Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปช่างปูน ม.8

สรุปช่างปูน ม.8

Published by Piathip Sangseebarng, 2021-07-22 03:58:51

Description: สรุปช่างปูน ม.8

Search

Read the Text Version

คานา การสรปุ ผลการจัดกิจกรรมหลกั สตู รชน้ั เรยี นวิชาชพี ช่างปนู เป็นการจดั เก็บและรวบรวมข้อมูลการ อบรม เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรตู้ อ่ ประชาชนผู้สนใจซ่ึงเป็นการตอบสนองความต้องการของประชาชน ในพ้ืนท่ีเพ่ือให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น ในกระบวนการเรียนรู้จะแตกต่างออกไปตามพื้นท่ีในแต่ละพ้ืนท่ี กลมุ่ เปูาหมาย วถิ ีการดาเนินชวี ติ ท่ีดีข้ึน สภาพแวดล้อมล้วนแต่ส่งผลต่อการเรียนรู้ท้ังส้ิน กระบวนการเรียนรู้ จะประกอบด้วยภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพื่อเป็นการฝึกทักษะเรียนรู้ให้แก่ประชาชนกลุ่มเปูาหมายให้ สามารถนาความรูแ้ ละประสบการณ์ทไ่ี ดไ้ ปปรับประยุกตใ์ ช้ในการดาเนินชวี ติ ตอ่ ไป สรุปผลการจัดกิจกรรมเล่มนี้ ได้เรียบเรียงผลการจัดกิจกรรมหลักสูตรช้ันเรียนวิชาชีพช่างปูน ผจู้ ดั ทาหวังเปน็ อยา่ งยิ่งวา่ จะเป็นประโยชนไ์ ม่มากก็น้อยตอ่ ผู้ที่พบเห็น หากมขี อ้ ผิดพลาดหรือมีข้อเสนอแนะที่ คดิ ว่าจะเปน็ ประโยชน์ กรณุ าแจง้ ผจู้ ดั ทาทราบ เพอื่ ใช้เป็นขอ้ มูลในการปรบั ปรุง แก้ไขข้อมูลในคร้ังต่อไป และ ขอขอบคณุ ไว้ ณ โอกาสน้ี นางสาวเปียทิพย์ แสงสีบาง กศน.ตาบลทา่ สะแก

สารบญั หน้า ก คานา ข สารบัญ ๑ บทท๑ี่ รายงานผลการจดั กิจกรรมหลักสูตรชน้ั เรียนวชิ าชีพช่างปนู ๒ ความเปน็ มา ๕ สถานท่ี วนั /ระยะเวลาทีจ่ ัดกิจกรรม ๑๑ วิทยากร ผู้รับผดิ ชอบ ๑๕ บทท๒่ี หลักสูตรและเอกสารทเี่ กีย่ วขอ้ ง บทท๓ี่ การดาเนนิ กจิ กรรมการเรยี นการสอน การดาเนินการจดั กิจกรรม ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการจัดกจิ กรรม การเก็บรวบรวมขอ้ มูล การวเิ คราะหข์ ้อมลู ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน บทท๔่ี สรุป อภปิ ราย และข้อเสนอแนะ การดาเนนิ การจัดกจิ กรรม สรปุ ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ขอ้ เสนอแนะ ภาคผนวก ภาพกจิ กรรม คณะผู้จดั ทา

บทที่ 1 รายงานผลการจดั กจิ กรรม หลักสูตรช้ันเรียนวิชาชีพชา่ งปูน ความเปน็ มา หลักสูตรชั้นเรียนวิชาชีพช่างปูน ได้จัดทาขึ้นในปีงบประมาณ 2564 โดยเน้ือหาหลักสูตร มาจากการสารวจความต้องการในด้านอาชีพของประชาชน หมู่ 8 บ้านศรีจันทร์ ตาบลท่าสะแก อาเภอ ชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งมีความต้องการให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในวิชาดังกล่าว เพ่ือเป็นการเสริมสร้างอาชพี และพฒั นาตอ่ ยอดเป็นอาชพี ในชุมชน การสรุปรายงานการจัดกิจกรรมหลักสูตรชั้นเรียนวิชาชีพช่างปูน เป็นส่วนหน่ึงท่ีสามารถ นาไปใช้ในการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นฐานพุทธศักราช 2551 ท่ีมีหลักการ ศึกษาทม่ี งุ่ ให้ผูเ้ รียนคิดเปน็ แกป้ ญั หาเปน็ เนน้ การเรยี นรูแ้ บบบรู ณาการ และการปฏิบัติจริง สอดคล้องกับวิถี ชีวิต นาไปประยกุ ต์ใช้ในการดาเนินชวี ติ และการประกอบอาชีพได้ทันที สามารถพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนให้ เหน็ คณุ ค่า มคี วามเชือ่ มั่นในตนเอง สามารถพึ่งพาตนเองได้ ตลอดจนแสวงหาความรู้ในการพัฒนาตนเองและ สังคมอย่างตอ่ เนื่องตลอดชวี ิตโดยใชว้ ธิ กี ารเรยี นอย่างเหมาะสม ใหผ้ ู้เรียนได้เรียนรู้ในการค้นหาคาตอบได้ด้วย ตนเอง การจะหาคาตอบได้ด้วยตนเองนัน้ ผเู้ รยี นตอ้ งมีทกั ษะ กระบวนการคิด วิเคราะห์ และลงมือฝึกปฏิบัติ ลองผดิ ลองถกู จนค้นพบวธิ ที ีเ่ หมาะสมท่ีสดุ แนวทางสาคญั ในการดาเนินการต้องเริม่ จากตัวผู้เรียน ให้ผู้เรียนมี โอกาสได้เลือกเรยี น เพื่อความเหมาะสมกับตัวของผูเ้ รียนเอง โดยการนาขอ้ มลู ของผู้เรยี นแต่ละคนมาใช้ในการ จัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ั้งรายบุคคลและเป็นกลมุ่ เพอ่ื เชอ่ื มโยงกบั หลักสตู ร และชุมชน การสรุปรายงานผลการจดั กิจกรรมกล่มุ หลกั สตู รช้นั เรียนวิชาชีพช่างปูน เป็นการสะท้อนผล การดาเนินงาน อุปสรรคปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อปรับปรุงหลักสูตร ชา่ งเชื่อม เป็นการพฒั นาคุณภาพชีวิต ศักยภาพของผเู้ รียนให้มีประสิทธิภาพต่อไป สถานที่ ศาลปูุทดิ น้อย หมู่ 8 บา้ นศรจี ันทร์ ตาบลท่าสะแก อาเภอชาตติ ระการ จังหวัดพษิ ณุโลก วัน / ระยะเวลาท่ีจดั กิจกรรม - ระหวา่ งวนั ท่ี 13 – 21 กรกฎาคม 2564 - ระหว่างเวลา 09.00 – 15.00 น. - หลักสูตร 40 ชว่ั โมง - วันละ 5 ชั่วโมง หมายเหตุ เรยี นวนั จนั ทร-์ วันเสาร์ (เว้นวันอาทติ ย์) วทิ ยากร นายพัฒนพงษ์ จันทะคณุ ผูร้ ับผดิ ชอบ นางสาวเปยี ทิพย์ แสงสีบาง ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบลท่าสะแก

บทที่ 2 หลกั สตู รและเอกสารท่เี กย่ี วขอ้ ง การส่งเสรมิ การจดั กระบวนการเรียนรู้ ในพระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ ได้กาหนด บทบาทในการส่งเสรมิ การเรยี นรู้ของรฐั และสถานศกึ ษาต่าง ๆ ดงั น้ี 1. รฐั ตอ้ งสง่ เสริมการดาเนนิ งาน และการจดั ตงั้ แหลง่ การเรียนรูต้ ลอดชีวติ ทกุ รปู แบบ ไดแ้ ก่ หอ้ งสมุดประชาชน พพิ ธิ ภณั ฑ์ หอศิลป์ สวนสตั ว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยาน วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ศูนย์การกีฬาและนันทนาการ แหล่งขอ้ มูล และแหลง่ การเรยี นรู้ อย่างเพียงพอ และมีประสทิ ธิภาพ 2. ให้คณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน กาหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานเพ่ือความเปน็ ไทย ความเปน็ พลเมืองดขี องชาติ การดารงชวี ิตและการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อ การศึกษาต่อ 3. ใหส้ ถานศึกษาข้นั พื้นฐาน มหี น้าทจ่ี ัดทาสาระของหลักสูตรในส่วนท่ีเก่ยี วข้องกับ สภาพปัญหาในชมุ ชนและสังคม ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพ่ือเปน็ สมาชิกท่ดี ีของ ครอบครวั ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ 4. หลกั สตู รการศกึ ษาระดับตา่ ง ๆ ตอ้ งมลี ักษณะหลากหลายเหมาะสมกับแต่ละระดบั โดยมุ่งพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของบคุ คล สาระของหลกั สตู ร ทั้งที่เป็นวิชาการ วิชาชพี ตอ้ งมงุ่ พฒั นาคนให้มีความ สมดุล ทั้งดา้ นความรู้ ความคดิ ความสามารถ ความดีงาม และความรับผิดชอบต่อสงั คม 5. ให้สถานศึกษารว่ มกบั บุคคล ครอบครัว ชมุ ชน องค์กรชมุ ชน องค์กรปกครองสว่ น ทอ้ งถนิ่ เอกชน องคก์ รเอกชน องคก์ รวิชาชีพ สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอ่นื สง่ เสริมความเข้มแขง็ ของชุมชน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชมุ ชน เพอ่ื ให้ชมุ ชนมีการจัดการศึกษา อบรม มกี ารแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร และร้จู ักเลือกสรรภูมิปัญญา และวิทยาการตา่ ง ๆ เพอื่ พัฒนา ชุมชนในสอดคลอ้ งกับสภาพปัญหาและความตอ้ งการ รวมทัง้ หาวธิ ีการสนับสนนุ ให้มีการเปล่ยี นแปลง ประสบการณก์ ารพฒั นาระหวา่ งชุมชน 6. ให้สถานศึกษาพฒั นากระบวนการเรยี นการสอนท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ รวมทัง้ การ ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้สอนสามารถวจิ ัยเพ่ือพฒั นากระบวนการเรียนร้ทู เ่ี หมาะสมกบั ผ้เู รยี นในแตล่ ะระดบั การศกึ ษา การศึกษาประกอบด้วยองคป์ ระกอบต่าง ๆ ทีม่ ีสว่ นชว่ ยเหลอื เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการ เรยี นการสอน แนวทางในการจดั กระบวนการเรียนรู้เพียงอย่างเดยี วไม่สามารถทาใหก้ ารจดั การศึกษาดาเนนิ ไปไดอ้ ยา่ งราบรน่ื ตอ้ งอาศัยการสง่ เสริมการจัดกระบวนการเรียนร้ใู นรปู แบบตา่ ง ๆ ดว้ ย การจัดการศึกษาท่ี เกย่ี วข้องกับภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ต้องสอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหา และความตอ้ งการของแตล่ ะท้องถน่ิ ดว้ ย แนวคิดของการศกึ ษาตลอดชีวิต เป็นการศกึ ษาที่มคี วามจาเปน็ สาหรับบุคคลในทกุ ชว่ งชวี ติ ต้ังแต่เกิดจนตาย บุคคลมีความสามารถท่จี ะเรยี นรไู้ ดต้ ลอดชีวติ การศึกษา มไิ ด้สนิ้ สุดเมอ่ื บุคคลจบจาก โรงเรยี นหรือสถาบนั การศกึ ษาการศึกษาตลอดชีวิตเน้นความเสมอภาคความเทา่ เทียมกนั ในโอกาสทาง การศกึ ษาการศกึ ษาตลอดชีวิตควรมคี วามยืดหยุ่นหลากหลายรปู แบบ และวิธีการเพื่อเปิดโอกาสให้ทกุ คน เรยี นรู้สามารถเลือกวธิ เี รยี นท่เี หมาะสมกบั ความสามารถของตนการศึกษาตลอดชีวติ มุ่งใหบ้ ุคคลได้พัฒนา อยา่ งเต็มศกั ยภาพพฒั นาคณุ ภาพชีวติ และพง่ึ ตนเองได้ สิง่ ที่ใหบ้ คุ คลเรียนรคู้ วรสมั พนั ธเ์ ก่ียวข้องกบั วถิ ชี ีวิต บคุ คลควรไดร้ บั ความรูแ้ ละทักษะที่จาเปน็ ในการดาเนนิ ชีวิตและการประกอบอาชพี รวมทั้งทกั ษะในการ แสวงหาความรู้ หรือมีเคร่ืองมอื ในการแสวงหาความรู้ตอ่ ไป การศึกษาตลอดชวี ติ เป็นภาพรวมของการศึกษา ท้ังหมดครอบคลมุ การศึกษาทุกประเภท ทกุ ระดับทเี่ กิดจากการผสมผสานระหวา่ งระบบการศกึ ษาที่จัด สัดสว่ นของการศึกษาไว้ 3 ประเภท คอื

1. การศกึ ษาในระบบ เป็นการศกึ ษาทกี่ าหนดจุดมงุ่ หมาย วิธกี ารศกึ ษา หลกั สูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมินผล ซึ่งเป็นเง่ือนไขสาคัญของการสาเรจ็ การศึกษาท่แี น่นอน 2. การศกึ ษานอกระบบ เป็นการศกึ ษาที่มีความยดื หยนุ่ ในการกาหนดจดุ มงุ่ หมาย รูปแบบ วธิ กี ารจดั การศกึ ษา ระยะเวลาของการศกึ ษา การวัดและการประเมินผล ซ่ึงเปน็ เงือ่ นไขสาคญั ของการสาเรจ็ การศกึ ษา โดยเนือ้ หาและหลักสูตรจะตอ้ งมีความเหมาะสมสอดคล้องกบั สภาพปญั หาและความตอ้ งการของ บคุ คลแต่ละกลุม่ ตวั อย่าง เชน่ การจดั กล่มุ เรยี นตามความสนใจของผเู้ รยี น การเรียนหรอื การฝกึ อบรม หลักสตู รระยะสน้ั เปน็ ต้น 3. การศึกษาตามอธั ยาศยั เป็นการศึกษาที่ให้ผูเ้ รยี นไดเ้ รยี นรดู้ ว้ ยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สงั คม สงิ่ แวดล้อม ส่อื หรอื แหล่ง ความรู้อ่นื ๆ เช่น การฝึกฝนและปฏบิ ตั งิ านกบั พอ่ แม่ หรอื สถานประกอบการ การศึกษาดว้ ยตนเองจาก หนงั สอื และสื่อตา่ ง ๆ เปน็ ต้น ปจั จบุ นั ภารกจิ ของการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ไดข้ ยายออกไปอย่าง กว้างขวาง สามารถแบ่งภารกิจหลักได้ 3 ประเภท คือ 1. ส่งเสริมการศึกษาในระบบโรงเรียน โดยจัดกจิ กรรมเพื่อสง่ เสรมิ การเรยี นการสอนใน ระบบโรงเรียนในรูปแบบของการใชส้ ื่อเทคโนโลยีการศกึ ษา สอื่ รายการวทิ ยุ โทรทัศน์เพื่อการศกึ ษา สื่อการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม และการจัดนิทรรศการวิทยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษา 2. จดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น โดยมุ่งจดั การศกึ ษาใหก้ ับประชาชนและผูด้ อ้ ยโอกาสทอี่ ยู่ นอกระบบโรงเรยี นให้ไดร้ ับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน อา่ นออก เขยี นได้ รวมท้งั การจดั การศกึ ษาสายสามญั และ สายอาชีพในรปู แบบตา่ ง ๆ เพอื่ ยกระดบั การศึกษาและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ใหก้ ับกลุม่ เปูาหมาย 3. สง่ เสริมการศึกษาตามอัธยาศัย โดยจดั กิจกรรมการเรียนรู้สอดคลอ้ งกับวิถชี ีวติ อยา่ ง ตอ่ เน่อื ง เพือ่ ให้ประชาชนไดร้ ับข้อมลู ข่าวสารท่ีจาเป็นและทันสมัย รู้เท่าทนั การเปล่ยี นแปลงของสังคมโลกท่ี เป็นไปอย่างรวดเรว็ ในยคุ โลกาภวิ ัฒน์ สามารถแสวงหาความรู้ไดด้ ว้ ยตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ิตจากแหลง่ ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ห้องสมุดประชาชน ที่อ่านหนังสอื ประจาหมู่บา้ น ศนู ย์การเรยี นชุมชน ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศึกษา และรายการวทิ ยโุ ทรทศั น์ เปน็ ต้นโดยสรปุ ภารกิจท้ังหมดดงั กล่าว ก็เพื่อจัดการศกึ ษาตลอดชวี ติ ให้แกป่ ระชาชนทีอ่ ยู่ทัง้ ในและนอกระบบโรงเรยี นใหม้ โี อกาสไดร้ บั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ทกั ษะอาชีพ และ ขา่ วสารขอ้ มูลทท่ี ันสมยั ในทกุ ชว่ งเวลาทตี่ อ้ งการ ในรปู แบบของการศึกษาตลอดชีวติ จัดการศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชีพ เปน็ การศกึ ษาเพื่อพฒั นาความรู้ความสามารถและทักษะใน การประกอบอาชีพของบคุ คลและกล่มุ บุคคล ซงึ่ มีจดุ มุง่ หมายในชีวติ ท่ีตา่ งกัน โดยมสี าระดังน้ี 1. การเรยี นรู้อาชีพแบบองค์รวมทีป่ ระชาชน ครู กศน.และผูเ้ กย่ี วข้องรว่ มกันจัดกิจกรรม การเรยี นรู้ เพือ่ ฟนื้ ฟูเศรษฐกิจชมุ ชน 2. การออกแบบการเรียนรู้งานอาชีพตามลกั ษณะของการจดั การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาอาชพี ใน รูปแบบการฝึกทกั ษะอาชีพ การเขา้ สอู่ าชพี การพฒั นาอาชพี และการพฒั นาอาชพี ด้วยเทคโนโลยี 3. การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริงท่ีบรู ณาการกับวิถีชีวติ โดยใช้วงจรกระบวนการคดิ ทา จา แกป้ ัญหาและพัฒนา 4. การจดั การศึกษาเพ่อื พัฒนาอาชีพทพ่ี ฒั นาศักยภาพของบุคคลและชุมชนท่ีสอดคลอ้ งกบั วิถีชีวิต โดยสง่ เสรมิ การรวมกล่มุ อาชีพ สรา้ งเครือข่ายอาชีพ มรี ะบบการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ความรู้และ ประสบการณ์ การทาอาชีพภายใต้วฒั นธรรมของชุมชน มีกลยุทธเ์ พอ่ื การแขง่ ขันของชุมชน เป็นชุมชนที่ใช้ เทคโนโลยีในการบรหิ ารจัดการและพฒั นาอาชีพ

กศน.อาเภอชาติตระการ ได้ดาเนินการจดั กจิ กรรมตามรูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรียนการ สอนมีการบูรณาการการจัดการเรยี นรูเ้ พอื่ ใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รยี น แสดงถงึ ภาพสาเรจ็ ในการพัฒนาคณุ ภาพ ผ้เู รียน กิจกรรมการเรยี นรจู้ ากภูมปิ ัญญาท้องถิ่นทเ่ี ปน็ สว่ นหน่งึ ในการพฒั นาศักยภาพของผู้เรียน ในการ จดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผ้เู รียนเป็นสาคญั การเรียนการสอนมงุ่ เนน้ ประโยชนข์ องผ้เู รยี นเป็นสาคัญ จงึ ต้อง จดั ให้ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรจู้ ากประสบการณ์จรงิ ฝกึ ปฏิบตั ิให้ทาได้ คิดเป็น มนี สิ ัยรกั การเรยี นรู้ และเกิดการใฝุ เรยี นอยา่ งตอ่ เนือ่ งตามแนวคดิ ของการศึกษาตลอดชีวติ

บทที่ 3 การดาเนนิ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ผูด้ าเนนิ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนหลกั สตู รชัน้ เรียนวชิ าชีพชา่ งปนู ได้ดาเนินการใน การอบรม เก็บรวบรวมขอ้ มูล และการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดังนี้ 3.1 การดาเนนิ การจดั กิจกรรม 1. เตรียมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน - ประชุมวางแผนรูปแบบการจัดกจิ กรรม - เลอื กหลักสูตรวชิ าชพี ทจี่ ะจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน - มอบหมายงานใหบ้ ุคลากรทเี่ กีย่ วข้อง - ติดตอ่ ประสางานในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน 2. วิธกี ารดาเนนิ งาน - เขยี นขออนญุ าตจัดตงั้ กลมุ่ ชัน้ เรยี นวชิ าชีพ - เสนอขออนญุ าตจดั ต้งั กลุ่มชนั้ เรียนวชิ าชพี - เตรียมการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. เตรยี มการกอ่ นการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน - การจดั เตรียมเอกสารการเรยี นการสอน - ตดิ ต่อสถานที่ - ติดต่อวทิ ยากร - อืน่ ๆ 2. ตดิ ต่อประสานงานเครือขา่ ย - จัดการอบรมกลมุ่ ช้นั เรียนวชิ าชพี ตามแผนท่ีวางไว้ 1. ลงทะเบียนผ้เู ขา้ ร่วมการกิจกรรมการเรียนการสอน 2. วิทยากรใหค้ วามรู้ เรอื่ ง ช่างปนู 3. จดั กจิ กรรมกลมุ่ ยอ่ ย 4. สรุปกจิ กรรมยอ่ ย 5. ปิดการอบรม - สรปุ รายงานผลการจัดกจิ กรรมหลักสูตรชั้นเรียนวิชาชพี ชา่ งปูน เป็นรูปเลม่ - รายงานผลการจดั กจิ กรรมหลักสตู รชน้ั เรยี นวชิ าชีพช่างปูน ให้ผทู้ ่ีเกย่ี วข้องรับทราบ 3.2 ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม ผูเ้ ขา้ รว่ มกิจกรรมหลักสูตรชัน้ เรียนวิชาชพี ช่างปูน จานวน 15 คน - เพศชาย จานวน 12 คน - เพศหญงิ จานวน 3 คน ผู้จัดกิจกรรมจานวน 1 คน 3.3 เครือ่ งมอื ท่ีใช้ในการจัดกจิ กรรม - ข้อมลู ปฐมภมู ิ ได้จากการกรอกแบบสอบถามของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรม - ข้อมูลทุติยภูมิ ศกึ ษาจากเอกสาร ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ที่เก่ียวขอ้ ง

3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู วเิ คราะห์แบบสอบถามในแต่ละส่วน ดงั นี้ ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล ตอนที่ 2 ประเมินความพงึ พอใจในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ตอนที่ 3 สรปุ ขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะ สรุปเป็นประเดน็ ทส่ี าคญั สถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู คือ ค่าเฉล่ยี โดยใชส้ ตู รดงั น้ี 3.4.1 คา่ รอ้ ยละ (%) P =  100 เมือ่ p แทน ร้อยละ F แทน จานวนผ้ตู อบแบบสอบถาม n แทน จานวนทงั้ หมด 3.4.2 คา่ เฉลี่ย ( x ) = เมอ่ื x แทน ค่าเฉลย่ี  x แทน จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม n แทน จานวนทัง้ หมด 3.5 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 0.00 – ๑.49 หมายถึง มีความพงึ พอใจนอ้ ยทสี่ ุด มคี วามพงึ พอใจน้อย ๑.50 – 2.๔9 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง ๒.๕0 – ๓.๔๙ หมายถงึ มีความพึงพอใจมาก มีความพงึ พอใจมากท่ีสุด 3.๕๐ – 4.49 หมายถงึ 4.50 – 5.00 หมายถึง

ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน จากการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนหลกั สูตรชนั้ เรยี นวชิ าชีพช่างปนู ไดม้ ีการสารวจความ พงึ พอใจของผูเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมท่มี ีต่อรูปแบบการจัดกจิ กรรม จานวน 15 คน โดยวิธีการตอบแบบสอบถาม จงึ ได้มกี ารนาเสนอขอ้ มูลในรปู ตารางประกอบคาบรรยาย โดยแบง่ ออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคล ตอนท่ี 2 ประเมนิ ความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ (กิจกรรมการเรยี นการสอน) ตอนที่ 3 สรุปขอ้ คิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะ สรุปเป็นประเดน็ ทีส่ าคัญ 3.1 ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางท่ี 1 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามเพศ เพศ จานวน ( n = 15 ) รอ้ ยละ ชาย 12 80.00 หญิง 3 20.00 รวม 15 ๑๐๐ จากตารางที่ 1 ผลการศกึ ษาพบวา่ ผู้เข้ารว่ มอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คดิ เป็นร้อยละ 80.00 รองลงมา คือ เพศหญงิ คิดเป็นร้อยละ 20.00 ตารางที่ 2 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามอายุ อายุ จานวน ( n = 15 ) ร้อยละ ตา่ กวา่ 15 ปี -- 15 – 39 ปี -- 40 – 59 ปี 15 100.00 60 ปขี น้ึ ไป -- รวม 15 100 จากตารางที่ 2 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เข้ารว่ มอบรมท้งั หมด มีชว่ งอายรุ ะหว่าง 40 – 59 ปี คดิ เป็นรอ้ ยละ 100.00 ตารางท่ี 3 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามระดบั การศกึ ษาสงู สุด ระดบั การศกึ ษาสูงสดุ จานวน ( n = 15 ) ร้อยละ ต่ากวา่ ประถมศึกษา 1 6.66 ประถมศึกษา 7 46.67 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 3 20.00 มธั ยมศึกษาตอนปลาย 4 26.67 ปริญญาตรี -- อน่ื ๆ - - รวม 15 100 จากตารางที่ 3 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เขา้ ร่วมอบรมสว่ นใหญ่มรี ะดับการศกึ ษาสูงสุด คือ ระดบั ประถมศกึ ษา ร้อยละ 46.67 รองลงมา คือ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 26.67 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ คิดร้อยละ 20.00 และตา่ กวา่ ประถมศกึ ษา ร้อยละ 6.66

ตารางท่ี 4 แสดงจานวน รอ้ ยละจานวนตามอาชพี อาชีพ จานวน ( n = 15 ) ร้อยละ เกษตรกร 15 100.00 รับจ้าง - ค้าขาย - - นกั เรียน/นักศึกษา - - รวม 158 - 100 จากตารางท่ี 4 ผลการศกึ ษาพบว่า ผู้เขา้ ร่วมอบรมทง้ั หมดประกอบอาชีพเกษตรกร คดิ เปน็ ร้อยละ 100.00 ตารางท่ี 5 แสดงจานวน รอ้ ยละจานวนตามรายไดต้ อ่ เดือน รายไดต้ ่อเดือน จานวน ( n = 18 ) รอ้ ยละ ต่ากว่า 5,000 บาท 6 40.00 5,001 – 10,000 บาท 9 60.00 10,001 – 20,000 บาท - มากกว่า 20,000 บาท - - รวม 18 - 100 จากตารางที่ 5 ผลการศึกษาพบว่าผู้เข้าร่วมอบรมมรี ายได้ตอ่ เดือน 5,001 – 10,000 บาท คิดเปน็ ร้อยละ 60.00 รองลงมา คือ รายไดต้ ่ากว่า 5,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 40.00

3.2 ตอนที่ 2 การวิเคราะหข์ ้อมูลเกี่ยวกบั ความพงึ พอใจในการจัดกจิ กรรม ตารางท่ี 6 แสดงจานวน รอ้ ยละ และคา่ เฉล่ยี ของความพงึ พอใจของผู้เข้าร่วมอบรมทีม่ ตี ่อการจัดกจิ กรรม การเรียนการสอน ระดบั ความพงึ พอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาความรู้ไปใช้ ประเด็นความคิดเห็น มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยท่สี ดุ ค่าเฉล่ยี อยู่ใน 5 4 3 2 1 ระดบั ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา้ นเนื้อหา = 4.60 1.1 เนอื้ หาตรงตามความ 9 6 - - - 4.60 มาก (60.00%) (40.00%) ตอ้ งการ ที่สุด 1.2 เนอ้ื หาเพยี งพอต่อความ 10 5 - - - 4.67 มาก ต้องการ (66.67%) (33.33%) - ทส่ี ดุ 1.3 เนอ้ื หาปัจจุบนั ทนั สมยั 8 7 - - 4.53 มาก (53.33%) (46.67%) ทส่ี ดุ 1.4 เนอ้ื หามีประโยชนต์ อ่ การ นาไปใช้ในการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ 9 6 - - 4.60 มาก (60.00%) (40.00%) ทส่ี ดุ ตอนที่ 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม = 4.48 - 4.33 มาก 2.1 การเตรียมความพร้อมกอ่ น 7 7 1 - อบรม (46.67%) (46.67%) (6.66%)- 2.2 การออกแบบกจิ กรรม 10 5 - - 4.67 มาก เหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ (66.67%) (33.33%) ทส่ี ดุ 2.3 การจัดกิจกรรมเหมาะสม 9 6 - - - 4.60 มาก ที่สุด กับเวลา (60.00%) (40.00%) 2.4 การจัดกจิ กรรมเหมาะสม 9 6 - - - 4.60 มาก ที่สุด กบั กลมุ่ เปาู หมาย (60.00%) (40.00%) 2.5 วิธกี ารวัดผล/ประเมินผล 7 7 1 - - 4.20 มาก เหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ (46.67%) (46.67%) (6.66%)- ตอนที่ 3 ความพงึ พอใจต่อวิทยากร = 4.51 3.1 วิทยากรมคี วามรู้ 10 4 1 - - 4.40 มาก ความสามารถในเร่อื งท่ถี า่ ยทอด (66.67%) (26.67%) (6.66%)- 3.2 วิทยากรมเี ทคนคิ การ 78 - - - 4.47 มาก ถา่ ยทอดใช้สื่อเหมาะสม (46.67%) (53.33%) 3.3 วิทยากรเปดิ โอกาสใหม้ ี 10 5 - - 4.67 มาก ส่วนรว่ มและซักถาม (66.67%) (33.33%) ท่สี ุด

ระดบั ความพึงพอใจ/ความรู้ความเข้าใจ/การนาความรู้ไปใช้ ประเด็นความคดิ เหน็ มากทีส่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยทส่ี ดุ ค่าเฉลยี่ อยู่ใน 5 4 3 2 1 ระดบั 4. ความถึงพอใจด้านการอานวยความสะดวก = 4.24 4.1 สถานที่ วัสดุ อปุ กรณแ์ ละ 9 6 - - - 4.60 มาก สงิ่ อานวยความสะดวก (60.00%) (40.00%) ทส่ี ดุ 4.2 การส่อื สาร การสร้าง 7 6 -2 - - 3.93 มาก บรรยากาศเพอื่ ใหเ้ กิดการเรยี นรู้ (46.67%) (40.00%) (13.33%)- 4.3 การบรกิ าร การช่วยเหลือ 7 7 1 - - 4.20 มาก และการแก้ปัญหา (46.67%) (46.67%) (6.66%)- 5. ความพึงพอใจด้านการนาความรไู้ ปใช้ = 4.60 5.1 สามารถนาความรู้ทีร่ ับไป 9 6 - - - 4.60 มาก ประยุกต์ใช้ในการปฏิบตั งิ านได้ (60.00%) (40.00%) ทสี่ ดุ 5.2 สามารถนาความรไู้ ป 9 6 - - - 4.60 มาก เผยแพร่/ถา่ ยทอดแก่ชุมชนได้ (60.00%) (40.00%) ทส่ี ุด 5.3 มคี วามมน่ั ใจและสามารถ 9 6 - - - 4.60 มาก นาความรูท้ ไ่ี ดร้ บั ไปใช้ได้ (60.00%) (40.00%) ทส่ี ดุ รวมท้ังสนิ้ 155 109 6 - - 4.49 มาก (57.41%) (40.37%) (2.22%) คา่ เฉล่ยี ถว่ งนา้ หนกั 4.49 ระดับความคดิ เหน็ มาก จากตารางท่ี 6 จากการศกึ ษาพบวา่ ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมมีความพงึ พอใจ 1. ความพงึ พอใจด้านเน้อื หา อยู่ในระดบั มากที่สดุ ค่าเฉลย่ี = 4.60 2. ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม อยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉลี่ย = 4.48 3. ความพงึ พอใจต่อวิทยากร อยใู่ นระดบั มากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย = 4.51 4. ความพงึ พอใจดา้ นการอานวยความสะดวก อยู่ในระดบั มาก ค่าเฉล่ยี = 4.24 5. ความพึงพอใจดา้ นการนาความรูไ้ ปใช้ อยใู่ นระดบั มากที่สุด คา่ เฉลี่ย = 4.60 สรปุ ภาพรวมความพงึ พอใจของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ ทั้งหมด อย่ใู นระดับ มาก มคี ่าเฉล่ีย = 4.49 ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ พบวา่ ผู้เขา้ รว่ มการอบรมมีความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ ดงั น้ี 1. ผู้เขา้ ร่วมอบรมมสี ว่ นร่วมเปน็ อย่างมาก มีรปู แบบการอบรมทดี่ ีมาก 2. ให้ความเป็นกนั เอง ทาใหผ้ ู้รว่ มการสมั มนา กลา้ ซักถาม แลกเปล่ยี นความคิดเห็น 3. อยากใหม้ ีวัสดุอปุ กรณ์มากกวา่ น้ี หมายเหตุ คิดคะแนนเฉพาะท่ีความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากขน้ึ ไป

บทท่ี 4 สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนกล่มุ ชัน้ เรียนวิชาชีพช่างปูน มจี ุดประสงค์ในการจดั กจิ กรรมดังน้ี 1. เพ่อื ให้ผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมเกดิ ความร้คู วามเข้าใจ เกย่ี วกับการเทพืน้ ปูน การฉาบ 2. เพอื่ ใหผ้ ู้เข้าร่วมกจิ กรรมมีการแลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับแนวทางการ จดั กจิ กรรมการเทพ้ืนปูน การฉาบของตนเอง 3. เพ่ือเปน็ การลดรายจา่ ยในครอบครัว และเปน็ การพฒั นาคุณภาพชีวติ ของผเู้ ขา้ ร่วม กจิ กรรมใหด้ ยี ง่ิ ข้ึน 4. เพ่ือสง่ เสรมิ ความร่วมมือและการจดั กจิ กรรมการเรียนร้กู ารศกึ ษาอาชีพของผเู้ รยี น ผู้รับบรกิ ารกบั สถานศึกษา 5. เพื่อร่วมวเิ คราะห์ และสงั เคราะหร์ ปู แบบ กระบวนการจดั และผลสาเรจ็ ที่เกดิ ขึ้นจาก โครงการตามตัวชี้วดั ทกี่ าหนดเป็นตัวชวี้ ัดความสาเร็จตามกลุม่ เปูาหมายจากการประเมนิ เบ้อื งต้น 6. เพอ่ื ศกึ ษาผลการดาเนนิ งาน ประสทิ ธิภาพ และประสิทธผิ ลในการจัดการศึกษาอาชีพ การดาเนนิ การจัดกิจกรรม 4.1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมหลักสูตรช้ันเรียนวิชาชพี ชา่ งปูน จานวน 15 คน - เพศชายจานวน 12 คน - เพศหญิงจานวน 3 คน ผู้จัดกจิ กรรมจานวน 1 คน 4.2 เคร่ืองมอื ทีใ่ ชใ้ นการอบรม - ขอ้ มลู ปฐมภมู ิ ได้จากการกรอกแบบสอบถามของผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม - ขอ้ มูลทุตยิ ภูมิ ศึกษาจากเอกสาร ข้อมูลต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วขอ้ ง 4.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะห์แบบสอบถามในแต่ละสว่ น ดังน้ี ตอนที่ 1 ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล ตอนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ สรปุ เปน็ ประเดน็ ทส่ี าคัญ 4.4 วิธกี ารวเิ คราะห์ข้อมลู ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ผู้จดั ได้ดาเนนิ การ 2 ลกั ษณะ คอื 4.4.1 การสงั เคราะห์เชิงคณุ ลักษณะ ผู้จดั กจิ กรรมทาการสงั เคราะห์โดยใช้วิธีการวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ 3 ดา้ น คือ ข้อมูลท่ัวไป ข้อมลู ความพงึ พอใจในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน และขอ้ เสนอแนะ 4.4.2 การสงั เคราะห์การอบรมเชิงปริมาณ ในการสงั เคราะห์การจัดกจิ กรรมเชงิ ปริมาณ ผจู้ ัดกจิ กรรมแยกออกเป็นคณุ ลกั ษณะตา่ ง ๆ ในการ สังเคราะหข์ ้อมลู ดังน้ี 1. ข้อมลู เกยี่ วกับเพศ / อายุ 2. ขอ้ มลู ระดับความพึงพอใจในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 3. ข้อเสนอแนะ โดยเปรียบเทียบจานวนคนคิดเปน็ ร้อยละในแต่ละสว่ นของขอ้ มลู การอบรมพรอ้ มการบรรยายประกอบ

สรุปผลการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนช้ันเรียนวิชาชพี ชา่ งปูน โดยใชว้ ิธกี ารวเิ คราะห์ สังเคราะห์จากแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนและรูปแบบการจัดกิจกรรม สามารถสรปุ ไดด้ งั นี้ ๑. การสังเคราะหข์ อ้ มลู ทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถามผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมเป็นเพศชาย 12 คน และเพศหญิง 3 คน ตอ้ งการใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์และตอ้ งการตอ่ ยอดอาชพี และพัฒนาอาชีพเพ่อื เปน็ การเพิม่ รายได้ให้กับครอบครัวอกี ทางหน่ึง ๒.ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมท้งั หมดมอี ายอุ ยูร่ ะหว่าง 40 - 59 ปี เนอ่ื งมาจากเปน็ ชว่ งอายุ ทีอ่ ยู่ใน วยั ทางาน และต้องรบั ผดิ ชอบครอบครัว จงึ มีผลทาใหก้ ารหาคา่ รอ้ ยละในช่วงอายนุ ้สี งู กวา่ ชว่ งอน่ื ผลการสังเคราะห์ทางจานวนของผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม จานวนผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมกลมุ่ วชิ าชพี มี อยจู่ ากดั เนื่องจากเปน็ กลมุ่ วิชาชีพต้องมผี ู้เรยี นอยา่ งนอ้ ยจานวน 14 คนข้ึนไป สว่ นใหญ่ผ้เู รยี นจะมาเรียน ตามทกี่ าหนด ผลการคานวณอาจมีความคาดเคลื่อนได้ ถา้ หากมีผู้เรียนเพิ่มขนึ้ อกี จากกล่มุ เปาู หมายปกติ และ งบประมาณการฝึกอบรมกม็ อี ยู่อยา่ งจากัด ๓.การวิเคราะหข์ ้อมูลเกีย่ วกับความพงึ พอใจในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน การศกึ ษา พบวา่ ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมมคี วามพงึ พอใจ ดังน้ี 1. ความพงึ พอใจด้านเนื้อหา อยู่ในระดับ มากท่ีสดุ ค่าเฉลย่ี = 4.60 2. ความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม อยู่ในระดับ มาก ค่าเฉล่ีย = 4.48 3. ความพึงพอใจต่อวิทยากร อย่ใู นระดับ มากที่สุด คา่ เฉลย่ี = 4.51 4. ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก อยู่ในระดบั มาก ค่าเฉลี่ย = 4.24 5. ความพงึ พอใจดา้ นการนาความรู้ไปใช้ อยใู่ นระดบั มากท่ีสดุ ค่าเฉลยี่ = 4.60 สรุปภาพรวมความพึงพอใจของผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ ท้ังหมด อยใู่ นระดับ มาก มคี า่ เฉลย่ี = 4.49 อภปิ รายผล จากการดาเนินการกลมุ่ วชิ าชีพพบประเด็นสาคญั ที่สามารถนามาอภปิ รายผลไดด้ ังนี้ 1. ด้านกลมุ่ เปูาหมาย 1.1 กลมุ่ เปูาหมายสว่ นใหญ่ตอ้ งการนาความรู้ทไี่ ด้รับจากการอบรมไปใช้ใน ชีวิตประจาวนั และนาไปใช้เป็นอาชีพเสรมิ เพื่อเป็นการลดรายจา่ ยในครวั เรือนและเพิ่มรายได้ใหก้ บั ตนเอง 1.2 จากการดาเนินการพบวา่ กลุ่มเปูาหมายส่วนใหญ่เป็นเพศชาย เน่ืองมาจาก ช่างปนู เปน็ งานของเพศชาย และเปน็ งานหนกั ท่ีต้องใช้แรงมาก เพราะวัสดสุ ่วนใหญท่ ีใ่ ช้มนี า้ หนักมาก กลุ่มเปูาหมายจงึ เป็นชายมากกวา่ หญิง จากการเข้ารว่ มกจิ กรรมของผู้เรยี นพบว่า ผเู้ รียนบางคนมีทกั ษะการเท พื้นปูน และการฉาบปูนอยบู่ า้ ง ทาให้เกดิ การเรยี นร้ทู รี่ วดเรว็ และมีทักษะในการเทพน้ื และฉาบปูนมากข้ึน สาหรับคนทไี่ มม่ ที ักษะในการเทพื้น และฉาบปูนเลย กไ็ ดเ้ รยี นรวู้ ธิ ีการเทพื้นปนู และการฉาบปนู ทถี่ ูกต้อง และนาไปความรูท้ ี่ไดไ้ ปตอ่ ยอดได้ 2. ดา้ นงบประมาณ - จากการดาเนนิ งานพบว่าวัสดุ อปุ กรณ์มคี วามเพียงพอตอ่ ความตอ้ งการของกล่มุ ผู้เข้ารบั การอบรม 3. ดา้ นกิจกรรมการเรียนการสอน - จากการดาเนินงานพบวา่ กจิ กรรมตอ้ งยดื หย่นุ ตามสภาพกลุ่มเปูาหมาย เน่อื งมาจากสภาพชีวติ ความเปน็ อย่ขู องกลุม่ เปาู หมายมสี ว่ นสาคญั ตอ่ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 4. ด้านสถานที่

4.1 การดาเนินการอบรม ดา้ นสถานที่สามารถมีการเปลย่ี นแปลงไปไดต้ ามความ ต้องการ และความเหมาะสมของผ้เู ข้าร่วมการอบรม 4.2 ควรมีการใชส้ ถานท่ีของส่วนรวม เพือ่ ใหเ้ กดิ ความเชื่อมโยง สมั พันธ์กนั ระหว่าง กศน. และชุมชน ข้อเสนอแนะในการดาเนนิ การกลุ่มวิชาชีพครงั้ ต่อไป 1. ควรทาการศกึ ษาปญั หาความตอ้ งการของกลุ่มเปาู หมาย โดยใช้เครอ่ื งมือท่ีหลากหลาย รูปแบบ เพือ่ ใหไ้ ด้ข้อมูลท่ีถูกตอ้ ง ตรงตามความต้องการของผู้เรยี นมากทสี่ ุด 2. ควรศึกษาความตอ้ งการของกลมุ่ เปาู หมายในด้านตา่ งๆ ทีต่ ้องการรับบริการจาก กศน. เพ่ือใหท้ ราบและสามารถจัดกจิ กรรมตามหลักสูตรให้สอดคล้องกับความตอ้ งการของท้องถน่ิ ได้ 3. ควรศกึ ษาผลกระทบจาการดาเนนิ การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน โดยการศกึ ษาจาก กลมุ่ เปาู หมาย และชุมชน 4. ควรเก็บขอ้ มูลของผูเ้ ข้ารบั การอบรมหลังการอบรมดว้ ยทกุ ครงั้ ข้อมูลความตระหนัก ในการจัดกจิ กรรมการศึกษาเพือ่ พฒั นาอาชพี หลกั สตู รชา่ งปนู ของสถานศึกษามงุ่ ใหเ้ กิด ความสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผูเ้ รยี น/ผรู้ บั บริการเป็นสาคัญ โดยมงุ่ เน้นความตอ้ งการของผู้เรียน/ ผ้รู ับบริการเป็นแนวทางในการดาเนนิ งาน และได้มกี ารส่งเสริม สนบั สนุนให้บุคลากรในสถานศกึ ษาเหน็ ความสาคัญของการจดั หลกั สูตรวิชาชพี แตล่ ะหลักสูตร และปฏบิ ัตงิ านอยา่ งเปน็ ระบบอย่างมีประสิทธภิ าพ เพอ่ื ใหเ้ กดิ คุณภาพในการทางาน ข้อมูลการปฏิบตั ิ (ความพยายาม) เมือ่ บุคลากรได้รบั แนวทาง และนโยบายทางการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชพี แล้ว ไดด้ าเนินการ สารวจหาความต้องการของกล่มุ เปูาหมายทแี่ ท้จริงโดยการร่วมทาประชาคมหรอื รว่ มประชุมกับกล่มุ ผนู้ า เพื่อใหไ้ ด้รบั ข้อมลู ความต้องการท่ีแทจ้ รงิ ของชมุ ชน และนามาจัดการเรยี นการสอนด้านอาชีพ จุดเดน่ ของกลมุ่ 1. มคี วามต้องการเหมือนกนั 2. กลมุ่ เปาู หมายมีความสนใจในกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นอยา่ งดี 3. กลุม่ เปาู หมายมีความสามัคคี ชว่ ยงานกนั ดพี อสมควร 4. กล่มุ เปาู หมายมีความรบั ผิดชอบ 5. กล่มุ เปาู หมายรจู้ ักนาวสั ดุ อุปกรณ์ และวัตถุดบิ ท่มี ใี นท้องถ่ินมาใช้ จดุ ควรพฒั นา (จุดด้อย) 1. การรวมกลุ่มเปน็ กลุ่มอาชีพ 2. ผเู้ ข้ารบั การอบรมมาช้า กว่าจะรวมกลุ่มกนั ได้ใช้เวลานาน

แนวทางการพัฒนา 1. ควรพฒั นาการใชว้ ัตถุดบิ ทมี่ อี ยใู่ นท้องถ่ินในกจิ กรรมการเรยี นการสอนให้มากกว่านี้ 2. ควรจัดหางบประมาณเพม่ิ เติม หรือการขอความสนบั สนนุ จากแหลง่ ต่าง ๆ ในเร่ืองการ จดั หาวตั ถุในการเรยี นรู้ วธิ กี ารพฒั นา 1. สรา้ งความเข้าใจทด่ี ีในการใชว้ ัตถุดิบที่มอี ยู่ในทอ้ งถิ่นในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการ สอน ให้ผู้เรยี น/ผรู้ ับบริการเหน็ ความสาคญั 2. ปรับวธิ กี ารจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับผู้เรียน/ผูร้ บั บริการ ใหม้ ีความยืดหย่นุ โดยไมเ่ น้น หนว่ ยการเรยี นรตู้ ามหลกั สูตร แต่ใหย้ ึดตวั ผู้เรียนเป็นสาคญั แลว้ จึงนาผลการดาเนินงานมาปรบั ปรงุ หลกั สูตร วชิ าชพี ทอผ้าพ้ืนเมือง ในครัง้ ตอ่ ไป

ภาคผนวก

ภาพประกอบกจิ กรรม หลกั สูตรชา่ งปนู ระหวา่ งวนั ท่ี 13 – 21 กรกฎาคม 2564 ณ ศาลปทู่ ิดนอ้ ย หมู่ 8 บา้ นศรจี นั ทร์ ตาบลทา่ สะแก อาเภอชาตติ ระการ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก

ภาพประกอบกจิ กรรม หลกั สูตรชา่ งปนู ระหวา่ งวนั ท่ี 13 – 21 กรกฎาคม 2564 ณ ศาลปทู่ ิดนอ้ ย หมู่ 8 บา้ นศรจี นั ทร์ ตาบลทา่ สะแก อาเภอชาตติ ระการ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก

คณะผู้จดั ทา ทปี่ รึกษา นางพรสวรรค์ กนั ตง ผู้อานวยการ .กศน.อาเภอชาติตระการ นายรุ้งภธู ร ภาศรี ครูชานาญการ นางสาวชมพนู ชุ ลว้ นมงคล ครูผชู้ ว่ ย ผ้สู ่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรม บุญประกอบ ครูอาสาสมัครฯ นางสาวประยรู ผู้รบั ผดิ ชอบ/ผู้เรียบเรยี ง/จดั พมิ พร์ ปู เล่ม/ออกแบบปก นางสาวเปียทพิ ย์ แสงสบี าง ครู กศน.ตาบลท่าสะแก