Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Week10- Multimedia and Interactive

Week10- Multimedia and Interactive

Published by sendjobstd, 2017-10-28 00:00:19

Description: Week10- Multimedia and Interactive

Search

Read the Text Version

TEP508Education Information and Technology นวตั กรรม และเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา

คาถาม Interactive คืออะไร และมคี วามสาคญั กบั การเรยี นการสอนอยา่ งไร 15 นาที สาหรับการคดิ วเิ คราะห์

สื่อประสม และระบบปฏิสัมพนั ธ์Multimedia and Interactive

ความหมาย

Multi Multimedia ความหมายหลายๆ อยา่ งผสมรวมกนั Media สื่อ ขา่ วสาร ช่องทางการติดตอ่ ส่อื สารการใช้คอมพิวเตอร์เพือ่ แสดง และนาเสนอในรปู ขอ้ ความ รูปภาพ เสยี ง วีดที ศั น์ โดยเช่ือมโยงกบั อปุ กรณ์ตา่ งๆ ที่ใช้เพื่อการท่องไปในเนอื้ เร่อื ง การมปี ฏิสมั พันธ์ การสรา้ ง และการสอ่ื สาร

องคป์ ระกอบของส่อื ประสม

• Normal Text องคป์ ระกอบของสอื่ ประสม• Hypertext TEXT • Music SOUND • MIDIVIDEO ANIMATION MultimediaHYPERLINK • Bitmap • Vector GRAPHICS • Clipart • Digital Camera

เทคโนโลยีส่อื ประสม

เทคโนโลยสี ่ือประสมAudio TechnologyImage TechnologyText TechnologyAnimation & 3D Technology Authoring System Technology Publishing Technology

เทคโนโลยสี ่อื ประสมBroadcasting & Conference TechnologyStorage Technology

ส่อื ประสมในการศกึ ษา

สือ่ ประสมในการศกึ ษาสื่อประสมในการศกึ ษาช่วยเพิ่มประสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ลในการเรยี นการสอนสถานการณล์ าลอง เกม การทบทวน สถานการณ์จาลองของการผา่ ตดั โดยใชส้ ื่อประสม ดา้ นวิศวกรรมศาสตร์ใชส้ ือ่ ประสมของการออกแบบวงจรไฟฟา้

สื่อประสมในการศึกษาดึงดูดความสนใจการสบื ค้นเชือ่ มโยงฉบั ไวการโต้ตอบระหวา่ งสื่อ กับผ้เู รียนใหส้ ารสนเทศหลากหลายทดสอบความเขา้ ใจสนบั สนนุ ความคดิ รวบยอด

แอนิเมชนั

แอนเิ มชนัANIMATION การสรา้ งภาพเคลอื่ นไหว ดว้ ยการนาภาพนง่ิ มาเรียงลาดบั กัน และแสดงผลอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ทาใหด้ วงตาเห็นภาพที่มกี ารเคลอื่ นไหวในลักษณะภาพตดิ ตา (Persistence of Vision)เม่ือตามนษุ ยม์ องเหน็ ภาพทฉี่ ายอย่างตอ่ เน่อื ง เรตนิ าจะรักษาภาพนไี้ วใ้ นระยะสน้ั ๆประมาณ 1/3 วนิ าที หากมภี าพอื่นแทรกเขา้ มาในระยะเวลาดังกลา่ ว สมองของมนุษย์จะเชอื่ มโยงภาพท้ังสองเขา้ ด้วยกันทาใหเ้ หน็ เปน็ ภาพเคลอ่ื นไหวทม่ี ีความต่อเนอื่ งกนัแม้ว่าแอนเิ มชนั จะใชห้ ลักการเดียวกบั วดี ิโอ

แอนิเมชันANIMATION

ชนดิ ของแอนเิ มชันDRAW ANIMATIONคือ แอนิเมชันที่เกิดจากการวาดภาพหลายๆ พันภาพ แต่การฉายภาพเหล่าน้ันผ่านกล้องอาจใชเ้ วลาไม่ก่ีนาที

ชนดิ ของแอนเิ มชนัSTOP MOTIONคือ การสร้างภาพเคล่ือนไหวโดยการฉายภาพนิ่งหลายๆ ภาพต่อเนื่องกันด้วยความเร็วสูงใช้เทคนิคการถ่ายภาพหรือวาดรูป หรือรูปถ่ายแต่ละขณะของหุ่นจาลองท่ีค่อย ๆ ขยับจะเรียกว่า ภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลือ่ นท่ีหยุด หรอื การวางเรียงส่ิงของแล้วนาเสนอออกมาเปน็ เรอ่ื งราวของภาพเคลอื่ นไหว

ชนิดของแอนเิ มชันCOMPUTER ANIMATIONคือ การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์โดยอาศัยเคร่ืองมือที่สร้างจากแนวคิดทางคอมพิวเตอรก์ ราฟิกช่วยในการสรา้ ง ดดั แปลง ให้แสง และเงา ตลอดจนการประมวลผลการเคลือ่ นทตี่ า่ ง ๆ

ขั้นตอนการผลติ งานแอนิเมชนัโดยจะเปรยี บเทียบการการออกแบบสือ่ การเรียนการสอน

STARTING ข้ันตอนการผลิตงานแอนเิ มชันIDEA / Inspiration การทเ่ี ราจะสรา้ งสรรคง์ านแอนเิ มชนั ได้ ต้องเรมิ่ จากไอเดีย หรือแรงบนั ดาลใจกอ่ น เชน่ เดียวกบั การทาบทเรียนออนไลน์ | สอื่ การสอน ครู หรือนกั การศกึ ษา จะต้องมไี อเดีย หรือแรงบนั ดาลใจในการออกแบบ

 ข้ันตอนการผลติ งานแอนิเมชนั STORY โครงเรอื่ ง จะประกอบไปดว้ ยการเลา่ เรื่องทบ่ี อกถงึ เนอื้ หา เร่อื งราวทกุ อย่างในภาพยนตรท์ ง้ั ตวั ละคร ลาดบั เหตกุ ารณ์ ฉาก แนวคิด ความนา่ สนใจนส้ี ามารถทาใหผ้ ชู้ มรสู้ ึก ประทับใจ จนสามารถระลึกในความทรงจา เช่นเดยี วกับการทาบทเรียนออนไลน์ | ส่ือการสอน ครู หรอื นกั การศกึ ษา จะตอ้ งวางโครงเร่ืองเนือ้ หาการเรยี นการสอน ให้มีความ นา่ สนใจ ทาให้ผ้เู รียนประทับใจ และสามารถจดจาเนือ้ หาได้

 ขนั้ ตอนการผลติ งานแอนเิ มชัน SCRIPT จับใจความสาคญั ของเนื้อเร่อื งใหอ้ อกมาในแตล่ ะฉาก กาหนดมมุ กลอ้ ง เทคนิค การเคลื่อนไหว เสียงดนตรี ตัวละคร… เชน่ เดยี วกบั การทาบทเรยี นออนไลน์ | สื่อการสอน ครู หรอื นักการศึกษา จะต้องแสดงใจความสาคญั ของเนอ้ื หาบนสอ่ื การสอน ทจ่ี ะทาการถ่ายทอดใหก้ ับผเู้ รียนให้ได้

 ขัน้ ตอนการผลิตงานแอนเิ มชนั STORY BOARD เปน็ การใชภ้ าพในการเล่าเรื่องใหไ้ ดค้ รบถ้วน ท้งั เหตุการณ์ ท่ี เกดิ ข้นึ อารมณ์ในเหตกุ ารณ์นัน้ ๆ สีหนา้ ทา่ ทาง ลกั ษณะ ต่างๆ ของตัวละคร บอกถงึ สถานที่ และมุมมองของภาพ เชน่ เดยี วกับการทาบทเรียนออนไลน์ | ส่ือการสอน ครู หรอื นกั การศึกษา จะตอ้ งมกี ารลาดบั เน้อื หาการเรียนการสอน กิจกรรมตา่ งๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง องค์ประกอบของการเรยี นในแต่ละคร้ัง

 ข้ันตอนการผลติ งานแอนเิ มชนั เปน็ ข้ันตอนของการอดั เสียง ในกระบวนการของการทางานแอนิเมชัน Narration | Dialogue | Sound Effect | Music เช่นเดยี วกับการทาบทเรียนออนไลน์ | ส่อื การสอนSOUND RECORDING ครู หรือนกั การศึกษา จะตอ้ งมบี ทพดู มีการใช้นา้ เสยี ง ดนตรีมาประกอบการ ออกแบบส่ือการเรยี นการสอน

 ขัน้ ตอนการผลิตงานแอนเิ มชนั CHECKING เปน็ ขั้นตอนของการตรวจสอบความเรียบรอ้ ย ในการสรา้ งงานแอนิเมชัน เชน่ เดยี วกับการทาบทเรยี นออนไลน์ | สอื่ การสอน ครู หรอื นกั การศึกษา จะตอ้ งมกี ารตรวจสอบคามถูกต้อง ไม่ว่าจะเป็นเนือ้ หา ใจความสาคัญ คาถูกผิด และอาจนาไปทดลองใชก้ ่อน

 ขั้นตอนการผลิตงานแอนเิ มชนั REFINING เป็นข้ันตอนของการปรบั แตง่ ช้ินงาน หลังจากนาไปใช้งานแล้ว ก็จะตอ้ งปรบั ปรงุ ใหม้ ีคณุ ภาพดยี ่งิ ๆ ข้นึ เชน่ เดียวกับการทาบทเรียนออนไลน์ | ส่อื การสอน ครู หรอื นกั การศึกษา จะตอ้ งทาการปรับปรงุ เนอ้ื หา ใจความสาคัญใหม้ ีความ ทนั สมยั อยตู่ ลอดเวลา รวมถึงองคป์ ระกอบต่างๆ ท่ีอยู่ใน ส่ือการเรยี นการสอนด้วย

การเคล่อื นไหวของภาพ

 การเคล่ือนไหวของภาพFrame by Frame การกาหนดการเปล่ยี นแปลงของวตั ถุ ทแี่ ตกต่างกนั ในทุกๆ เฟรม เหมาะสาหรับการสรา้ งภาพเคลื่อนไหวทีม่ คี วามซบั ซ้อนมากๆ แต่ขอ้ เสีย คอื ไฟล์ภาพจะมีขนาดใหญ่

 การเคล่อื นไหวของภาพ Tween เปน็ การสรา้ งภาพเคล่ือนไหวจากเฟรมเร่มิ ต้น และ เฟรมสุดท้าย ซ่ึงโปรแกรมจะสรา้ งการเปลยี่ นแปลง ระหว่างเฟรมใหโ้ ดยอตั โนมัติ Motion Tween | Shape Tween

 การเคล่อื นไหวของภาพ Technic เปน็ การประยุกต์ใชจ้ ากการเคล่ือนไหวในแบบ Motion Tween และ Shape Tween Mask Layer | Motion Guide | …

ปฏสิ มั พนั ธ์ และการเรียนรู้

ปฏสิ มั พนั ธ์ และการเรียนรู้INTERACTIVEปฏิสัมพันธ์ คือ การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในกลุ่ม ในการจัดการเรียนการสอน นิยมสร้างความสัมพันธ์ในห้องเรียนด้วยการให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียน กิจกรรมประเภทต่าง ๆ ที่จะให้ผู้เรียนมีสว่ นร่วมในการเรยี นการสอน

ปฏสิ มั พนั ธ์ และการเรียนรู้INTERACTIVEแต่ในบรบิ ทของ e-Learning หมายถงึการโต้ตอบ และให้แรงเสรมิFeedback and Reinforcement กบั การกระทาของผเู้ รยี น

ปฏิสัมพันธ์ และการเรียนรู้INTERACTIVEการที่จะทาให้ผูเ้ รยี นมีแรงจูงใจในการเรยี นได้มากน้อยเพียงใดขึน้ อยกู่ บั … การออกแบบโปรแกรมการโตต้ อบ และให้แรงเสรมิ กบั การกระทาของผเู้ รยี น เอาไว้แบบไหนและอย่างไรปจั จัยสาคัญที่สุดในการกระตนุ้ ให้เกดิ แรงจูงใจของผ้เู รียน

ปฏสิ ัมพันธ์ และการเรียนรู้INTERACTIVEดว้ ยเหตนุ ีใ้ นการสร้างระบบการเรยี นจึงมคี วามจาเปน็ ท่จี ะตอ้ งคดิ ดว้ ยวา่ …การโต้ตอบ และให้แรงเสรมิFeedback and Reinforcement กบั การกระทาของผเู้ รียน เป็นอย่างไร จึงจะทาให้ระบบการเรยี นนั้นมปี ระสทิ ธิภาพสูงซึ่งเป็นความสาคญั ของการออกแบบสื่อการสอนในบริบทของห้องเรียน

ปฏิสัมพันธ์ และการเรยี นรู้Garry and Kingsley, 1959ลกั ษณะของการเรียนร้มู ี 3 ประการ คอื 1. การเรียนรู้เกิดขน้ึ ได้ เพราะมวี ตั ถุประสงค์ หรอื แรงจูงใจ 2. การเรียนรเู้ กิดจากการพยายามตอบสนองหลายรูปแบบ เพอ่ื บรรลถุ งึ เปา้ หมายคือ การแก้ปัญหา 3. การตอบสนองจะต้องกระทาจนเปน็ นิสัย ดังนั้นจะเห็นไดว้ ่าการออกแบบส่ือการเรยี นรู้ จะตอ้ งมแี รงจูงใจ และมกี ารโตต้ อบได้หลากหลาย

ปฏสิ ัมพนั ธ์ และการเรยี นร้ใู นส่อื คอมพวิ เตอร์

ปฏสิ ัมพันธ์ และการเรยี นรู้ในส่อื คอมพวิ เตอร์ การท่ีจะศึกษาเกี่ยวกับปฏิสัมพันธ์ และการเรียนรู้ในส่ือคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนั้น จะต้องทราบเก่ยี วกบั คณุ ลักษณะของส่ือคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน ประกอบด้วยคุณลกั ษณะ 4 ประการ คอืInformation : สารสนเทศ หมายถึง เนื้อหาสาระ (content) ที่ได้รับการเรียบเรียงแล้วเป็นอย่างดี ซึ่งทาให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ หรือได้รับทักษะอย่างหน่ึงอย่างใด ตามท่ีผู้สร้างได้กาหนด วัตถปุ ระสงค์ไว้ โดยอาจจะนาเสนอเนอ้ื หาในลกั ษณะทางตรง หรอื ทางอ้อมกไ็ ด้

ปฏิสมั พนั ธ์ และการเรยี นร้ใู นสือ่ คอมพวิ เตอร์Individual : ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล คือ การตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลทั้งจากบุคลิกภาพ สติปัญญา ความสนใจ พื้นฐานความรู้ คือลักษณะสาคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน โดยผู้เรียนจะมี อสิ ระในการควบคุมการเรียนของตนเอง รวมทั้งการเลือกรูปแบบการเรียนท่ีเหมาะสมกับ ตนได้ เช่น สามารถควบคุมเนื้อหา ควบคุมลาดับของการเรียน ควบคุมการฝึกปฏิบัติหรือ การทดสอบ เปน็ ต้น

ปฏิสมั พนั ธ์ และการเรียนร้ใู นสือ่ คอมพวิ เตอร์Interaction : การโตต้ อบ เน่ืองจากผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน หากได้มีการ โต้ตอบ หรือปฏิสัมพันธ์กับผู้สอน ดังน้ันคอมพิวเตอร์ช่วยสอนท่ีออกแบบมาอย่างดี จะตอ้ งเอื้ออานวยใหเ้ กดิ การโต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ช่วยสอนอย่างต่อเนื่อง และตลอดทง้ั บทเรียน

ปฏสิ ัมพนั ธ์ และการเรียนร้ใู นสือ่ คอมพิวเตอร์Interaction : การโต้ตอบ (ตอ่ ) การอนุญาตให้ผู้เรียนเพียงแต่คลิกเปล่ียนหน้าจอไปเร่ือย ๆ ทีละหน้า ไม่ถือว่าเป็น ปฏิสัมพันธ์ที่เพียงพอสาหรับการเรียนรู้ แต่ต้องมีการให้ผู้เรียนได้ใช้เวลาในส่วนของ การสร้างความคิด วเิ คราะห์ และสร้างสรรค์เพอ่ื ให้ได้มาซ่งึ กิจกรรมการเรยี นนนั้ ๆ

ปฏิสมั พันธ์ และการเรยี นร้ใู นส่ือคอมพิวเตอร์Feedback : ผลปอ้ นกลบั โดยทันที เป็นการประเมินความเข้าใจของผู้เรียนไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบของการทดสอบ แบบฝกึ หัด หรือการตรวจสอบความเข้าใจในรปู แบบใดรูปแบบหน่งึ

ปฏสิ ัมพันธ์ และการเรยี นรู้ในสอ่ื คอมพวิ เตอร์บทเรยี นทด่ี ีควรมปี ฏสิ มั พันธ์กบั ผเู้ รียนให้มากที่สดุ เพราะการเรียนจากคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนควรมีประสทิ ธิภาพมากกวา่ เรียนจากหนังสือ เพราะสามารถสื่อสารกบั ผู้เรียนได้ 2 ทาง Two Way Communication

การเรยี นร้ขู องมนุษยน์ น้ั ใชเ่ พียงแต่การสงั เกตแต่รวมไปถึงการปฏิบัติดว้ ย… การมีปฏสิ มั พันธไ์ ม่เพียงแตส่ รา้ งความสนใจไดเ้ ทา่ นั้น แตย่ ังชว่ ยใหเ้ กดิ ความรู้ทกั ษะใหม่ใหผ้ ้เู รียน

คอมพิวเตอร์มคี วามสามารถในการสร้างการโตต้ อบ

อย่างไรก็ตาม… แมว้ ่าจะมกี ารเนน้ ความสาคญั ในสว่ นของปฏสิ มั พนั ธ์มาก พบวา่ สื่อคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนมากมายทผี่ ลิตออกมานัน้จะมีปฏสิ ัมพนั ธ์ภายในบทเรยี นนอ้ ยทาใหเ้ กดิ บทเรียนทนี่ า่ เบ่อื หนา่ ยการทจี่ ะออกแบบบทเรียนอย่างสมา่ เสมอและมีปฏสิ ัมพนั ธ์น้ัน จะต้องเก่ยี วขอ้ งกบั เนือ้ หา และเอื้ออานวยต่อ การเรียนร้ขู องผู้เรียน (ถนอมพร, 2541)

ดังน้นั การนาลักษณะปฏสิ ัมพันธ์ที่ดี มาใชใ้ นการออกแบบ ส่ือคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนจงึ นับเป็นความสาคัญ และชว่ ยส่งเสรมิ ให้เกดิ การเรยี นรู้ ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ของบทเรียนน้นั

EXERCISE1. อะไรคอื จุดเริม่ ต้นของการสร้างงานแอนเิ มชนั2. Story Board เปรียบไดก้ บั อะไรในการออกแบบส่อื การเรียนการสอน3. ลักษณะการเคลอ่ื นไหวในแบบ Tween มีลักษณะเป็นอย่างไร4. ลกั ษณะการสื่อสารแบบ Two way Communication มคี วามสัมพันธ์ อย่างไรกบั การออกแบบส่ือการเรียนการสอน5. ท่านคิดว่าการออกแบบสอ่ื การเรียนการสอนให้มปี ฏิสมั พนั ธน์ น้ั ชว่ ยส่งเสริม ประสิทธภิ าพในการเรยี นการสอนหรือไม่ อยา่ งไร