1 สรุปผลการดาเนนิ งานและผลการประเมนิ การจดั กระบวนการเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง โครงการจัดกระบวนการเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง หลกั สูตร ๖ ชว่ั โมง วนั ท่ี ๒๒ ธันวาคม ๒๕๖๓ ณ ฟาร์มตวั อย่างในสมเด็จพระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ บา้ นโคกโก ตาบลโตะ๊ เดง็ อาเภอสุไหงปาดี จังหวดั นราธวิ าส ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอสไุ หงปาดี สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดนราธิวาส
2 แบบสรปุ สาหรบั ผ้บู รหิ าร การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหลักสูตร 6 ชั่วโมง จัดขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะในการทาบัญชีครัวเรือน การทาเกษตรผสมผสาน และสามารถนาความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ ท้ังน้ีมีเป้าหมายเชิงปริมาณ ไดแ้ ก่ประชาชนที่สนใจ ในพื้นท่ีอาเภอสุไหงปาดี จานวน 28 คน โดยมีนายมูฮัมหมัดอัสรี ยูโซะ ครูผู้ช่วย เป็นผู้รับผิดชอบโครงการ ดาเนินงาน โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหลกั สูตร 6 ชั่วโมง จัดข้ึน ในวนั ท่ี 22 ธนั วาคม 2563 ณ ฟาร์มตัวอยา่ งในสมเด็จพระนางเจ้าสริ ิกติ ์พิ ระบรมราชินนี าถ บ้านโคกโก ตาบล โต๊ะเดง็ อาเภอสุไหงปาดี จงั หวดั นราธิวาส โดยมีนายดสุ ติ ขันฑศมี าเฉลมิ ตาแหนง่ ผู้จัดการฟาร์มฯ และนาย กติ ตพิ งษ์ จันทร์เพ็ชร์ ปราชญ์ชาวบ้านเปน็ วทิ ยากรบรรยาย และฝึกอบรมปฏบิ ัติ ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วม โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงหลักสูตร 6 ช่ัวโมง โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ข้อคิดเห็นท่ีมีความพึงพอใจมากท่ีสุด โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักสตู ร 6 ชั่วโมง ตรงกบั ความตอ้ งการของผู้รบั บรกิ าร มีค่าเฉล่ยี ( = 4.84 ) เน้ือหาเพยี งพอตอ่ ความต้องการ มีค่าเฉล่ีย ( =4.92 เน้ือหาปัจจุบันทันสมัย มีค่าเฉล่ีย ( = 4.8 ) เน้ือหามีประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการ พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ มคี ่าเฉล่ีย ( = 4.76) การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม มคี ่าเฉล่ยี ( = 4.92) การ ออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ มีค่าเฉลี่ย ( = 4.72) การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา มี ค่าเฉล่ีย ( = 4.68 ) การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย มีค่าเฉล่ีย ( = 4.8 ) วิธีการวัดผล/ ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ มีค่าเฉลี่ย ( = 4.84 ) วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องท่ี ถ่ายทอด มีค่าเฉลี่ย ( =4.8 ) วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้ส่ือเหมาะสม มีค่าเฉลี่ย ( =4.68 ) วิทยากร เปิดโอกาสให้มสี ่วนร่วมและซักถาม มีค่าเฉล่ีย ( = 4.76) สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวก มี ค่าเฉลี่ย ( = 4.76) การสือ่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพอื่ ให้เกิดการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ย ( = 4.88 การบริการ การชว่ ยเหลือและการแก้ปัญหา มีค่าเฉลีย่ ( = 4.88 ) ผรู้ ับผิดชอบโครงการ นายมฮู มั หมัดอัสรี ยูโซะ
3 คานา การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เปน็ การให้บริการกับประชาชน ผู้รับบริการ และชุมชนในหลายลักษณะ เพ่ือให้การดาเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชน ผู้รับบริการ และชุมชนได้อย่างมีคุณภาพ จึงควรจดั ให้มีการประเมินผลการจัดการเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงหลักสตู ร 6 ชั่วโมง ซึ่งจะเปน็ การสรุปผลการดาเนินงานของ ศนู ย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสุไหงปาดี ได้ดาเนินการในวันที่ 22 มิถุนายน 2563 สรุปผลการ ดาเนินการ โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหลักสูตร 6 ช่ัวโมง สามารถ นามาเปน็ บทเรยี น และพฒั นาการดาเนินงานในการจัดกิจกรรม กศน. ต่อไปได้อย่างเป็นรูปธรรมและมคี ณุ ภาพ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสุไหงปาดี จึงหวังว่าเอกสารฉบับน้ี จะบ่งบอกถึงการบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการและจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรม กศน.ทั้งในการ บริหารงาน การพัฒนางาน และการปฏิบัติงาน ท่ีตรงตามความต้องการของประชาชน และผู้รับบริการในชุมชน และสามารถเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ และขอขอบคณุ ผู้มสี ่วนเกี่ยวขอ้ งทีใ่ หค้ วามร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม ทกุ ทา่ นไว้ ณ โอกาสนด้ี ้วย งานการศึกษาต่อเนื่อง กศน.อาเภอสุไหงปาดี มถิ ุนายน ๒๕๖๓
สารบญั 4 เรือ่ ง หนา้ บทสรุปสาหรับผูบ้ รหิ าร ก คานา ข สารบญั ค สรุปผลการดาเนินงานโครงการ 4 1. บทนา 4 2. วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 5 3. ขอบเขตของโครงการ 5 4. ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั 5 5. วิธีดาเนินการ 5 6. ผลการดาเนินงาน 6-9 7. สรุป/ปญั หา/ขอ้ เสนอแนะ 9 8. คณะผจู้ ดั ทา 10 ภาคผนวก 1. โครงการที่ได้รับอนุมตั ิ 2. กาหนดการ 3. เอกสารทีเ่ ก่ียวข้องกับโครงการ 4. แบบประเมนิ ความพึงพอใจ 5. ภาพประกอบ
5 สรุปผลการดาเนินงาน การจดั กระบวนการเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการจัดกระบวนการเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง หลกั สูตร 6 ช่วั โมง บทนา “หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นหนึ่งใน “ศาสตร์ของพระราชา” ท่ีพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชดารัสแก่พสกนิกรชาวไทยเกี่ยวกับการดาเนินชีวิตโดยยึดหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงเป็นปรัชญาท่ีตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดย คานึงถึงการรู้จักพ่ึงตนเอง ความพอประมาณ พอมีพอกิน พอมีพอใช้ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว ตลอดจน ใช้ความรู้ความรอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผนตัดสินใจและกระทาในส่ิงท่ีควรจะเป็น เพ่ือให้สามารถดารงชีวิตอย่างย่ังยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ประกอบกับนโยบาย การพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศไทย (ไทยแลนด์ 4.0) ที่มีภารกิจสาคัญในการขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศด้านต่างๆ โดยเฉพาะการเน้น ภาคการเกษตร (ไทยแลนด์ 1.0) อีกท้ังหลักการสาคัญของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) ข้อ 1. ยึด“หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ทั้งนี้เพื่อให้เกดิ บูรณาการ การพัฒนาในทุกมิติอย่างสมเหตสุ มผล มีความพอประมาณ และมีระบบภมู ิคุม้ กนั และการบริหารจัดการความเส่ียง ทีด่ ี ซงึ่ เปน็ เงอ่ื นไขจาเป็นสาหรับการพัฒนาที่ย่ังยืนโดยมุ่งเน้นการพัฒนาคนให้มีความเปน็ คนทีส่ มบรู ณ์ สังคมไทย เปน็ สงั คมคุณภาพ สร้างโอกาสและมีที่ยนื ให้กับทุกคนในสงั คมได้ดาเนินชวี ิตท่ดี ี จากสภาวะสังคมปัจจุบันท่ีเต็มไปด้วยกระแสวัตถุนิยม และความฟุ่มเฟือย ฟุ้งเฟ้อ จนทาให้คน ไทยหลงเดินทางผิดไปตามกระแสนิยมจนกลายเป็นปัญหา โดยเฉพาะปัญหาหน้ีสินที่ไม่มีวัน จบสิ้น อย่างไรก็ตาม คนไทย ยงั มีทางออก ซ่ึงการจะดารงชีวิตให้อยู่รอดภายใต้สงั คมในปัจจุบนั แนวทางหนึง่ ท่ีประชาชนไทยควรยึดถือ คอื การพ่ึงตนเอง รูจ้ ักความพอประมาณ และไม่ประมาท ตามแนวปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ของรัชกาลที่ 9 ท่ีทรงมองเห็นถึงความสาคัญของการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวเอง รู้จักความพอมีพอกิน พอมีพอใช้ คานึงถึงหลัก เหตุผลและการประมาณตนเอง พร้อมกับทรงเตือนสติประชาชนคนไทย ไม่ให้ประมาท โดยใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นปรัชญานาทางชีวติ บนความพอดี เหมาะสม สอดคลอ้ งถกู ตอ้ งตามกฎธรรมชาตทิ ่ีมีในพื้นท่ี อีกทั้ง ปัจจุบันราคาผลผลิตทางการเกษตรในท้องตลาดมีราคาแพง จึงจาเป็นจะต้องส่งเสริมให้ประชาชนในพ้ืนที่ ปลูกผักสวนครัว โดยมุ่งเน้นให้ประชาชนปลูกผักสวนครัวไว้บริโภคเอง มีผักสวนครัวที่ปลอดภัยจากสารพิษไว้กิน ทกุ วนั รวมท้ังชว่ ยลดค่าจา่ ยในครวั เรอื นอกี ดว้ ย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสุไหงปาดี ได้ตระหนักและเล็งเห็น ความสาคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทาโครงการจัดกระบวนการเรียนรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๓ เพ่ือเป็นการส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการดาเนินชีวิตตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 ห่วง 2 เง่อื นไข และนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั ต่อไป
6 วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้กลมุ่ เปา้ หมายมีความรู้ ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. เพอื่ ให้กลุ่มเปา้ หมายมีทกั ษะในการทาบัญชีครัวเรอื น การทาเกษตรผสมผสาน 3. เพ่ือใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายสามารถนาความรทู้ ไี่ ดไ้ ปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้ ขอบเขตของโครงการ เป้าหมาย ประชาชนทส่ี นใจในพ้นื ที่อาเภอสไุ หงปาดี จานวน 28 คน สถานท่ี ฟาร์มตัวอย่างในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ บ้านโคกโก ตาบลโต๊ะเด็ง อาเภอสุไหงปาดี จงั หวัดนราธวิ าส ระยะเวลา วันท่ี 22 ธันวาคม 2563 ประโยชน์ท่จี ะได้รับ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีทักษะในการทาบัญชี ครวั เรือน การทาเกษตรผสมผสาน และสามารถนาความรทู้ ่ไี ดไ้ ปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้ วิธดี าเนินการ 1. สารวจข้อมลู พ้ืนฐาน/วิเคราะหค์ วามต้องการชุมชน 2. ประชมุ คณะทางาน 3. จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ภาคทฤษฎี/ปฏิบตั ิ 3.1 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง - เศรษฐกิจพอเพยี งกับเกษตรทฤษฎใี หม่ตามแนวพระราชดาริ - เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั คุณภาพชีวติ 3.2 การจดั ทาบัญชีครัวเรือน - ความรู้ท่ัวไปเก่ยี วกบั บญั ชีครวั เรือน - การจัดทาบญั ชีครัวเรือน 3.3 บรรยาย ศกึ ษาเรยี นรู้ สาธติ และปฏิบัติ การทาเกษตรผสมผสาน - เร่อื งการลดต้นทุน เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต - เร่อื งการปลกู พชื ผกั สวนครวั 4.การติดตามผลและประเมนิ ผล 5.รายงาน/สรปุ โครงการ
7 5.รายงาน/สรุปโครงการผลการดาเนนิ งานและผลการประเมิน 1. สภาพการดาเนินงานโครงการ ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้ ได้รับความร่วมมือจากประชาชนทีส่ นใจใน 6 ตาบลของพ้ืนท่ีอาเภอ สุไหงปาดี ที่สนใจในกิจกรรมเก่ียวกับเศรษฐกิจพอเพียง และทุกคนให้ความสนใจร่วมกิจกรรมเป็นอย่างดี มีการ แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ระหวา่ งกัน และได้รบั ความรว่ มมือ จากทางวิทยากร ทสี่ ามารถนากระบวนการได้อย่างสมบรู ณ์ เปน็ ไปตามความตอ้ งการของผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม 2. ผลการดาเนินงานโครงการ 2.1 จานวนผู้เขา้ รว่ มโครงการ ตารางที่ 1 จานวนและรอ้ ยละของผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ เปรยี บเทียบกบั เปา้ หมายของโครงการ ผู้เขา้ รว่ มโครงการ เปา้ หมาย จานวนผเู้ ขา้ ร่วม คิดเปน็ รอ้ ยละ โครงการ ประชาชนท่ัวไป 28 28 100 รวม 28 28 100 ตารางท่ี 2 จานวนผู้เขา้ ร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ จาแนกตามเพศ อายุ การศึกษา และอาชพี 1. เพศ จานวนผูเ้ ข้าร่วมโครงการ คิดเป็นรอ้ ยละ ชาย 16 57.14 หญิง 12 42.86 28 100 รวม 2. อายุ จานวนผเู้ ข้าร่วมโครงการ คิดเปน็ ร้อยละ อายุต่ากวา่ 15 ปี - - อายุ 15-39 ปี 18 อายุ 40-59 ปี 10 64..29 อายุ 60 ปีขึน้ ไป - 35.71 28 รวม - 100 3. ระดับการศกึ ษา จานวนผเู้ ข้ารว่ มโครงการ คิดเป็นรอ้ ยละ ต่ากว่าประถมศึกษา - - ประถมศกึ ษา 4 มธั ยมศึกษาตอนตน้ 14 14.29 มัธยมศึกษาตอนปลาย 10 50 อื่นๆ - 35.71 28 รวม 100
8 4. อาชพี จานวนผู้เขา้ รว่ มโครงการ คิดเปน็ รอ้ ยละ เกษตรกร 15 53.58 รบั จา้ ง 13 46.42 ธุรกจิ ส่วนตัว -- อน่ื ๆ (ระบุ........................) - - รวม 28 100 จากตารางท่ี ๒ แสดงให้เห็นว่าผู้เขา้ รว่ มโครงการ แบ่งเปน็ เพศชาย รอ้ ยละ 57.14 รองลงมา เพศหญิงร้อยละ 42.86 ส่วนใหญ่มีอายุ 15-39 ปี ในสัดส่วนร้อยละ 64.29 รองลงมากลุ่มอายุ 40-59 ปี ในสัดส่วนร้อยละ 35.71 ระดับการศึกษาของผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นในสัดส่วนร้อยละ 50 รองลงมาการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายในสัดส่วนร้อยละ 35.71 และประถมศึกษาในสัดส่วนร้อยละ 14.29 อาชีพผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่ มีอาชีพเกษตรกรในสัดส่วนร้อยละ 53.58 รองลงมาอาชีพ รับจา้ ง ในสัดสว่ นร้อยละ 46.42 2.2 ความพงึ พอใจผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ ตารางท่ี 3 ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง หลักสตู ร 6 ชว่ั โมง จานวน (รอ้ ยละ) ผ้ตู อบ รายการคาถาม ดมี าก ดี ปาน พอใช้ ปรบั ปรงุ แปลผล กลาง ดา้ นวิทยากร 1.วทิ ยากรมาใหค้ วามรู้ตรงตามเวลา 17 10 5 4.38 มากที่สดุ 2.วิทยากรมาใหค้ วามรคู้ รบตามหลักสูตรกาหนด 18 11 3 4.47 มากทส่ี ุด 3.ความสามารถในการถ่ายทอดความรขู้ องวิทยากร 20 12 4.63 มากทส่ี ุด 4.เนื้อหาวิชาทจ่ี ดั การเรียนรตู้ รงตามความต้องการ 25 7 4.78 มากทส่ี ุด ของทา่ นเพียงใด ด้านสถานที่/สอื่ อุปกรณ์/ระยะเวลา 5.สถานที่เรยี นเหมาะสมเพียงใด 32 5 มากท่ีสุด 6.จานวนสอื่ /อปุ กรณก์ ารฝึกประกอบการเรยี น 22 10 4.69 มากทีส่ ดุ เพยี งพอเพียงใด 7.ระยะเวลาในการเรียน/ กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด 21 8 3 4.56 มากทสี่ ุด ด้านความรทู้ ี่ได้รับ/การนาความรู้ไปใช้ มากทส่ี ุด 8.ทา่ นได้รบั ความรู้/ทกั ษะ จากการเข้ารว่ ม 29 3 4.91 มาก โครงการ/กจิ กรรมมากเพียงใด
9 จานวน (ร้อยละ) ผตู้ อบ รายการคาถาม ดีมาก ดี ปาน พอใช้ ปรบั ปรงุ แปลผล 9.ทา่ นสามารถนาความรู้/ทักษะท่ีได้ ไปใช้ได้มาก กลาง เพียงใด 10.ท่านได้รบั โอกาสในการเรียนร้เู ท่าเทียมกัน 25 5 2 4.72 มากทส่ี ุด เพียงใด 11.ความร้ทู ไ่ี ด้รับคมุ้ คา่ กบั เวลา และความต้งั ใจ 23 9 4.72 มากที่สดุ เพียงใด 12.ท่านพงึ พอใจต่อหลกั สตู รน้ีเพยี งใด 28 4 4.88 มากที่สดุ รวม 21 11 4.66 มากท่ีสุด 281 90 13 56.38 จากตารางท่ี 3 พบว่าความพึงพอใจของผู้เขา้ ร่วมโครงการจัดกระบวนการเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตร 6 ชั่วโมง โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด และเม่ือพิจารณา เป็นรายข้อพบว่า ข้อคิดเห็นที่มีความพึงพอใจมากที่สุด โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง หลักสูตร 6 ชั่วโมง ด้านวิทยากร วิทยากรให้ความรู้ตรงตามเวลา มีค่าเฉลี่ย ( = 4.38 ) วทิ ยากรให้ความรูค้ รบตามหลักสตู รกาหนด มคี า่ เฉล่ีย ( =4.47 ) ความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้วทิ ยากร มีค่าเฉล่ีย ( = 4.63 ) เน้อื หาวิชาที่จัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของท่านเพียงใด มีค่าเฉลย่ี ( =4.78 ) ด้านสถานที่/ส่ืออุปกรณ์/ระยะเวลา สถานที่เรียนเหมาะสมเพียงใด มคี ่าเฉล่ีย ( = 5 ) จานวนสื่อ/อุปกรณ์การ ฝึกประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด มคี ่าเฉลย่ี ( = 4.69 ) ระยะเวลาในการเรยี น/กจิ กรรมเหมาะสมเพยี งใด มีค่าเฉลี่ย ( = 4.56 ) ด้านความรู้ท่ีได้รับ/การนาความรู้ไปใช้ ท่านได้รับความรู้/ทักษะ จากการเข้าร่วม โครงการ/กิจกรรมมากเพียงใด มีค่าเฉล่ีย ( = 4.91 ) ท่านสามารถนาความรู้/ทักษะที่ได้ ไปใช้ได้มากเพียงใด มคี ่าเฉล่ีย ( = 4.72 ) ทา่ นได้รับโอกาสในการเรยี นรู้เท่าเทยี มกันเพียงใด มีค่าเฉล่ีย ( =4.72 ) ความรู้ ที่ได้รับคุ้มค่ากับเวลา และความต้ังใจเพียงใด มีค่าเฉล่ีย( =4.88 ) ท่านพึงพอใจต่อหลักสูตรน้ีเพียงใด มี ค่าเฉล่ยี ( = 4.66 )
10 สรปุ ตารางที่ 5 สรปุ ผลการดาเนนิ งานตามโครงการ ตวั ช้วี ัด เกณฑ์ ผลการ เป้าหมายการบรรลุ หมายเหตุ ดาเนนิ งาน บรรลุ ไม่บรรลุ - ความพึงพอใจของผู้เข้า ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วม รบั การอบรมและปฏบิ ตั ิ โครงการมีความพึงพอใจ ร้อยละ 85 ระดบั มากขนึ้ ไป 1. จุดเดน่ ของแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมครงั้ นี้ ในการจัดกจิ กรรม ในครงั้ นไ้ี ด้รบั ความรว่ มมือจากประชาชนท่ีสนใจในเรื่องของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ทอ่ี าศยั อย่ใู นตาบล 6 ตาบลของอาเภอสุไหงปาดี รว่ มกิจกรรมด้านหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การจดั ทา บัญชีครัวเรือน บรรยาย ศึกษาเรียนรู้ สาธิต และปฏิบัติ การทาเกษตรผสมผสาน ทุกคนร่วมกิจกรรมอย่าง สนุกสนาน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างกัน และได้รับความร่วมมือ จากคณะวิทยากรโครงการฟาร์มตัวอย่างใน สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ครบทุกกระบวนการได้อย่างสมบูรณ์ เป็นไปตามความต้องการของ ผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ 2. จดุ ท่ีควรพัฒนาของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมครัง้ นี้ กจิ กรรมมคี วามตอ่ เนอื่ ง 3. ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพฒั นาของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมคร้ังน้ี ควรมีการติดตามผู้เรียนว่าได้นาความรู้ไปใช้ในการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด และนาไปต่อยอด หรอื ไม่
11 คณะผู้จดั ทา ทป่ี รกึ ษา วัฒนสทิ ธ์ิ ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอสุไหงปาดี มามะ ครูผู้ช่วย/หัวหน้าการศกึ ษาต่อเน่อื ง ๑. นางหทยั กาญจน์ ๒. นายสมบูรณ์ ยูโซะ ครูผชู้ ว่ ย มามะ ครผู ู้ชว่ ย รวบรวมขอ้ มลู ดารอเดร์ ครผู ู้ช่วย สิงหะ ครผู ชู้ ว่ ย ๑. นายมูฮมั หมดั อัสรี ตาเยะ ครูผู้ช่วย ๒. นายสมบูรณ์ แวนาแว ครูผชู้ ว่ ย ๓. นายอัลนากิฟท์ นลิ วัตน์ ครผู ชู้ ว่ ย ๔. นายนุรอสั วาน มะเก ครูผชู้ ่วย ๕. นางแวนูรไอนี ศรจี รัส ครูผู้ช่วย ๖. นางมัทมา วจีอสิ มัย ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียนประจาตาบล ๗. นางรจนา บินนิเด็ง ครอู าสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี นประจาตาบล ๘. นางยูไนดะห์ ตาเยะ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น ๙. นางสาววาทณี ี ประจาศนู ย์การเรยี นชมุ ชน ๑๐.นางสาวมธรุ า สิงหะ ครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี น ๑๑.นายนไิ ยลานี ประจาศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชน ๑๒.นายอาหามะ สอื แม ครอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรยี น ประจาศูนย์การเรียนชมุ ชน ๑๓.นางยามีละห์ อดุ มเพ็ชร์ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น ประจาศนู ยก์ ารเรยี นชมุ ชน ๑๔.นางสาวจันทริ า ยนู ุ๊ ครอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรยี น ประจาศนู ยก์ ารเรียนชุมชนตาบล ๑๕.นางสทุ ธดิ า มะดาแฮ ครอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน ประจาสถาบันศึกษาปอเนาะ ๑๖.นางสาวรุสนีดา อับดุลเลาะ ครอู าสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี น ประจาสถาบันศกึ ษาปอเนาะ ๑๗.ว่าท่ีร้อยตรีสหฐั ๑๘.นางมารยี านา
12 เรยี บเรยี ง / จดั พิมพ์ / ครผู ชู้ ่วย นายมฮู ัมหมดั อสั รี ยโู ซะ ครูผู้ชว่ ย บรรณาธิการ นายมูฮัมหมดั อสั รี ยูโซะ
13 ภาคผนวก
14 ภาพกจิ กรรม การจดั กระบวนการเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการจัดกระบวนการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลกั สูตร 6 ชั่วโมง วนั ที่ 22 ธนั วาคม 2563 ณ ฟาร์มตวั อย่างในสมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ บ้านโคกโก ตาบลโตะ๊ เดง็ อาเภอสุไหงปาดี จงั หวดั นราธวิ าส
15 ภาพกจิ กรรม การจดั กระบวนการเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการจัดกระบวนการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลกั สูตร 6 ชั่วโมง วนั ที่ 22 ธนั วาคม 2563 ณ ฟาร์มตวั อย่างในสมเด็จพระนางเจ้าสริ กิ ิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ บ้านโคกโก ตาบลโตะ๊ เดง็ อาเภอสุไหงปาดี จงั หวดั นราธวิ าส
16
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: