สถานการณ์ ผปู้ ่ วยชายไทยอายุ 67 ปี 2 ชม.กอ่ นมาโรงพยาบาล มอี าการปวดศีรษะแบบเฉียบพลนั มอี าการคอแขง็ หัน ศีรษะไมไ่ ด้ มอี าเจียนพงุ่ 1 ครงั้ ญาตนิ าสง่ โรงพยาบาล ทา CT พบ Subarachnoid Hemorrhage แพทยท์ า การผา่ ตดั Craniotomy with clot removal หลงั ผา่ ตดั 4 ชวั่ โมง ใส่ ET–tube GCS E3VTM5 V/S T=37.9 C PR=100 ครง้ั /นาที RR=26 ครง้ั /นาที BP = 150/90 mmHg การพยาบาลท่ีสาคญั ท่ีสดุ ในชว่ ง 12 ชวั่ โมงแรกหลงั การผา่ ตดั ? 1. สงั เกตอาการแสดงของภาวะ Cushing reflex 2. ดดู เสมหะทกุ 1 ชวั่ โมงเพ่ือป้ องกนั การคงั่ คา้ งของเสมหะและเพิ่มปริมาณออกซิเจน 3. ตรวจวดั และบนั ทึกสญั ญาณชพี และอาการทางระบบประสาททกุ 2-4 ชวั่ โมง 4. จดั ทา่ นอนใหศ้ ีรษะสงู 30 องศา ลาคอตรง และงอสะโพกมากกว่า 90 องศา
การพยาบาลผปู้ ่ วยเยอ่ื หมุ้ สมองอกั เสบ (meningitis) สาเหต ุ ไวรสั เชอ้ื แบคที่เรีย พบบอ่ ยและอนั ตราย (Streptococcus pneumonia) พยาธิ อะมบี า และเชอ้ื รา เยื่อหมุ้ สมองจะบวมและขยายออก ทางเดนิ นา้ ไขสนั หลงั อดุ ตนั และไหลไมส่ ะดวก>>นา้ ในโพรงสมอง เพิ่มขน้ึ >>ความดนั ในกะโหลกศีรษะสงู (Increased intracranial pressure;IICP)(>20 mmHg).
การพยาบาลผปู้ ่ วยเย่อื หมุ้ สมองอกั เสบ (meningitis) อาการแสดง stiff neck : positive Brudzinski’s sign :positive Kernig’s sign :positive ไขส้ งู ปวดศีรษะรนุ แรง คลน่ื ไส้ อาเจยี น ตากลวั แสง อาจชกั ซึม มนึ งง สบั สน และอาจหมดสติ
การพยาบาลผปู้ ่ วยเยอื่ หมุ้ สมองอกั เสบ (meningitis) การรกั ษา ใหย้ าปฏิชวี นิ ะตามเชอ้ื ท่ีเป็ นสาเหตุ ยากนั ชกั ยาในกลมุ่ Steroid
การพยาบาลผปู้ ่ วยเยอื่ หมุ้ สมองอกั เสบ (meningitis) การวินิจฉยั การพยาบาล ไขส้ งู เนอื่ งจากการตดิ เชอ้ื และการควบคมุ ของฮยั โปทาลามสั ผดิ ปกตจิ ากความดนั ใน กะโหลกศีรษะสงู เสยี่ งตอ่ การขาดนา้ เนอื่ งจากการเผาผลาญสงู ไดร้ บั ความเจ็บปวดทกุ ขท์ รมานเนอื่ งจากปวดศีรษะ เส่ยี งตอ่ การภาวะความดนั ในกะโหลกศีรษะสงู ขน้ึ จากสมองบวมนา้ (hydrocephalus) มโี อกาสเกดิ ภาวะแทรกซอ้ น เชน่ ชกั เนอื่ งจากเนอ้ื สมองตาย
การพยาบาลผปู้ ่ วยเยอื่ หมุ้ สมองอกั เสบ (meningitis) การพยาบาล วดั อณุ หภมู ิทกุ 2-4 ชม. เช็ดตวั ลดไขท้ กุ วิธี หากผปู้ ่ วยมไี ขส้ งู จะทาใหก้ ารเผาผลาญ เพ่ิมขนึ้ และเพิ่มความดนั ในกะโหลกศีรษะมากย่ิงขน้ึ ประเมนิ และบนั ทึกสญั ญาณชพี รวมถึงอาการเปล่ยี นแปลงทางระบบประสาท อยา่ งนอ้ ย ทกุ 2-4 ชวั่ โมง ดแู ลใหไ้ ดร้ บั สารนา้ ทางหลอดเลอื ดดา และไดร้ บั อาหารตรงตามแผนการรกั ษา ดแู ลใหผ้ ปู้ ่ วยไดร้ บั ประทานอาหารอย่างเพียงพอ ซึ่งเป็ นอาหารท่ีมีแคลอรี่สงู โปรตนี สงู
การพยาบาลผปู้ ่ วยเยอ่ื หมุ้ สมองอกั เสบ (meningitis) การพยาบาล จดั ใหผ้ ปู้ ่ วยนอนในหอ้ งเงยี บๆ ลดการกระตนุ้ ทางแสงเสยี ง หลกี เลี่ยงผกู มดั จดั ใหผ้ ปู้ ่ วยนอนศีรษะสงู 15-30 องศา และใหย้ าระงบั อาการปวดเกร็งกลา้ มเนอ้ื บรเิ วณคอ ดแู ลใหย้ าปฏิชวี นะตรงตามแผนการรกั ษา เตรียมไมก้ ดลนิ้ และ Airway ไวใ้ หพ้ รอ้ มท่ีโตะ๊ ขา้ งเตยี งในรายที่มอี าการชกั เตรียมอปุ กรณก์ ารใหอ้ อกซิเจนไวใ้ หพ้ รอ้ ม ในรายที่มปี ัญหาในการหายใจหรือชกั
การพยาบาลผปู้ ่ วยท่ีมีภาวะชกั (Seizure) Seizure >>>ปลดปลอ่ ยคลื่นไฟฟ้ าออกมาจากเซลลส์ มองอยา่ งทนั ทที นั ใด >>>เปลยี่ นแปลงหนา้ ที่ของสมอง>>>ความรสู้ ตกิ ารเคลอื่ นไหว การรบั ความรสู้ กึ ระบบประสาทอตั โนมตั แิ ละดา้ นจติ ใจผดิ ปกติ สาเหต ุ ชกั ไมท่ ราบสาเหตุ ความผดิ ปกตทิ างกรรมพนั ธ์ุ รอยโรคของสมองโดยตรง ความผดิ ปกตทิ างชวี เคมี ไดแ้ ก่ นา้ ตาลในเลือดตา่ สมองขาดออกซิเจน ไดร้ บั พิษตะกวั่ การขาดยาบางอยา่ ง (ยาระงบั ชกั หรือเหลา้ )
การพยาบาลผปู้ ่ วยท่ีมีภาวะชกั (Seizure) การแบง่ ชนดิ ของอาการชกั ตาม International League Against Epilepsy (ILAE) 1981 โดยยึด ลกั ษณะการชกั และคลืน่ ไฟฟ้ าสมองที่พบขณะชกั การชกั เฉพาะที่ (Focal or Partial Seizure) ไมม่ อี าการหมดสติ แตอ่ าการแสดงออกทางการ เคลอื่ นไหวผดิ ปกติ ชกั ทวั่ ๆไป (Generalized seizures) อาการชกั จะเกดิ ขนึ้ ทง้ั ตวั เชน่ โรคลมชกั (epilepsy)
การพยาบาลผปู้ ่ วยที่มีภาวะชกั (Seizure) Generalized seizures Grand mal พบบอ่ ยทส่ี ดุ ระยะแรกเกดิ กอ่ นไมก่ ่ีวนั นกั มอี าการเตอื น>>มปี ระสาทหลอน การ ไดก้ ลิน่ แปลกๆ ระยะที่ 2 Tonic phase หมดสติ ลม้ ลง มอี าการเกร็ง Colic phase กลา้ มเนอื้ กระตกุ เป็ นจงั หวะที่แขนขา กลน้ั ปัสสาวะ อจุ จาระไมอ่ ยู่ อาจกดั ริมฝี ปาก ลิ้น หายใจกระตกุ ระยะที่ 3 หลงั ชกั จะเหนอื่ ย และไมต่ อบสนองตอ่ การกระตนุ้ ใดๆ จะ หลบั ไปครึ่งชวั่ โมงหรือนานกว่านนั้ เมอ่ื ตน่ื ขนึ้ อาจไมร่ เู้ ร่ืองการชกั อาการชกั หากเกดิ ซา้ ระหวา่ งท่ีผปู้ ่ วยยงั ไมท่ นั ฟื้ นเป็ นปกตดิ เี รียกวา่ Status epilepticus ซึ่งมกั กนิ เวลานานกวา่ 30 นาที อาจเป็ นอนั ตรายถึงชีวิต
Tonic Clonic Seizure (grand mal seizure)
การพยาบาลผปู้ ่ วยที่มีภาวะชกั (Seizure) การรกั ษา ขณะชกั ให้ valiam10 มก.เขา้ เสน้ ชา้ ๆ เนอ่ื งจากยากดการหายใจ ให้ Phenytoin (Dilantin) 500 ม.ก. หยดใหท้ างเสน้ เลอื ดดาชา้ ๆ นาทีละ 50 ม.ก. เพราะยาน้ี กดการเตน้ ของหัวใจ ให้ Phenobarb ขนาด 15-50 ม.ก. (เด็ก) และ 50-100 ม.ก. (ผใู้ หญ่) กนิ วนั ละ 2-3 ครงั้ เพ่ือควบคมุ อาการชกั ในระยะยาว
การพยาบาลผปู้ ่ วยท่ีมีภาวะชกั (Seizure) การวินิจฉยั การพยาบาล เสย่ี งตอ่ การสาลกั เนอ่ื งจากการเคลอ่ื นไหวท่ีผดิ ปกติ/ระดบั ความรสู้ กึ ลดลง เสี่ยงตอ่ การไดร้ บั บาดเจ็บขณะชกั การรบั ความรสู้ ึก และความเขา้ ใจ (perceptual) เปล่ียนแปลง ปัญหาทางดา้ นจติ ใจกอ่ ใหเ้ กดิ ปัญหาหลายอยา่ ง เชน่ ความกลวั ความวิตกกงั วล การ สญู เสยี ภาพลกั ษณ์ ภาวะชกั ทาใหม้ กี ารใช้ ATP เพ่ิมมากขน้ึ ตอ้ งการออกซิเจนมากขนึ้ ดงั นน้ั หลงั ชกั ตอ้ งรีบให้ ออกซิเจนและ glucose แกผ่ ปู้ ่ วย เพราะระหวา่ งชกั ความตอ้ งการเลอื ดไปเลี้ยงสมองมมี ากขน้ึ
การพยาบาลผปู้ ่ วยท่ีมีภาวะชกั (Seizure) การพยาบาล กอ่ นชกั : ผปู้ ่ วยที่มอี าการเตอื นกอ่ นชกั เตรียมไมก้ ดลิ้น เครื่องป้ องกนั ลิ้นตก (air way) ลกู สบู ยาง ถงั ออกซิเจน และใหผ้ ปู้ ่ วยนอนลง ขณะชกั : จบั ลงนอนกบั พืน้ หรือเตยี ง เลอ่ื นส่ิงของที่เป็ นอนั ตรายออกไป วางหมอนท่ีนมุ่ ๆหนนุ ศรีษะ จดั ใหต้ ะแคงหนา้ ใหน้ า้ ลายไหลออกสะดวก ไมค่ วรใสไ่ มก้ ดลน้ิ ขณะกาลงั ชกั ไมค่ วรกดหรือผกู มดั ผปู้ ่ วยจะทา ใหเ้ กิดแรงตา้ น สงั เกตอาการชกั เกดิ ขนึ้ เมอ่ื ใด นานเท่าใด สว่ นใด ลกั ษณะการเคล่อื นไหวเป็ นแบบใด การหายใจ ระดบั ความรสู้ ติ รมู า่ นตา การขบั ถา่ ยปัสสาวะอจุ จาระ หลงั ชกั : เคล่ือนยา้ ยผปู้ ่ วยไปนอนในท่ีปลอดภยั อาการถ่ายเทดี และเช็ดตวั เปลีย่ นเสื้อผา้ และบนั ทึกการชกั
การพยาบาลผปู้ ่ วยหมดสติ (Coma, unconscious) สาเหต ุ การเปล่ยี นแปลงของระดบั ความรสู้ กึ ตวั (Alteration of consciousness) Structural brain disease เป็ นพยาธิสภาพเฉพาะท่ี เกิดขน้ึ ในสมองโดยตรง Metabolic brain disease เชน่ ภาวะหมดสตจิ าก โรคเบาหวาน หรือโรคตบั โรคหรือภาวะทางจติ ใจ เชน่ ฮีสทีเรีย
การพยาบาลผปู้ ่ วย Guillain Barre syndrome; GBS GBS>> อกั เสบและการเส่อื มของปลอกประสาท (Myelin sheath) >> axon ถกู ทาลาย >>Peripheral nerve หลาย เสน้ >กลา้ มเนอ้ื ออ่ นแรง อมั พาตและเหี่ยวลีบ สาเหตุ Autoimmune, Virus, Bacteria อาการและอาการแสดง ออ่ นแรงจากปลายมาหาตน้ (ascending paralysis) >> อ่อนแรงของขา คอ่ ยๆ ลามมายงั แขน และกลา้ มเนอ้ื ตา่ งๆทวั่ ตวั การอ่อนแรงที่สาคญั และเป็ นสาเหตใุ หเ้ สียชีวิตได้ คือ กลา้ มเน้ือหายใจอ่อนแรง
การพยาบาลผปู้ ่ วย Guillain Barre syndrome; GBS การรกั ษา การรกั ษาประคบั ประคองตามอาการ เป็ นการรกั ษาที่สาคญั ท่ีสดุ เจาะคอใสท่ อ่ ชว่ ยหายใจ ดแู ลในเร่ืองอาหารในชว่ งท่ีปัญหาในการเคยี้ ว กลนื และยอ่ ย ภาวะผดิ ปกตขิ อง การเตน้ ของหัวใจ ควบคมุ ความดนั โลหิตใหอ้ ยใู่ นเกณฑป์ กติ การรกั ษาตวั โรค >>Immunoglobulin (IVIG), Plasma exchange หรือ Plasmapheresis
การพยาบาลผปู้ ่ วย Guillain Barre syndrome; GBS การพยาบาล เสย่ี งตอ่ ภาวะหายใจวาย เนอื่ งจากเกดิ รอยโรคของเสน้ ประสาทที่ไปเล้ยี งกลา้ มเนอื้ หายใจ ปริมาณเลือดท่ีออกจากหัวใจลดลง เนอื่ งจากรอยโรคกระทบเสน้ ประสาทซิมพาเทตคิ ไดร้ บั สารอาหารไมเ่ พียงพอกบั ความตอ้ งการของร่างกายเนอ่ื งจากมปี ัญหาการกลืน ไมส่ ามารถควบคมุ การขบั ถ่ายปัสสาวะ อจุ จาระไดเ้ นอื่ งจากขาดประสาทมาควบคมุ เส่ียงตอ่ ภาวะแทรกซอ้ นตา่ งๆเนอื่ งจากไมส่ ามารถเคล่ือนไหวรา่ งกายได้ มคี วามวิตกกงั วลเนอ่ื งจากภาวะคกุ คามชวี ิต และไมส่ ามารถเผชญิ กบั ปัญหาได้
การพยาบาลผปู้ ่ วย Myasthenia gravis; MG MG โรคกลา้ มเนอ้ื ออ่ นแรง >>> Acetylcholine receptor (AChR) เป็ นตวั เชอ่ื มตอ่ ระหวา่ ง เสน้ ประสาทกบั กลา้ มเนอ้ื (Neuromuscular junction; NMJ) ถกู block ไมส่ ามารถรบั คาสงั่ และเกดิ การหดตวั ของกลา้ มเนอ้ื สาเหตุ >>ระบบภมู คิ มุ้ กนั ของรา่ งกาย (autoimmune) สรา้ ง antibody ตอ่ AChR อาการที่พบบอ่ ยที่สดุ อาการอ่อนแรงของกลา้ มเนอื้ กลา้ มเนอื้ ตา >> หนงั ตาตก (ptosis) และเห็นภาพซอ้ น (diplopia) อาการทต่ี อ้ งไดร้ บั การดแู ลอย่างเรง่ ดว่ น คือ อาการหายใจผดิ ปกตแิ ละกลืนลาบาก
การพยาบาลผปู้ ่ วย Myasthenia gravis; MG การรกั ษา Cholinesterase inhibitor drugs >> Neostigmine, Pyridostigmine Corticosteroid >> prednisone intravenous immune globulin plasmapharesis (blood plasma exchange) Thymectomy (ตดั ตอ่ มไทมสั เนอื่ งจาก ตอ่ มไทมสั เกย่ี วกบั ระบบภมู คิ มุ้ กนั ของร่างกาย)
การพยาบาลผปู้ ่ วย Myasthenia gravis; MG การพยาบาล เกิดภาวะพร่องออกซิเจน เนอ่ื งการหายใจไมม่ ปี ระสิทธิภาพจากกลา้ มเนอ้ื หายใจอ่อนแรง ความสามารถในการดแู ลตนเองและความคงทนตอ่ กจิ กรรมตา่ งๆลดลงเนอ่ื งจากเนอ่ื งจาก กลา้ มเนอ้ื ออ่ นแรงและลา้ งา่ ย ไดร้ บั สารอาหารไมเ่ พียงพอกบั ความตอ้ งการของรา่ งกายเนอ่ื งจากการเคี้ยวและการกลืน ลาบาก การรบั รกู้ ารมองเห็นลดลงเนอื่ งจากกลา้ มเนอื้ ตาอ่อนแรง หนงั ตาตกและมองเห็นภาพซอ้ น สญู เสยี ภาพลกั ษณแ์ ละความมคี ณุ ค่าในตนเองเนอื่ งจากกลา้ มเนอื้ อ่อนแรง การชว่ ยเหลือ ตนเองบกพร่องตอ้ งพงึ่ พาผอู้ ื่น มคี วามวิตกกงั วลเนอื่ งจากภาวะคกุ คามชวี ิต และไมส่ ามารถเผชญิ กบั ปัญหา
ทบ่ี า้ น : ผปู้ ่ วยชายไทย มแี ขนขาดา้ นซา้ ยออ่ นแรง บากเบี้ยวดา้ นขวา ????????????????????????????????? ที่โรงพยาบาล: มอี าการชกั (หลงั ใหย้ า rt-PA) BP 210/100 mmHg PR 60 ????????????????????????????????? CT brain : Intracerebral hemorrhage 15 mm Subdural hematoma 10mm, midline shift 8 mm, Hydrocephalus ?????????????????????????????????
โครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของไขสนั หลงั
การพยาบาลผปู้ ่ วย spinal cord injury
การพยาบาลผปู้ ่ วย spinal cord injury ประเภทของการบาดเจ็บไขสนั หลงั • Complete cord injury >>tetraplegia และ paraplegia • Incomplete spinal cord injury
การพยาบาลผปู้ ่ วย spinal cord injury
การพยาบาลผปู้ ่ วย spinal cord injury Spinal shock >>>จะเกิดอย่ปู ระมาณ 7-10 วนั อวยั วะท่ีอยตู่ า่ กว่าระดบั ไขสนั หลงั ทไ่ี ดร้ บั บาดเจ็บจะเป็ นอมั พาตแบบออ่ นปวกเปี ยก Hypotension & Bradycardia ไมม่ รี ีเฟล็กซ์ (bulbocarvernous reflex )
การประเมินการบาดเจ็บไขสนั หลงั การซักประวตั ิ ผบู้ าดเจ็บทกุ รายใหส้ งสยั ไวก้ อ่ นวา่ มบี าดเจ็บของกระดกู คอจึงตอ้ งใส่ Philadelphia collar อาการท่ีสงสยั ว่านา่ จะมบี าดเจ็บไขสนั หลงั ไดแ้ ก่ ปวดตงึ ตน้ คอ หรือความรสู้ ึก ทแ่ี ขนและขาลดลง ความดนั โลหิตตา่ ร่วมกบั ชพี จรชา้ หรือควบคมุ ปัสสาวะไมไ่ ดห้ ลงั บาดเจ็บ การตรวจร่างกายโดยใชห้ ลกั ABCDE การตรวจทางรงั สวี ิทยา ไดแ้ ก่ X-ray CT scan และ MRI
การพยาบาลผปู้ ่ วย spinal cord injury Pre-hospital phase >>ชว่ ยเหลอื ชวี ิต ป้ องกนั อนั ตรายตอ่ กระดกู สนั หลงั และไขสนั หลงั ไมใ่ หถ้ กู ทาลายมากขนึ้ ป้ องกนั ภาวะแทรกซอ้ นขณะเคล่ือนยา้ ยและใหผ้ ปู้ ่ วยมาถึงโรงพยาบาล ใหเ้ ร็วทส่ี ดุ การดแู ลระบบทางเดนิ หายใจใหโ้ ลง่ ขณะเดยี วกนั ตอ้ งระวงั ไมใ่ หก้ ระดกู คอเคลื่อนโดยการใส่ Philadelphia collar การดแู ลหา้ มเลอื ดในทเ่ี กดิ เหตุ จดั ใหผ้ ปู้ ่ วยอยใู่ นทา่ ที่สบายและเจ็บปวดนอ้ ยที่สดุ โดยไมม่ ี การบิดหรืองอของกระดกู สนั หลงั การเคล่อื นยา้ ย ใชว้ ิธีการกล้ิงไปทงั้ ตวั แบบทอ่ นซงุ (log roll)
การพยาบาลผปู้ ่ วย spinal cord injury การพยาบาลผปู้ ่ วยบาดเจ็บไขสนั หลงั ระยะเฉียบพลนั Breathing >>>ดแู ลการไดร้ บั ออกซิเจนในชว่ ง 72 ชวั่ โมงแรก ในผปู้ ่ วยบาดเจ็บ C-spine ทกุ ราย เพอ่ื ป้ องกนั ภาวะ Hypoxemia Circulation>>0.9% NSS ในผปู้ ่ วย spinal shock แตไ่ มค่ วร load iv ในปริมาณมาก การใหย้ า >> High-dose Methyprednisolone เพ่ือลดอาการบวมอกั เสบของไขสนั หลงั ดแู ลใหย้ า H2 antagonist และ Proton Pump Inhibitor (PPI) เพื่อป้ องกนั ภาวะ GI-bleeding การงดนา้ และอาหารกอ่ นจนกว่าจะเริ่มจบิ นา้ เมอ่ื มกี ารเคลื่อนไหวของลาไส้ การดแู ลระบบทางเดนิ ปัสสาวะ>> Intermittent catheter ใน neurogenic bladder และ สวน อจุ จาระดว้ ย Unison 20 ml ใน neurogenic bowel
การพยาบาลผปู้ ่ วย spinal cord injury การดแู ลกระดกู สนั หลงั (Spine) ท่ีไดร้ บั บาดเจ็บ การทาใหส้ ว่ นที่หกั หรือบาดเจ็บอยนู่ ง่ิ (Immobilization) การ ดงึ กระดกู ใหเ้ ขา้ ที่ (Reduction/realignment) และการผา่ ตดั (Stabilization) กระดกู สนั หลงั ระดบั คอท่ีมกี ารแตกหัก (burst fracture) หรือ มกี ารเคลือ่ น (fracture dislocation) >>Skull traction และจดั กระดกู ใหอ้ ย่ใู นแนวทีด่ ี หากไมพ่ บกระดกู สนั หลงั มกี ารแตกหกั หรือเคลือ่ น >> Philadelphia Collar หรือ hard collar
การพยาบาลผปู้ ่ วย spinal cord injury การวินิจฉยั การพยาบาล อาจเกดิ ทางเดนิ หายใจอดุ ตนั เนอื่ งจากการบาดเจ็บของ C-spine การดแู ลตนเองบกพรอ่ ง เนอ่ื งจากอมั พาต ไมส่ ามารถขบั ถา่ ยอจุ จาระปัสสาวะไดต้ ามปกติ เนอื่ งจากประสาทท่ีควบคมุ ถกู กด มคี วามกลวั ความวิตกกงั วล เนอ่ื งจากมปี ัญหาคกุ คามชวี ิตและบทบาทในครอบครวั เปลี่ยนแปลง เสี่ยงตอ่ การเกิดอบุ ตั เิ หตซุ า้ เนอ่ื งจากการรบั ความรสู้ ึก และการเคลือ่ นไหวเสยี ไป ภาพลกั ษณเ์ ปล่ียนแปลง เนอ่ื งจากสญู เสียหนา้ ที่ทางดา้ นร่างกาย ไมส่ ามารถปฏิบตั กิ จิ กรรมทางเพศไดต้ ามปกติ เนอ่ื งจากความผดิ ปกตขิ องระบบประสาทท่คี วบคมุ
สถานการณ์ ผปู้ ่ วยชาย ขบั รถชนกาแพง สลบไปขณะเกดิ เหตุ ผพู้ บเห็นนาสง่ โรงพยาบาล แพทย์ วินจิ ฉยั spinal cord injury GCS E4V5M6 ขาและแขนทง้ั 2 ขา้ งขยบั ไมไ่ ด้ สญั ญาณชพี PR 60 ครงั้ /นาที RR 20 ครงั้ /นาที BP 80/50 mmHg การดูแลกอ่ นนาส่งโรงพยาบาล? การดูแลขณะอยู่โรงพยาบาล ? ขอ้ มูลเพ่มิ เติม?
Search