ก คานา Best Practice เปน็ วิธกี ารทางานทด่ี ที ่ีสดุ ในแต่ละเรือ่ ง ซ่งึ สามารถเกิดขนึ้ ได้ในทุก หน่วยงาน จากหลาย ช่องทาง ทง้ั ตัวผูน้ า ผรู้ ว่ มงาน ผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี หรือภาวะปัญหา และการ ริเร่ิมสร้างสรรค์ พัฒนาท่ีมีข้ันตอน เมือ่ มีวธิ ีการทางานที่ดตี อ้ งทาผ่านการเล่าเรื่องทเี่ ป็นการทางาน ของตนเองมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในลักษณะของ การแลกเปล่ียนข้ามสายงาน ข้ามหน่วยงานโดย เกิดข้ึนในระดับบุคคล ระดับกลุ่มคน และระดับหน่วยงาน ย่อย Best Practice ที่ได้ควรมีการบันทึก เขียนรายงานเพื่อการศึกษาพัฒนา และเผยแพร่ได้ ซ่ึงจะเกิด ประโยชนอ์ ย่างย่ิง กศน.ตาบลท่าสะแก ขอขอบคณุ ภาคเี ครือข่ายและผ้มู ีส่วนเกี่ยวข้องทกุ ทา่ น ที่ให้ความรู้ คาแนะนาและ ให้คาปรกึ ษาเป็นแนวทาง ผู้จดั ทาหวังเป็นอยา่ งย่งิ ว่าเอกสารเล่มนี้ จะเปน็ ประโยชน์สาหรับผู้นาไปใช้จัดกิจกรรม การเรยี นรู้ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพหากพบข้อผิดพลาดหรือมีข้อเสนอแนะประการใด ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้แก้ไข ปรับปรุงด้วยความขอบคณุ ยิ่ง จดั ทาโดย นางสาวเปียทพิ ย์ แสงสีบาง กศน.ตาบลท่าสะแก กันยายน ๒๕๖๔
ข หนา้ สารบญั ๑ 1 เร่ือง 1 1 ช่อื ผลงาน ภาคเี ครอื ขา่ ยดีเดน่ 1 - ประเภทผลงานแนวปฏิบัตทิ ี่ดี ตามภารกิจตอ่ เนอ่ื ง - ชอ่ื หนว่ ยงาน/ สถานศึกษา/ ผู้เสนอผลงาน 2 - บทคดั ยอ่ 2 - ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา 3 (ความสาคัญของผลงาน “แนวปฏบิ ตั ทิ ี่ดี”) 3 - วตั ถุประสงค์และเปา้ หมายของการดาเนินการ 3 - กระบวนการดาเนนิ งาน 4 - ผลการดาเนินงาน 4 - ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั และการเผยแพร่ 5 - กลยทุ ธ์หรอื ปัจจยั ท่ที าให้ประสบความสาเรจ็ 7 - ปัญหาอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ - การอ้างอิง (ระบแุ หลง่ อา้ งองิ เอกสารอ้างอิง ฯลฯ) - ภาคผนวก - คณะผู้จัดทา
ช่ือผลงาน การแปรรปู ผลิตภณั ฑ์จากกล้วย 1. ประเภทผลงานแนวปฏบิ ตั ทิ ่ีดี ตามภารกิจตอ่ เนื่อง - ประเภทด้านการศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ 2. ช่อื หน่วยงาน/ สถานศึกษา/ ผู้เสนอผลงาน กศน.ตาบลทา่ สะแก หมบู่ า้ น บา้ นนอ้ ย ตาบลท่าสะแก อาเภอชาติตระการ จังหวดั พษิ ณโุ ลก รหสั ไปรษณยี ์ ๖๕๑๗๐ สังกดั กศน.อาเภอชาติตระการ สานกั งาน กศน.จงั หวัดพิษณโุ ลก โทรศัพท์ ๐๕๕-๓๘๑๔๘๗ โทรสาร ๐๕๕-๓๘๑๔๘๗ ชื่อ – ช่อื สกลุ ผู้เสนอผลงาน นางสาวเปียทพิ ย์ แสงสีบาง โทรศัพทม์ ือถือ ๐82-884-6874 E-mail [email protected] 3. บทคัดยอ่ ผลงานแนวปฏิบัติที่ดีด้านการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ เรื่อง การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกล้วย ดังน้ี 1) เพ่อื ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจ และมีทกั ษะในการแปรรูปจากกล้วย 2) เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ ไปใช้ประโยชน์ในการเพม่ิ ช่องทางในการพฒั นาอาชีพเพมิ่ รายได้ การแปรรปู ผลติ ภัณฑจ์ ากกล้วย เป็นการจัดการศึกษาการประกอบอาชีพมุ่งเน้นให้ผู้ไม่มีอาชีพ หรือผู้มี อาชีพแล้ว ตอ้ งการพัฒนาอาชีพของตนให้มคี วามมั่นคง หรือทาเป็นอาชีพเสริม การแปรปรูผลิตภัณฑ์จากกล้วย เปน็ อีกอาชพี หนึง่ ทเี่ ป็นชอ่ งทางในการประกอบอาชีพของผู้ที่ว่างงาน และผู้ที่ต้องการหารายได้เสริม ให้กับครัว ใหม้ คี วามพร้อมท่ีจะทางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ 4. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา (ความสาคญั ของผลงาน “แนวปฏิบตั ิทีด่ ี”) การจัดการศกึ ษาอาชีพในปัจจุบันมีความสาคญั มาก เพราะจะเปน็ การพฒั นาประชากรของประเทศให้มี ความรู้ ความสามารถและทกั ษะในการประกอบอาชีพ เป็นการแก้ปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข็ง ให้แก่เศรษฐกิจชุมชน เป็นการยกระดบั การจดั การศึกษาเพอ่ื เพิ่มศักยภาพและขีดความ สามารถให้ประชาชนได้ มีอาชีพท่ีสามารถสร้างรายได้ท่ีม่ันคง โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ มุ่งพัฒนา คนไทยให้ได้รบั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาอาชีพและการมีงานทาอย่างมีคุณภาพ ท่ัวถึงและเท่าเทียมกัน ประชาชนมี รายได้ม่ันคง ม่ังค่ัง และมีงานทาอย่างย่ังยืน ซ่ึงจะเป็นการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในรูปแบบใหม่ที่สร้างความ มนั่ คงให้แก่ ประชาชนและประเทศชาติ กล้วยถือว่าเป็นผลไม้พ้ืนเมืองของไทย นิยมรับประทานกันอย่างแพร่หลาย เป็นผลไม้ท่ีฤดูกาลและ ปราศจากสารพิษ มีประโยชน์สารพัดอย่าง สามารถนาเอาทุกส่วนของพืชชนิดน้ีมาทาประโยชน์สอยและ รบั ประทาน ไม่ว่าจะเป็นใบ ดอก ก้านใบ ลาต้น กล้วยน้าว้าเป็นกล้วยชนิดท่ีนิยมปลูก เนื่องจากกล้วยน้าว้าคง ความสดอยู่ได้หลายวันกอ่ นทจ่ี ะช้าเกนิ ไป และมีคุณคา่ ทางอาหารมากมาย มีชอ่ื เรยี กพื้นเมืองแตกต่างกันออกไป ในแตล่ ะทอ้ งถนิ่ นอกจากจะรับประทานสดแลว้ ยังสามารถนามาแปรรูปเป็น กล้วยป้ิง กล้วยเช่ือม กล้วยบวชชี กล้วยกวน กลว้ ยฉาบ เปน็ ตน้ สามารถรับประทานเป็นอาหารหลกั และเปน็ อาหารเสริมสาหรบั เด็กอ่อนด้วย ดงั น้นั ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอชาติตระการ จึงได้จัดลักสูตรแปรรูป ผลิตภัณฑก์ ล้วยข้ึน เพอ่ื เปน็ หลักสตู รท่ีผู้เรียนสามารถศึกษาและนาไปประกอบเปน็ อาชีพหลัก หรืออาชีพเสริมได้ เปน็ อกี อาชพี หนง่ึ ที่เป็นช่องทางในการประกอบอาชีพของผู้ที่ว่างงาน และผู้ที่ต้องการหารายได้เสริม ให้กับครัว ได้อีกดว้ ย
๒ ๕. วัตถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายของการดาเนนิ การ ๕.1. วัตถปุ ระสงค์ของการดาเนินงาน 1. เพือ่ ให้ผู้เรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และมีทักษะในการแปรรปู จากกลว้ ย 2. เพ่ือให้ผเู้ รยี นสามารถนาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ในการเพม่ิ ช่องทางในการพฒั นาอาชพี เพ่มิ รายได้ ๕.๒. เป้าหมายของการดาเนนิ งาน การปลกุ จิตสานึกให้คนในท้องถน่ิ ตระหนกั ถึงคุณค่า และความสาคัญของทรพั ยากรท้องถน่ิ ทมี่ อี ยใู่ ห้ เพอื่ นามาใช้ให้เกิดประโยชนส์ งู สุด สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ประชาชนมอี าชีพทีม่ น่ั คง ยั่งยนื ๖. กระบวนการดาเนินงาน ๖.๑. วธิ ีดาเนนิ การ 1. สารวจความตอ้ งการของประชาชน ข้อเสนอแนะในการดาเนนิ การจดั การกลมุ่ เพ่ือทราบถึง ปญั หาและข้อเสนอแนะในการแก้ปญั หาของประชาชน หมู่ 2 ตาบลท่าสะแก ๒. ทาจดั ตั้งกล่มุ อาชพี และทาแผนกจิ กรรมพัฒนากลุ่มการแปรรปู ผลิตภัณฑ์จากกลว้ ย ในเรอื่ ง ของเทคนิคการแปรรูป การตลาด ๓. ประสานงานหน่วยงาน ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อฝึกอบรมทักษะของประชาชน ได้แก่ องคก์ ารบริหารส่วนตาบลท่าสะแก ผนู้ าชุมชนและภูมปิ ญั ญาในหมบู่ ้านบ้านขอนสองสลงึ ๔. ดาเนนิ การจัดกิจกรรมตามแผนงานทีก่ าหนดและสามารถปรับเปลี่ยนกิจกรรมไดต้ ามความ เหมาะสม ๔.๑ การดาเนินกิจกรรมการจัดการเรียนรู้เรื่องการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกล้วย ณ กลุ่ม แม่บ้านเกษตรกรบ้านขอนสองสลึง โดยครู กศน.ตาบล เชิญภูมิปัญญาในหมู่บ้านมาให้ความรู้ด้านการแปรรูป กลว้ ย โดย กศน.อาเภอชาตติ ระการสนบั สนนุ วสั ดุในการแปรรปู กล้วย และใหป้ ระชาชนฝกึ การแปรรูปกลว้ ย ๔.๒ การดาเนินกจิ กรรมรว่ มกับกล่มุ แม่บ้านเกษตรกรบ้านขอนสองสลงึ - ร่วมประชุม วางแผนโดยมีข้ันตอน ดังน้ี ทาโครงการเสนอขอวัสดุจาก กศน.อาเภอ ชาติตระการ ใหก้ ับกลมุ่ เพือ่ ที่จะแปรรูปผลิตภณั ฑจ์ ากกล้วยตอ่ ไป - การพัฒนาการแปรรูปผลิตภณั ฑ์จากกลว้ ยทหี่ ลากหลาย - การบริหารจัดการกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านขอนสองสลึงนั้น โดยครู กศน.ตาบลสอน วิธกี ารทาบัญชรี ายรับรายจ่ายภายในกล่มุ แบบงา่ ยๆ เหมอื นกบั การทาบัญชีครัวเรือน ๕. ตดิ ตามและประเมนิ ผลร่วมกับหนว่ ยงานเครอื ข่ายทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ๖. สรุปและจัดทารายงานผลการดาเนนิ งาน และเผยแพรไ่ ปยงั หนว่ ยงานที่เกี่ยวขอ้ ง ๖.๒. ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จ 1. กลมุ่ อาชพี การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกลว้ ยสามารถผลิตและจาหน่ายผลิตภัณฑ์จากกล้วย อย่างมีคุณภาพ และมรี ายได้เพิ่มขน้ึ 2 ประชาชนได้เรยี นร้วู ิธีการแปรรูปผลิตภัณฑจ์ ากกล้วย ซ่งึ กลว้ ยเปน็ วัตถดุ บิ ท่ีมีตามท้องถ่ิน สามารถนาวตั ถุดิบที่มีไปแปรรปู เพอื่ สร้างอาชีพท่ีม่นั คงได้
๓ ๖.๓. การประเมนิ ผลและเครอื่ งมอื การประเมนิ ผล 1. ประเมินจากผลงาน/ช้ินงาน โดยใชแ้ บบประเมนิ ผลงาน/ชิ้นงาน และติดตามการนาไปใช้ ประโยชน์และการสรา้ งงานสรา้ งรายได้ของกล่มุ อาชพี 2. ประเมนิ ความรู้และทกั ษะการแปรรปู ผลติ ภัณฑ์จากกล้วยของกลุม่ และประชาชนจาก ผลงาน/ช้นิ งาน โดยใชแ้ บบประเมนิ ผลงาน/ชน้ิ งาน และการสงั เกตการณ์นามาใชใ้ นชีวิตประจาวัน ๗. ผลการดาเนนิ งาน 7.1 กลุ่มสมาชิกสามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปพัฒนากลุ่มและพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ได้อย่าง ต่อเน่ือง สมาชิกเหน็ ความสาคญั ของการรวมกลมุ่ รบู้ ทบาทและหน้าทข่ี องตนเองเกิดการมีส่วนร่วมมากข้ึน และ จากการติดตามผลการนาความรู้และทกั ษะไปใช้ประโยชน์ พบว่า กลุ่มสมาชิกมีงานทา มีรายได้จากการจาหน่าย สินคา้ 7.2 ผู้เรยี นเกดิ ทักษะจากกระบวนการเรยี นรู้ในการแปรรูปผลติ ภณั ฑ์จากกล้วย สามารถนาวัตถุดิบท่ีมี ตามท้องถ่ินมาแปรรูปใหป้ ระโยชน์ และเหน็ ชอ่ งทางประกอบ ๘. ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับและการเผยแพร่ ๘.๑. ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับ 1. สร้างมูลค่าให้กับกล้วยนา้ วา้ ทม่ี อี ย่ตู ามท้องถน่ิ จากการแปรรปู เปน็ ผลิตภณั ฑต์ ่างๆ เชน่ กล้วยตาก กลว้ ยกวน กล้วยฉาบ ทาใหป้ ระชาชนมีอาชพี ที่มน่ั คง 2. ประชาชนเห็นคุณค่าของทรพั ยากรท้องถนิ่ จากการเรียนรู้เร่ืองการแปรรูปผลิตภัณฑจ์ าก กลว้ ย ๘.๒. การเผยแพร่ ดาเนินการเผยแพร่ โดยจัดทาเอกสาร ได้แก่ หลกั สูตรการแปรรูปผลติ ภณั ฑ์จากกลว้ ย รายงาน สรุปผลและประเมินผล การดาเนนิ งานและเผยแพร่ให้กับหน่วยงานและเครือข่ายที่เกี่ยวขอ้ งทราบ และจดั ทา คลิปวีดโี อเผยแพร่ผ่านเวบ็ ไซต์ และใช้ชุมชนเป็นฐานแลกเปลย่ี นเรียนรเู้ รอ่ื งการแปรรูปผลติ ภัณฑ์จากกล้วย ใหก้ บั ผู้ท่ีสนใจและชุมชนอนื่ ๆ การเผยแพรผ่ ่านชอ่ งทางออนไลน์ มกี ารถ่ายทอดองค์ความรู้ผ่านเครอื ข่ายสงั คมออนไลนผ์ ่าน Internet หรือเรียกว่า Social Network ผ่านชอ่ งทาง Facebook, line , YouTube ในการประชาสมั พันธ์ ขอ้ มูลข่าวสารกจิ กรรม ๙. กลยทุ ธห์ รอื ปจั จัยทที่ าใหป้ ระสบความสาเร็จ 1. ครูจัดกิจกรรมที่สอดคลอ้ งกับสภาพ ปัญหา ความต้องการของชุมชน 2. ผ้นู าชมุ ชนและคนในชุมชนให้ความรว่ มมอื ในการใหข้ ้อมลู สภาพ ปญั หา ความตอ้ งการของชมุ ชน และร่วมมือในการเขา้ รว่ มกิจกรรม 3. วิทยากร/ภมู ปิ ัญญาในหมบู่ ้าน เปน็ ผู้มีความรู้ความสามารถและทกั ษะในเนือ้ หาที่ฝึกอบรม 4. การแปรรปู ผลิตภัณฑ์จากกล้วยของกล่มุ เป็นที่ต้องการของประชาชน และจัดจาหน่ายผา่ นทาง ออนไลน์ และรา้ นคา้ มากมายท้งั ในอาเภอชาตติ ระการ และร้านค้าตา่ งจงั หวดั
๔ 5. หลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกล้วย ได้รับรางวัลชมเชย การประกวดนวัตกรรมการจัดการ เรยี นรู้ในระบบออนไลน์ ปี ๒๕๖๔ ประเภทการจดั การศกึ ษาตอ่ เน่ือง ณ สถาบันพฒั นาการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ภาคเหนือ และส่งเสรมิ ให้ นางสาวเปียทิพย์ แสงสีบาง ครู กศน.ตาบลท่าสะแก ผู้มีส่วน ร่วมในการจัดทาหลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกล้วย ได้รับยกย่องจากสานักงาน กศน.จังหวัดพิษณุโลก ให้เป็นผู้มีผลงานดีเด่น ด้านการสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ในระบบออนไลน์ ประเภทการจัดการศึกษา ตอ่ เนื่อง ๑๐. ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ปัญหาอปุ สรรค สมาชกิ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านขอนสองสลงึ ส่วนใหญป่ ระกอบอาชพี เกษตรกร เมือ่ ถงึ ชว่ งฤดกู าล ทานา สมาชิกก็จะต้องไปทาอาชีพหลกั ของตนเองก่อน ในชว่ งน้ีจงึ มผี ทู้ าการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกลว้ ยเพียง 3 – 4 คน ทาให้ได้ผลติ ภัณฑ์จานวนนอ้ ยกวา่ ช่วงฤดูอน่ื ๆ จงึ ทาให้ผลิตภณั ฑ์ทไี่ ด้ไมเ่ พียงพอต่อความต้องการ ของผู้บริโภค ขอ้ เสนอแนะ - ๑๑. การอา้ งอิง (ระบแุ หล่งอา้ งอิง เอกสารอา้ งองิ ฯลฯ) เกียรติบัตรสถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ภาคเหนอื เกยี รติบตั รสานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ ๑๒. ภาคผนวก
๕
๖
คณะผจู้ ัดทา ที่ปรกึ ษา กนั ตง ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอชาตติ ระการ ๑. นางพรสวรรค์ ภาศรี ครูชานาญการ ๒. นายรุ้งภธู ร ลว้ นมงคล ครูผชู้ ่วย ๓. นางสาวชมพนู ชุ คณะทางาน บุญประกอบ ครูอาสาสมคั รฯ ๑. นางประยรู แสงสีบาง ครู กศน.ตาบล ๒. นางสาวเปยี ทิพย์ ผ้เู รียบเรยี ง/จัดพมิ พ์รปู เล่ม/ออกแบบปก ครู กศน.ตาบล นางสาวเปียทพิ ย์ แสงสีบาง
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: