Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore skinner

skinner

Published by Pornpimon Wongwan, 2021-06-30 11:54:21

Description: skinner

Search

Read the Text Version

ทฤษฎกี ารวางเงอื่ นไขแบบการกระทาํ (Operant Conditioning) ของสกนิ เนอร(์ Skinner)

ประวตั ิ Burrhus Frederic Skinner o บ.ี เอฟ.สกนิ เนอร ์ เกดิ เมอื่ วนั ที่ 20 มนี าคม ค.ศ. 1904 ทมี่ ลรฐั เพนซลิ เวเนีย สหรฐั อเมรกิ า o จบปรญิ ญาตรที างวรรณคดใี นองั กฤษ o ปรญิ ญาโทและเอกสาขาจติ วทิ ยา ณ มหาวทิ ยาลยั ฮารด์ เวริ ด์ o สรา้ งกลอ่ งสกนิ เนอร ์(Skinner Box)

Skinner box ? ในชว่ งเวลาทฮี่ ารว์ ารด์ สกนิ เนอรเ์รมิ่ ใหค้ วามสนใจในการศกึ ษาพฤตกิ รรม ของมนุษยใ์ นเชงิ วตั ถุ เขาพฒั นาสงิ่ ทเี่ ขาเรยี กวา่ เครอื่ งปรบั อากาศซงึ่ ตอ่ มากลายเป็ น ทรี่ จู ้ กั ในชอื่ \" Skinner box \" อปุ กรณน์ ีเ้ ป็ นหอ้ งทมี่ แี ถบหรอื กญุ แจทสี่ ตั วส์ ามารถกดเพอื่ รบั อาหารนํา้ หรอื รปู แบบอนื่ ๆ ของการ เสรมิ แรง

การทดลองของสกนิ เนอร ์ ขน้ั ที่ 1 ทําใหห้ นูหวิ ขนึ้ มากๆ สรา้ งแรงขบั ใหเ้ กดิ ขนึ้ ซงึ่ จะเป็ นแนว ทางการทจี่ ะผลกั ดนั ใหแ้ สดงพฤตกิ รรมทดี่ ขี นึ้ ขน้ั ที่ 2 เมอื่ หนูหวิ มาก สกนิ เนอรป์ ล่อยหนูเขา้ กล่อง Skinner BOX ใหห้ นูวงิ่ เปะปะ หนูอาจจะกดโดนคาน และเจอขนมทซี่ อ่ น ขนั้ ที่ 3 เมอื่ สกนิ เนอรจ์ บั หนูลงกลอ่ งอกี ครง้ั หนูจะกดคานทนั ที หนูเกดิ การเรยี นรู ้ แลว้ วา่ ถา้ กดคานจะไกก้ นิ อาหาร

เปรยี บเทยี บแบบแผนการวางเงอื่ นไขแบบลงมอื ทาํ การเสรมิ แรงทางบวก 3 การลงโทษ การเสรมิ แรงทางลบ หนูกดคาน พฤตกิ รรม หนูกดคาน 2 ไดร้ บั สงิ่ เรา้ ทไี่ ม่พงึ พอใจ ผลทตี่ ามมา 1 หนูกดคาน การกดคานลดลง ไดร้ บั อาหารเป็ นรางวลั ผลตอ่ พฤตกิ รรม การกดคานเพมิ่ ขนึ้ พน้ จากสงิ่ เรา้ ทไี่ ม่พงึ พอใจ การกดคานเพมิ่ ขนึ้ QUI BLANDITIIS QUI BLANDITIIS

ทฤษฎกี ารวางงอื่ นไข/ทฤษฎกี ารเสรมิ แรง (S-R Theory หรอื Operant Conditioning) สกนิ เนอรก์ ลา่ ววา่ ปฏกิ ิรยิ าตอบสนองหนึ่ง อาจไม่ใชเ่ นื่องมาจากสงิ่ เรา้ สงิ่ เดยี วสงิ่ เรา้ นั้นๆ ก็คงจะทาํ ใหเ้ กดิ การตอบสนองเชน่ เดยี วกนั ไดถ้ า้ ไดม้ กี ารวางเงอื่ นไขทถี่ กู ตอ้ ง การเสรมิ แรง (Reinforcement) หมายถงึ สงิ่ เรา้ ใดทที่ าํ ใหพ้ ฤตกิ รรมการเรยี นรเู ้ กดิ ขนึ้ แลว้ มแี นวโนม้ จะเกดิ ขนึ้ อกี มคี วามคงทนถาวร ในการทดลอง Skinner ตวั เสรมิ แรง แบ่งออกเป็ น 2 ลกั ษณะคอื 1. ตวั เสรมิ แรงทางบวก (Positive Reinforcement) ควรใหภ้ ายหลงั จาก มพี ฤตกิ รรมเกดิ ขนึ้ และ ใหก้ ารเสรมิ แรงทนั ทแี ละควรเลอื กการเสรมิ แรงใหเ้ หมาะสมกบั ความตอ้ งการของแตล่ ะบคุ คลดว้ ย คาํ ชมเชย รางวลั อาหาร

ทฤษฎกี ารวางงอื่ นไข/ทฤษฎกี ารเสรมิ แรง (S-R Theory หรอื Operant Conditioning) 2. ตวั เสรมิ แรงทางลบ (Negasitive Reinforcement) เสยี งดงั คาํ ตาํ หนิ อากาศรอ้ น กลนิ่ เหม็น *** การลงโทษ (Punishment) กบั การเสรมิ แรงทางลบ มลี กั ษณะทคี่ ลา้ ยคลงึ กนั และมกั จะใชแ้ ทนกนั อย่เู สมอ ***แต่ การลงโทษและการเสรมิ แรงทางลบต่างกนั โดยเนน้ วา่ การลงโทษเป็ นการระงบั หรอื หยุดยงั้ พฤตกิ รรม

ทางบวก ครใู หด้ าวกบั นักเรยี นทที่ าํ งารบา้ น พนักงานทมี่ ผี ลงานดจี ะไดโ้ บนัส นักกฬี ายมิ นาสตกิ ทเี่ ลน่ ทา่ ยากจะไดค้ ะแนนพเิ ศษ การเสรมิ แรง ทางลบ การไม่รดั เข็มขดั นิรภยั จะมเี สยี งเตอื น การลงโทษ การรอ้ งใหข้ องเด็กเพอื่ ใหแ้ ม่อมุ ้ สกนิ เนอร ์ นักเรยี นทตี่ ดิ คกุ จากการปรบั ของตพรวจ จราจร การเฆยี่ นตี

การนําหลกั ทฤษฎปี ระยกุ ตใ์ ช ้ ในการจดั การเรยี นการสอน

1 ผูส้ อนตอ้ งระมดั ระวงั ไม่ใหม้ กี ารเสรมิ แรงในพฤตกิ รรมทไี่ ม่ถกู ตอ้ ง ไม่เหมาะสมของผูเ้ รยี น

2 ผูส้ อนควรจดั กจิ กรรมใหผ้ ูเ้ รยี นมโี อกาสฝึ กหรอื ลงมอื กระทําดว้ ยตนเอง โดยจดั สงิ่ แวดลอ้ มและสงิ่ อาํ นวยความสะดวกใหผ้ ูเ้ รยี นไดล้ งมอื กระทําตาม ความเหมาะสม

3 ผูส้ อนควรใชก้ ารเสรมิ แรงในการเรยี นการสอน เพอื่ เพมิ่ พฤตกิ รรมทพี่ งึ ประสงค ์

4 ผูส้ อนควรใหผ้ ูเ้ รยี นทราบผลงานของตวั เองทที่ าํ ไปแลว้

5 ผูส้ อนควรใชใ้ นการปลกู ฝังพฤตกิ รรมทพี่ งึ ประสงค ์ โดยการเสรมิ แรงบวก

6 ผูส้ อนควรใชว้ ธิ กี ารทไี่ ดผ้ ลทสี่ ดุ ในการหยดุ พฤตกิ รรมทไี่ ม่พงึ ประสงค ์

การใชบ้ ทเรยี นสาํ เรจ็ รปู หรอื บทเรยี นโปรแกรมเป็ นเครอื่ งมอื ชว่ ยสอน 7 จดั ลาํ ดบั เนือ้ หาจากง่ายไปยาก บทเรยี นสาํ เรจ็ รปู อาจสรา้ งขนึ้ ในรปู ของชดุ การสอน ศนู ยก์ ารเรยี นรู ้ ซงึ่ เด็กสามารถศกึ ษาไดด้ ว้ ยตนเองอย่างมน่ั ใจ

8 ในระหวา่ งการเรยี นการสอน การใหเ้ สรมิ แรงหลงั การตอบสนองทเี่ หมาะสม ของเด็ก จะชว่ ยเพมิ่ อตั ราการตอบสนองทเี่ หมาะสม

การเวน้ ระยะการเสรมิ แรงอยา่ งไม่เป็ นระบบ หรอื เปลยี่ นรปู แบบการเสรมิ แรงจะชว่ ยให ้ การตอบสนองของผูเ้ รยี นคงทนถาวร เชน่ ถา้ ผูส้ อนชมวา่ “ด”ี ทกุ ครง้ั ทผี่ ูเ้ รยี นตอบ 9 ถกู อยา่ งสม่ําเสมอ ผูเ้ รยี นจะเห็นความสาํ คญั ของแรงเสรมิ นอ้ ยลง ผูส้ อนควร เปลยี่ นแปลงแรงเสรมิ แบบอนื่ บา้ ง เชน่ ยมิ้ พยกั หนา้ หรอื บางครงั้ อาจไม่ใหแ้ รงเสรมิ

10 การลงโทษทรี่ นุ แรงเกนิ ไปมผี ลเสยี มาก ผูเ้ รยี นอาจไม่ไดเ้ รยี นรหู ้ รอื จาํ สงิ่ ที่ เรยี น ควรใชว้ ธิ กี ารงดการเสรมิ แรงเมอื่ ผูเ้ รยี นมพี ฤตกิ รรมไม่พงึ ประสงค ์ เชน่ เมอื่ ผูเ้ รยี นใชถ้ อ้ ยคาํ ไม่ แมว้ า่ บอกและตกั เตอื นแลว้ กย็ งั ทําอกี ผูส้ อนควรงด การตอบสนองตอ่ พฤตกิ รรมนั้น เมอื่ ไรตอบสนองผูเ้ รยี นจะหยดุ พฤตกิ รรม น้ันในทสี่ ดุ

11 หากตอ้ งการปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมหรอื ปลกู ฝังนิสยั ใหแ้ กผ่ ูเ้ รยี น สามารถใชก้ ารแยกขนั้ ตอนของปฏกิ ิรยิ าตอบสนองออกเป็ นลาํ ดบั ขนั้ โดยพจิ ารณาใหเ้ หมาะสมกบั ความสามารถผูเ้ รยี น

จดั ทาํ โดย o นางสาวกญั ญาณัฐ ศศวิ จั นไ์ พสฐิ 64851070103 o นายปัฐวี สิรวิ งคเ์ ครอื 64851070109 o นางสาวพรพมิ ล วงคว์ าน 64851070110

THANK YOU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook