494 ลา้ นคน • โดยประเทศจีนมีประชากรมากทีQสุดกวา่ 1,386.8 ลา้ นคน • รองลงมา คือ ประเทศอินเดียกวา่ 1,352.6 ลา้ นคน

มองโกลอยด์ • ผวิ เหลือง ผมดาํ ตาเรียวเลก็ • อาศยั อยเู่ อเชียตะวนั ออก เอ•เชมียีจกาํลนาวงนเอมเาชกียทต&ีสะวุดนัในออทกวเปี ฉเียองเชใ•ตีย้ คอเคซอยด์ • ผวิ ขาว ผมดาํ รูปร่างสูงใหญ่ • อาศยั อยแู่ ถบเอเชียกลาง และเอเชียตะวนั ตกเฉียงใต้ นิกรอยด์ • ผวิ ดาํ ผมหยกิ รูปร่างเลก็ • อาศยั อยแู่ ถบเอเชียใต้ และหมู่เกาะในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook