Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปสายคล้องแมส ม.4 20-7-64

สรุปสายคล้องแมส ม.4 20-7-64

Published by Piathip Sangseebarng, 2021-07-22 03:50:03

Description: สรุปสายคล้องแมส ม.4 20-7-64

Search

Read the Text Version

คานา การสรุปผลการจัดกิจกรรมหลักสูตรรูปแบบวิชาชีพกลุ่มสนใจ การทาสายคล้องแมส เป็นการ จัดเก็บและรวบรวมขอ้ มลู การอบรม เพอ่ื ส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรู้ต่อประชาชนผู้สนใจซึง่ เป็นการตอบสนอง ความตอ้ งการของประชาชนในพ้นื ท่เี พื่อใหม้ ีคณุ ภาพชวี ิตที่ดขี ้ึน ในกระบวนการเรียนรู้จะแตกต่างออกไปตาม พื้นทีใ่ นแต่ละพืน้ ที่ กลุ่มเปาู หมาย วิถีการดาเนินชีวิตที่ดีข้ึน สภาพแวดล้อมล้วนแต่ส่งผลต่อการเรียนรู้ทั้งส้ิน กระบวนการเรียนรู้จะประกอบด้วยภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพ่ือเป็นการฝึกทักษะเรียนรู้ให้แก่ประชาชน กล่มุ เปาู หมายให้สามารถนาความร้แู ละประสบการณ์ท่ีได้ไปปรบั ประยุกต์ใชใ้ นการดาเนินชวี ิตตอ่ ไป สรุปผลการจัดกิจกรรมเล่มน้ี ได้เรียบเรียงผลการจัดกิจกรรมหลักสูตรรูปแบบวิชาชีพกลุ่มสนใจ การทาสายคล้องแมส ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อยต่อผู้ท่ีพบเห็น หากมี ข้อผิดพลาดหรือมีข้อเสนอแนะที่คิดว่าจะเป็นประโยชน์ กรุณาแจ้งผู้จัดทาทราบ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการ ปรบั ปรงุ แกไ้ ขขอ้ มลู ในครั้งต่อไป และขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสน้ี นางสาวเปยี ทิพย์ แสงสบี าง กศน.ตาบลท่าสะแก

สารบญั หนา้ ก คานา ข สารบัญ ๑ บทที่ ๑ รายงานผลการจัดกิจกรรมหลกั สูตร การทาสายคล้องแมส ๒ ความเปน็ มา ๕ สถานท่ี วนั /ระยะเวลาที่จัดกจิ กรรม ๑๑ วทิ ยากร ผ้รู ับผดิ ชอบ ๑๕ บทที่ ๒ หลักสูตรและเอกสารท่ีเก่ียวข้อง บทที่ ๓ การดาเนินกจิ กรรมการเรียนการสอน การดาเนินการจัดกจิ กรรม ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม เครอื่ งมอื ทีใ่ ช้ในการจัดกิจกรรม การเก็บรวบรวมขอ้ มลู การวิเคราะห์ข้อมลู ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน บทท่ี ๔ สรปุ อภิปราย และขอ้ เสนอแนะ การดาเนินการจดั กจิ กรรม สรุปผลการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน อภปิ รายผล ขอ้ เสนอแนะในการดาเนินการกลมุ่ ครงั้ ตอ่ ไป จดุ เดน่ ของกลุ่ม ภาคผนวก ภาพกจิ กรรม เอกสารทเี่ ก่ียวขอ้ ง คณะผจู้ ัดทา

บทที่ 1 รายงานผลการจัดกิจกรรม หลักสตู รวิชาชพี กลมุ่ สนใจการทาสายคล้องแมส ความเป็นมา หลักสูตรวิชาชีพกลุ่มสนใจการทาสายคล้องแมสได้จัดทาขึ้น ในปีงบประมาณ 2564 โดย เน้อื หาหลกั สูตรมาจากการสารวจความต้องการในด้านอาชีพของประชาชน ในหมู่ 4 บ้านท่าสะแก ตาบลท่า สะแก อาเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก ซ่ึงมีความต้องการให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในวิชา ดงั กลา่ ว เพอื่ เปน็ การพัฒนาตนเองในครอบครัว การเสรมิ สร้างอาชพี และพัฒนาต่อยอดเปน็ อาชพี ในชุมชน การสรุปรายงานการจัดกิจกรรมหลักสูตรวิชาชีพกลุ่มสนใจการทาสายคล้องแมส เป็นส่วน หน่งึ ท่ีสามารถนาไปใช้ในการจัดการศึกษานอกโรงเรียน ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันฐานพุทธศักราช 2551 ท่ีมีหลักการ ศึกษาท่ีมุ่งให้ผู้เรียนคิดเป็น แก้ปัญหาเป็น เน้นการเรียนรู้แบบบูรณาการ และการปฏิบัติจริง สอดคล้องกับวิถีชีวิต นาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตและการประกอบอาชีพได้ทันที สามารถพัฒนา ศกั ยภาพของผเู้ รียนให้เห็นคณุ ค่า มีความเชอื่ ม่ันในตนเอง สามารถพงึ่ พาตนเองได้ ตลอดจนแสวงหาความรู้ใน การพัฒนาตนเองและสงั คมอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยใช้วิธีการเรียนอย่างเหมาะสม ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ใน การค้นหาคาตอบได้ด้วยตนเอง การจะหาคาตอบได้ด้วยตนเองน้ัน ผู้เรียนต้องมีทักษะ กระบวนการคิด วเิ คราะห์ และลงมือฝึกปฏิบตั ิลองผดิ ลองถกู จนคน้ พบวิธีท่ีเหมาะสมทส่ี ุด แนวทางสาคญั ในการดาเนินการต้อง เริ่มจากตัวผเู้ รียน ใหผ้ ู้เรียนมีโอกาสได้เลือกเรียน เพ่ือความเหมาะสมกับตัวของผู้เรียนเอง โดยการนาข้อมูล ของผู้เรียนแต่ละคนมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท้ังรายบุคคลและเป็นกลุ่ม เพื่อเช่ือมโยงกับหลักสูตร และชมุ ชน การสรุปรายงานผลการจัดกิจกรรมหลักสูตรวิชาชีพกลุ่มสนใจการการทาสายคล้องแมสเป็น การสะท้อนผลการดาเนินงาน อุปสรรคปัญหาที่เกิดข้ึนจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือปรับปรุง หลักสูตรวชิ าชพี กลุม่ สนใจการแปรรูปกลว้ ยเปน็ การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ศกั ยภาพของผู้เรยี นให้มีประสิทธิภาพ ต่อไป สถานท่ี บ้านเลขท่ี 134/2 หมู่ 4 บา้ นท่าสะแก ตาบลท่าสะแก อาเภอชาตติ ระการ จังหวดั พษิ ณโุ ลก วนั / ระยะเวลาทีจ่ ดั กิจกรรม - ระหว่างวนั ที่ 20 กรกฎาคม 2564 - ระหวา่ งเวลา 09.00 – 15.00 น. - หลักสูตร 5 ช่วั โมง - วนั ละ 5 ชว่ั โมง วทิ ยากร นางสาวอริสา แสนดา ผ้รู บั ผดิ ชอบ น.ส.เปียทพิ ย์ แสงสบี าง ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบลท่าสะแก

บทท่ี 2 หลักสูตรและเอกสารทเี่ กยี่ วข้อง การส่งเสรมิ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ ในพระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ ไดก้ าหนด บทบาทในการส่งเสริมการเรียนรขู้ องรัฐ และสถานศึกษาตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. รัฐตอ้ งส่งเสรมิ การดาเนินงาน และการจัดตง้ั แหลง่ การเรยี นรู้ตลอดชีวิตทกุ รูปแบบ ไดแ้ ก่ หอ้ งสมดุ ประชาชน พพิ ิธภณั ฑ์ หอศิลป์ สวนสตั ว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยาน วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ศูนยก์ ารกีฬาและนันทนาการ แหลง่ ขอ้ มลู และแหล่งการเรียนรู้ อยา่ งเพียงพอ และมีประสทิ ธภิ าพ 2. ใหค้ ณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน กาหนดหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้น พืน้ ฐานเพอ่ื ความเปน็ ไทย ความเปน็ พลเมอื งดขี องชาติ การดารงชวี ิตและการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อ การศึกษาตอ่ 3. ใหส้ ถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน มหี นา้ ทจี่ ัดทาสาระของหลักสตู รในส่วนที่เก่ียวข้องกบั สภาพปัญหาในชุมชนและสงั คม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ เพ่ือเป็นสมาชิกทด่ี ขี อง ครอบครัว ชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ 4. หลกั สูตรการศึกษาระดับตา่ ง ๆ ต้องมีลกั ษณะหลากหลายเหมาะสมกับแต่ละระดับ โดยมุง่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ของบุคคล สาระของหลักสตู ร ทงั้ ทเี่ ปน็ วชิ าการ วชิ าชีพ ต้องมงุ่ พัฒนาคนใหม้ ีความ สมดลุ ทัง้ ดา้ นความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงาม และความรับผิดชอบต่อสังคม 5. ใหส้ ถานศกึ ษารว่ มกบั บคุ คล ครอบครวั ชมุ ชน องคก์ รชุมชน องคก์ รปกครองส่วน ท้องถน่ิ เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวชิ าชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอ่ืน สง่ เสริมความเข้มแขง็ ของชุมชน โดยจัดกระบวนการเรยี นรู้ภายในชุมชน เพอื่ ให้ชมุ ชนมกี ารจดั การศึกษา อบรม มกี ารแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข่าวสาร และรู้จกั เลือกสรรภูมปิ ญั ญา และวิทยาการต่าง ๆ เพือ่ พัฒนา ชมุ ชนในสอดคล้องกบั สภาพปญั หาและความต้องการ รวมทัง้ หาวธิ กี ารสนบั สนุนให้มีการเปลย่ี นแปลง ประสบการณ์การพฒั นาระหว่างชมุ ชน 6. ใหส้ ถานศึกษาพฒั นากระบวนการเรียนการสอนทมี่ ีประสทิ ธิภาพ รวมทงั้ การ สง่ เสรมิ ให้ผู้สอนสามารถวิจยั เพ่ือพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ทีเ่ หมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศกึ ษา การศึกษาประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ทม่ี ีส่วนช่วยเหลือเอือ้ ตอ่ การจัดกิจกรรมการ เรยี นการสอน แนวทางในการจดั กระบวนการเรยี นร้เู พียงอยา่ งเดยี วไม่สามารถทาให้การจัดการศึกษาดาเนนิ ไปได้อย่างราบร่นื ต้องอาศยั การสง่ เสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ในรปู แบบตา่ ง ๆ ด้วย การจัดการศกึ ษาท่ี เกยี่ วข้องกบั ภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ ต้องสอดคล้องกบั สภาพปัญหา และความต้องการของแตล่ ะท้องถิ่นดว้ ย แนวคดิ ของการศึกษาตลอดชีวิต เป็นการศกึ ษาที่มีความจาเปน็ สาหรับบุคคลในทกุ ชว่ งชวี ิต ตง้ั แต่เกดิ จนตาย บุคคลมคี วามสามารถที่จะเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต การศึกษา มไิ ดส้ ิน้ สดุ เมอื่ บุคคลจบจาก โรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาการศึกษาตลอดชวี ิตเน้นความเสมอภาคความเทา่ เทยี มกันในโอกาสทาง การศกึ ษาการศึกษาตลอดชีวิตควรมคี วามยืดหยุน่ หลากหลายรปู แบบ และวิธีการเพ่ือเปดิ โอกาสให้ทุกคน เรียนรสู้ ามารถเลือกวิธเี รียนทเี่ หมาะสมกับความสามารถของตนการศกึ ษาตลอดชีวติ มุ่งให้บุคคลได้พฒั นา อยา่ งเตม็ ศักยภาพพฒั นาคุณภาพชีวิตและพ่งึ ตนเองได้ สงิ่ ที่ให้บุคคลเรียนรคู้ วรสัมพันธ์เกยี่ วข้องกบั วถิ ีชีวิต ซึ่งบคุ คลควรไดร้ บั ความรู้และทกั ษะที่จาเปน็ ในการดาเนินชวี ติ และการประกอบอาชีพ รวมทัง้ ทกั ษะในการ แสวงหาความรู้ หรอื มเี คร่อื งมอื ในการแสวงหาความรตู้ อ่ ไป การศกึ ษาตลอดชีวติ เปน็ ภาพรวมของการศกึ ษา ทง้ั หมดครอบคลุมการศึกษาทุกประเภท ทกุ ระดับทีเ่ กิดจากการผสมผสานระหวา่ งระบบการศกึ ษาท่ีจดั สัดสว่ นของการศึกษาไว้ 3 ประเภท คอื

1. การศกึ ษาในระบบ เป็นการศึกษาทกี่ าหนดจุดมงุ่ หมาย วธิ ีการศึกษา หลักสตู ร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมนิ ผล ซึง่ เป็นเงื่อนไขสาคญั ของการสาเร็จการศกึ ษาท่ีแนน่ อน 2. การศกึ ษานอกระบบ เป็นการศกึ ษาทมี่ คี วามยดื หยนุ่ ในการกาหนดจดุ ม่งุ หมาย รปู แบบ วธิ กี ารจดั การศกึ ษา ระยะเวลาของการศกึ ษา การวดั และการประเมนิ ผล ซ่งึ เปน็ เงือ่ นไขสาคญั ของการสาเร็จ การศกึ ษา โดยเนือ้ หาและหลักสูตรจะตอ้ งมคี วามเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปญั หาและความตอ้ งการของ บคุ คลแต่ละกลุม่ ตวั อย่าง เชน่ การจดั กลมุ่ เรียนตามความสนใจของผเู้ รียน การเรยี นหรอื การฝกึ อบรม หลักสตู รระยะสน้ั เปน็ ต้น 3. การศึกษาตามอธั ยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรูด้ ว้ ยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบคุ คล ประสบการณ์ สังคม สงิ่ แวดลอ้ ม สื่อ หรอื แหล่ง ความรู้อ่นื ๆ เช่น การฝึกฝนและปฏบิ ัติงานกับพอ่ แม่ หรอื สถานประกอบการ การศึกษาดว้ ยตนเองจาก หนงั สอื และสอื่ ตา่ ง ๆ เปน็ ต้น ปจั จบุ นั ภารกิจของการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ได้ขยายออกไปอย่าง กว้างขวาง สามารถแบ่งภารกิจหลกั ได้ 3 ประเภท คือ 1. ส่งเสริมการศกึ ษาในระบบโรงเรยี น โดยจัดกิจกรรมเพ่ือส่งเสรมิ การเรยี นการสอนใน ระบบโรงเรยี นในรูปแบบของการใชส้ ือ่ เทคโนโลยีการศกึ ษา ส่ือรายการวทิ ยุ โทรทัศน์เพ่ือการศึกษา สื่อการศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม และการจัดนิทรรศการวิทยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษา 2. จดั การศกึ ษานอกโรงเรียน โดยมุง่ จดั การศกึ ษาให้กบั ประชาชนและผู้ด้อยโอกาสทอี่ ยู่ นอกระบบโรงเรยี นให้ไดร้ ับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน อ่านออก เขยี นได้ รวมทง้ั การจดั การศึกษาสายสามัญ และ สายอาชีพในรปู แบบตา่ ง ๆ เพอื่ ยกระดบั การศึกษาและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตใหก้ บั กลมุ่ เปูาหมาย 3. สง่ เสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั โดยจดั กิจกรรมการเรยี นรูส้ อดคลอ้ งกบั วิถีชวี ิตอย่าง ตอ่ เน่อื ง เพือ่ ให้ประชาชนไดร้ ับข้อมลู ข่าวสารท่ีจาเปน็ และทันสมยั รู้เท่าทนั การเปลย่ี นแปลงของสงั คมโลกท่ี เป็นไปอย่างรวดเรว็ ในยคุ โลกาภวิ ัฒน์ สามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนือ่ งตลอดชวี ิตจากแหล่ง ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ห้องสมุดประชาชน ที่อ่านหนังสอื ประจาหมู่บา้ น ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศึกษา และรายการวทิ ยโุ ทรทศั น์ เปน็ ต้นโดยสรปุ ภารกิจทั้งหมดดงั กลา่ ว ก็เพ่อื จัดการศึกษาตลอดชวี ติ ให้แกป่ ระชาชนทีอ่ ยู่ทัง้ ในและนอกระบบโรงเรยี นใหม้ ีโอกาสได้รับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ทักษะอาชีพ และ ขา่ วสารขอ้ มูลทท่ี ันสมยั ในทกุ ชว่ งเวลาทตี่ อ้ งการ ในรูปแบบของการศึกษาตลอดชวี ติ จดั การศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชีพ เปน็ การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาความรู้ความสามารถและทักษะใน การประกอบอาชีพของบคุ คลและกล่มุ บุคคล ซง่ึ มจี ดุ มงุ่ หมายในชีวิตที่ตา่ งกัน โดยมีสาระดงั น้ี 1. การเรยี นรู้อาชีพแบบองคร์ วมทีป่ ระชาชน ครู กศน.และผู้เกีย่ วข้องรว่ มกนั จดั กิจกรรม การเรยี นรู้ เพือ่ ฟนื้ ฟูเศรษฐกิจชมุ ชน 2. การออกแบบการเรียนรู้งานอาชพี ตามลกั ษณะของการจัดการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาอาชีพใน รูปแบบการฝกึ ทกั ษะอาชีพ การเขา้ สู่อาชพี การพฒั นาอาชพี และการพฒั นาอาชพี ด้วยเทคโนโลยี 3. การเรียนรู้จากการปฏิบัตจิ รงิ ทีบ่ ูรณาการกับวถิ ีชวี ิต โดยใชว้ งจรกระบวนการคิด ทา จา แกป้ ัญหาและพัฒนา 4. การจดั การศึกษาเพือ่ พฒั นาอาชีพทพ่ี ฒั นาศักยภาพของบุคคลและชุมชนท่ีสอดคลอ้ งกับ วิถีชีวิต โดยส่งเสรมิ การรวมกลุ่มอาชีพ สรา้ งเครือข่ายอาชีพ มีระบบการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ความรู้และ ประสบการณ์ การทาอาชีพภายใต้วฒั นธรรมของชุมชน มีกลยทุ ธเ์ พือ่ การแขง่ ขนั ของชมุ ชน เปน็ ชุมชนที่ใช้ เทคโนโลยีในการบรหิ ารจัดการและพฒั นาอาชีพ

กศน.อาเภอชาติตระการ ไดด้ าเนินการจัดกิจกรรมตามรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนมีการบูรณาการการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เหมาะสมกับผู้เรียน แสดงถึงภาพสาเร็จในการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน กิจกรรมการเรียนรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ในการ จดั การเรยี นการสอนท่เี นน้ ผู้เรยี นเป็นสาคญั การเรียนการสอนมุ่งเน้นประโยชน์ของผู้เรียนเป็นสาคัญ จึงต้อง จัดให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น มีนิสัยรักการเรียนรู้ และเกิดการใฝุ เรยี นอยา่ งตอ่ เนื่องตามแนวคิดของการศึกษาตลอดชีวติ

บทที่ 3 การดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มหลักสูตรวิชาชีพกลุ่มสนใจการทาสายคล้อง แมส ได้ดาเนินการในการอบรม เก็บรวบรวมขอ้ มูล และการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ 3.1 การดาเนนิ การจดั กจิ กรรม 1. เตรียมการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน - ประชุมวางแผนรปู แบบการจัดกิจกรรม - เลอื กหลักสตู รวิชาชพี ทจ่ี ะจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน - มอบหมายงานให้บคุ ลากรท่ีเกย่ี วขอ้ ง - ติดตอ่ ประสางานในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน 2. วิธีการดาเนนิ งาน - เขยี นขออนญุ าตจัดตัง้ กลุ่มวิชาชีพสนใจ - เสนอขออนุญาตจัดตง้ั กล่มุ วิชาชพี สนใจ - เตรยี มการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน 1. เตรียมการกอ่ นการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน - การจดั เตรียมเอกสารการเรียนการสอน - ติดตอ่ สถานที่ - ติดตอ่ วิทยากร - อ่นื ๆ 2. ติดต่อประสานงานเครือข่าย - จัดการอบรมกลมุ่ ช้ันเรียนวิชาชีพตามแผนท่ีวางไว้ 1. ลงทะเบยี นผเู้ ขา้ รว่ มการกจิ กรรมการเรียนการสอน 2. วทิ ยากรใหค้ วามรู้ เรื่องการทาสายคลอ้ งแมส 3. จัดกิจกรรมกลุ่มยอ่ ย 4. สรปุ กจิ กรรมยอ่ ย 5. ปดิ การอบรม - สรปุ รายงานผลการจัดกจิ กรรมกลุม่ หลักสูตรวิชาชีพกลมุ่ สนใจการทาสายคล้องแมสเปน็ รปู เล่ม - รายงานผลการจดั กจิ กรรมกลุม่ หลักสูตรวิชาชีพกลุ่มสนใจการทาสายคล้องแมสให้ผู้ที่เกยี่ วขอ้ งรบั ทราบ 3.2 ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมกลมุ่ หลกั สูตรวิชาชีพกลุ่มสนใจการทาสายคลอ้ งแมส จานวน 9 คน - เพศชาย จานวน - คน - เพศหญงิ จานวน 9 คน ผู้จดั กิจกรรมจานวน 1 คน 3.3 เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการจดั กิจกรรม - ขอ้ มูลปฐมภมู ิ ได้จากการกรอกแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกจิ กรรม - ขอ้ มูลทุติยภมู ิ ศกึ ษาจากเอกสาร ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ ง

3.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู วเิ คราะห์แบบสอบถามในแต่ละส่วน ดงั น้ี ตอนที่ 1 ข้อมูลสว่ นบคุ คล ตอนท่ี 2 ประเมินความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ตอนที่ 3 สรปุ ขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะ สรุปเป็นประเด็นท่สี าคญั สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมลู คือ ค่าเฉลี่ย โดยใช้สตู รดงั นี้ 3.4.1 ค่าร้อยละ (%) P =  100 เมื่อ p แทน ร้อยละ F แทน จานวนผตู้ อบแบบสอบถาม n แทน จานวนทง้ั หมด 3.4.2 ค่าเฉล่ีย ( x ) = เมือ่ x แทน ค่าเฉล่ยี  x แทน จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม n แทน จานวนท้ังหมด 3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล 0.00 – ๑.49 หมายถงึ มีความพงึ พอใจน้อยท่สี ุด มีความพึงพอใจนอ้ ย ๑.50 – 2.๔9 หมายถึง มคี วามพึงพอใจปานกลาง ๒.๕0 – ๓.๔๙ หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก มคี วามพึงพอใจมากทส่ี ุด 3.๕๐ – 4.49 หมายถึง 4.50 – 5.00 หมายถึง

ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลุ่มหลักสตู รวชิ าชีพกลมุ่ สนใจการทาสายคลอ้ งแมส ไดม้ ีการสารวจความพงึ พอใจของผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมทม่ี ตี ่อรูปแบบการจัดกจิ กรรม จานวน 9 คน โดยวิธีการ ตอบแบบสอบถาม จงึ ไดม้ กี ารนาเสนอข้อมลู ในรปู ตารางประกอบคาบรรยาย โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ตอนที่ 1 ข้อมูลสว่ นบุคคล ตอนที่ 2 ประเมนิ ความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (กจิ กรรมการเรียนการสอน) ตอนที่ 3 สรปุ ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ สรปุ เปน็ ประเดน็ ทส่ี าคญั 3.1 ตอนที่ 1 การวเิ คราะหข์ ้อมูลท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามเพศ เพศ จานวน ( n = 9 ) รอ้ ยละ ชาย - - หญงิ 9 ๑๐๐ รวม 9 ๑๐๐ จากตารางที่ 1 ผลการศกึ ษาพบว่า ผู้เข้ารว่ มอบรมทงั้ หมดเปน็ เพศหญงิ คดิ เป็นร้อยละ 100 ตารางท่ี 2 แสดงจานวน รอ้ ยละจานวนตามอายุ อายุ จานวน ( n = 9 ) ร้อยละ ต่ากว่า 15 ปี - - 15 – 39 ปี - - 40 – 59 ปี 8 88.89 60 ปขี นึ้ ไป 1 11.11 รวม 8 100 จากตารางที่ 2 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เขา้ ร่วมสว่ นใหญ่มอี ายุระหว่าง 40 - 5๙ ปี คิดเป็นรอ้ ยละ 88.89 รองลงมาคอื อายุ 60 ปีขนึ้ ไป คิดเป็นรอ้ ยละ 11.11 ตารางที่ 3 แสดงจานวน รอ้ ยละจานวนตามระดบั การศึกษาสงู สุด ระดบั การศึกษาสงู สดุ จานวน ( n = 9 ) ร้อยละ ตา่ กวา่ ประถมศึกษา 3 33.33 ประถมศกึ ษา 4 44.45 มัธยมศกึ ษาตอนต้น 1 11.11 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 1 11.11 ปรญิ ญาตรี - - อื่นๆ - - รวม 8 100 จากตารางที่ 3 ผลการศึกษาพบวา่ ผู้เข้ารว่ มอบรมสว่ นใหญ่มีระดับการศกึ ษาสูงสดุ คือ ระดบั ประถมศกึ ษา คิดเป็นร้อยละ 44.45 รองลงมาคือ ระดบั ต่ากว่าประถมศึกษา คิดเปน็ รอ้ ยละ 33.33 และ ระดับ มธั ยมศึกษาตอนต้น และ มธั ยมศึกษาตอนปลาย คดิ เป็นร้อยละ 11.11

ตารางที่ 4 แสดงจานวน รอ้ ยละจานวนตามอาชีพ อาชพี จานวน ( n = 9 ) ร้อยละ เกษตรกร 9 100 รบั จา้ ง - ค้าขาย - - นกั เรยี น/นักศกึ ษา - - 9 - รวม 100 จากตารางท่ี 4 ผลการศกึ ษาพบวา่ ผู้เข้ารว่ มอบรมส่วนใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกรและอาชพี รับจ้าง คดิ เปน็ ร้อยละ 37.50 รองลงมาคือ ประกอบอาชีพค้าขาย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 25 ตารางที่ 5 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามรายได้ตอ่ เดอื น รายได้ต่อเดือน จานวน ( n = 9 ) รอ้ ยละ ต่ากว่า 5,000 บาท 6 66.67 5,001 – 10,000 บาท 3 33.33 10,001 – 20,000 บาท - มากกว่า 20,000 บาท - - 9 - รวม 100 จากตารางท่ี 5 ผลการศกึ ษาพบว่าผเู้ ข้าร่วมอบรมมีรายไดต้ อ่ เดอื น 5,001 – 10,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 66.67 และรายได้ต่อเดือนตา่ กว่า 5,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 33.33

3.2 ตอนท่ี 2 การวเิ คราะหข์ อ้ มูลเก่ียวกับความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ตารางท่ี 6 แสดงจานวน รอ้ ยละ และคา่ เฉลีย่ ของความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รว่ มอบรมที่มีตอ่ การจดั กิจกรรม การเรยี นการสอน ระดบั ความพงึ พอใจ/ความรคู้ วามเข้าใจ/การนาความรู้ไปใช้ ประเดน็ ความคิดเห็น มากที่สดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทสี่ ดุ คา่ เฉลี่ย อย่ใู น 5 4 3 2 1 ระดับ ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจด้านเนอ้ื หา = 4.70 1.1 เน้ือหาตรงตามความ 7 2 - - - 4.78 มาก (77.78%) (22.22%) ต้องการ ทสี่ ุด 1.2 เน้ือหาเพียงพอต่อความ 6 3 - - - 4.67 มาก ต้องการ (66.67%) (33.33%) - ที่สุด - 1.3 เนื้อหาปัจจบุ นั ทนั สมยั 7 2 - - 4.78 มาก (77.78%) (22.22%) ที่สุด 1.4 เน้อื หามปี ระโยชนต์ อ่ การ นาไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ 5 4 - - 4.56 มาก (55.56%) (44.44%) ทส่ี ดุ ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม = 4.62 - - 4.44 มาก 2.1 การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ น 4 5 - - - - 4.67 มาก อบรม (44.44 (55.56%) ทส่ี ุด 2.2 การออกแบบกิจกรรม 63 เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ (66.67%) (33.33%) 2.3 การจัดกจิ กรรมเหมาะสม 7 2 - - - 4.78 มาก ที่สดุ กบั เวลา (77.78%) (22.22%) 2.4 การจัดกจิ กรรมเหมาะสม 6 3 - - - 4.67 มาก ทส่ี ดุ กบั กลุ่มเปูาหมาย (66.67%) (33.33%) 2.5 วธิ กี ารวัดผล/ประเมินผล 5 4 - - - 4.56 มาก ที่สดุ เหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ (55.56%) (44.44%) ตอนที่ 3 ความพึงพอใจตอ่ วทิ ยากร = 4.67 3.1 วิทยากรมีความรู้ 63 - - - 4.67 มาก ทส่ี ดุ ความสามารถในเร่อื งทีถ่ ่ายทอด (66.67%) (33.33%) 3.2 วทิ ยากรมเี ทคนคิ การ 54 - - - 4.56 มาก ถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม (55.56%) (44.44%) ที่สดุ 3.3 วทิ ยากรเปิดโอกาสใหม้ ี 72 - - - 4.78 มาก สว่ นรว่ มและซักถาม (77.78%) (22.22%) ทส่ี ุด

ระดบั ความพงึ พอใจ/ความรคู้ วามเข้าใจ/การนาความรู้ไปใช้ ประเด็นความคดิ เหน็ มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทีส่ ดุ ค่าเฉลี่ย อยใู่ น 5 4 3 2 1 ระดับ 4. ความถงึ พอใจดา้ นการอานวยความสะดวก = 4.59 4.1 สถานที่ วัสดุ อุปกรณแ์ ละ 7 2 - - - 4.78 มาก สิ่งอานวยความสะดวก (77.78%) (22.22%) ท่ีสุด 4.2 การส่ือสาร การสร้าง 54 - - - 4.56 มาก บรรยากาศเพอื่ ให้เกิดการเรยี นรู้ (55.56%) (44.44%) ทส่ี ุด 4.3 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื 4 5 - - - 4.44 มาก และการแก้ปญั หา (44.44 (55.56%) 5. ความพงึ พอใจด้านการนาความรไู้ ปใช้ = 4.74 5.1 สามารถนาความรู้ทีร่ ับไป 6 3 - - - 4.67 มาก ประยกุ ตใ์ ช้ในการปฏบิ ตั ิงานได้ (66.67%) (33.33%) ที่สุด 5.2 สามารถนาความรไู้ ป 7 2 - - - 4.78 มาก เผยแพร่/ถ่ายทอดแก่ชมุ ชนได้ (77.78%) (22.22%) ทส่ี ดุ 5.3 มีความมั่นใจและสามารถ 7 2 - - - 4.78 มาก นาความรูท้ ไ่ี ดร้ บั ไปใช้ได้ (77.78%) (22.22%) ท่สี ุด รวมทัง้ สิ้น 107 55 - - - 4.66 มาก (66.05%) (33.95%) ทส่ี ดุ ค่าเฉลี่ยถว่ งนา้ หนกั 4.66 ระดบั ความคิดเหน็ มากทสี่ ุด จากตารางท่ี 6 จากการศึกษาพบวา่ ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมมคี วามพึงพอใจ 1. ดา้ นเนอ้ื หา อยใู่ นระดับ มากท่สี ดุ ( x = ๔.70) 2. ดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมการอบรม อยู่ในระดบั มากที่สุด ( x = 4.62 ) 3. ดา้ นวิทยากร อยู่ในระดับ มากท่ีสุด ( x = 4.67 ) 4. ด้านการอานวยความสะดวก อยใู่ นระดับ มากท่ีสุด ( x = ๔.59 ) 5. ด้านการนาความรู้ไปใช้ อย่ใู นระดับ มากทสี่ ุด ( x = ๔.74 ) จากกจิ กรรมการฝึกอาชพี พบวา่ ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมมคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับ มากทสี่ ุด ( x = 4.66) ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ พบว่าผ้เู ขา้ รว่ มการอบรมมคี วามคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี 1. ผู้เขา้ ร่วมอบรมมสี ่วนร่วมเปน็ อยา่ งมาก มีรูปแบบการอบรมที่ดมี าก 2. ใหค้ วามเป็นกันเอง ทาให้ผู้ร่วมการสมั มนา กลา้ ซักถาม แลกเปล่ียนความคดิ เห็น 3. อยากให้มีวัสดุอปุ กรณ์มากกวา่ น้ี หมายเหตุ คิดคะแนนเฉพาะทค่ี วามพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากข้นึ ไป

บทท่ี 4 สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนกลุม่ หลักสูตรวิชาชพี กลุม่ สนใจการทาสายคล้องแมส มจี ดุ ประสงค์ในการจัดกจิ กรรมดงั นี้ 1. เพอื่ ให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดความร้คู วามเข้าใจ เกี่ยวกบั การทาสายคลอ้ งแมส 2. เพ่ือใหผ้ ูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมมกี ารแลกเปลีย่ นแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั แนวทางการ จดั กิจกรรมการทาสายคล้องแมสของตนเอง 3. เพอ่ื เป็นการลดรายจา่ ยในครอบครวั และเปน็ การพฒั นาคุณภาพชวี ิตของผ้เู ขา้ ร่วม กจิ กรรมให้ดียิง่ ขึน้ 4. เพ่ือส่งเสริมความร่วมมือและการจัดกจิ กรรมการเรียนร้กู ารศึกษาอาชีพของผเู้ รียน ผู้รบั บรกิ ารกับสถานศึกษา 5. เพือ่ รว่ มวิเคราะห์ และสังเคราะหร์ ูปแบบ กระบวนการจัดและผลสาเร็จท่ีเกดิ ขึ้นจาก โครงการตามตวั ช้ีวดั ทก่ี าหนดเป็นตวั ช้ีวัดความสาเร็จตามกล่มุ เปาู หมายจากการประเมินเบอ้ื งตน้ 6. เพอื่ ศึกษาผลการดาเนินงาน ประสิทธภิ าพ และประสทิ ธผิ ลในการจัดการศึกษาอาชีพ การดาเนนิ การจดั กจิ กรรม 4.1 ผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรม ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมหลกั สูตรวชิ าชพี กลุ่มสนใจการทาสายคลอ้ งแมส จานวน 9 คน - เพศชายจานวน - คน - เพศหญงิ จานวน 9 คน ผู้จัดกจิ กรรมจานวน 1 คน 4.2 เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการอบรม - ขอ้ มูลปฐมภมู ิ ได้จากการกรอกแบบสอบถามของผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม - ข้อมูลทตุ ิยภมู ิ ศกึ ษาจากเอกสาร ขอ้ มูลต่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง 4.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล วิเคราะห์แบบสอบถามในแตล่ ะสว่ น ดังน้ี ตอนท่ี 1 ข้อมลู สว่ นบคุ คล ตอนที่ 2 ประเมนิ ความพึงพอใจในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ สรปุ เปน็ ประเด็นที่สาคญั 4.4 วธิ กี ารวเิ คราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล ผู้จัดไดด้ าเนินการ 2 ลกั ษณะ คอื 4.4.1 การสงั เคราะหเ์ ชิงคณุ ลกั ษณะ ผู้จดั กจิ กรรมทาการสงั เคราะห์โดยใช้วธิ กี ารวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ 3 ดา้ น คือ ขอ้ มูลทว่ั ไป ข้อมูล ความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน และข้อเสนอแนะ 4.4.2 การสงั เคราะหก์ ารอบรมเชิงปริมาณ ในการสงั เคราะห์การจดั กิจกรรมเชงิ ปรมิ าณ ผู้จัดกจิ กรรมแยกออกเปน็ คุณลกั ษณะตา่ ง ๆ ในการ สงั เคราะห์ขอ้ มลู ดังน้ี 1. ข้อมลู เกย่ี วกับเพศ / อายุ 2. ข้อมูลระดบั ความพงึ พอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3. ข้อเสนอแนะ

โดยเปรียบเทยี บจานวนคนคิดเปน็ ร้อยละในแต่ละสว่ นของขอ้ มูลการอบรมพรอ้ มการบรรยายประกอบ สรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนหลักสตู รวิชาชพี กล่มุ สนใจการทาสายคล้องแมส โดยใช้ วธิ ีการวเิ คราะห์ สังเคราะห์จากแบบประเมนิ ความพงึ พอใจในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนและรปู แบบ การจัดกจิ กรรม สามารถสรุปได้ดังนี้ ๑. การสังเคราะหข์ อ้ มูลทวั่ ไของผู้ตอบแบบสอบถามผู้เข้าร่วมกจิ กรรมเพศหญิง 9 คน เนื่องจากเปน็ ช่วงหยดุ จากการทาการเกษตรหลกั คอื การทานา จงึ ทาใหม้ เี วลาว่างและต้องการตอ่ ยอดอาชพี และพฒั นาอาชพี เพือ่ เป็นการเพม่ิ รายได้ใหก้ ับครอบครวั อีกทางหน่งึ ๒. ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมส่วนใหญ่เป็นมอี ายอุ ยรู่ ะหว่าง ๔๐-๔๙ ปี เน่ืองมาจากเปน็ ช่วงอายุที่ อยู่ในวยั ทางาน และตอ้ งรบั ผิดชอบเร่ืองการทางานบ้าน จงึ มีผลทาใหก้ ารหาคา่ ร้อยละในชว่ งนีส้ ูงกวา่ ช่วงอนื่ ๆ ผลการสังเคราะห์ทางจานวนของผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม จานวนผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมกลุม่ วชิ าชีพมี อยู่จากัด เนือ่ งจากเปน็ กลุ่มวิชาชพี สนใจตอ้ งมีผู้เรียนอย่างน้อยจานวน 6 คนขึ้นไป ส่วนใหญผ่ เู้ รยี นจะมา เรยี นมากกวา่ ที่กาหนด ผลการคานวณอาจมีความคาดเคลือ่ นได้ และงบประมาณการฝึกอบรมกม็ ีอย่อู ยา่ ง จากัด ๓. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลเกี่ยวกับความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนจาก การศึกษาพบวา่ ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมมคี วามพึงพอใจ 1. ดา้ นเนอ้ื หา อยู่ในระดบั มากท่ีสดุ ( x = ๔.70) 2. ด้านกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม อย่ใู นระดับ มากท่สี ุด ( x = 4.62 ) 3. ด้านวิทยากร อยู่ในระดบั มากท่ีสุด ( x = 4.67 ) 4. ด้านการอานวยความสะดวก อยใู่ นระดบั มากทีส่ ุด ( x = ๔.59 ) 5. ด้านการนาความรไู้ ปใช้ อยู่ในระดบั มากที่สดุ ( x = ๔.74 ) จากกิจกรรมการฝึกอาชีพ พบวา่ ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมมีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั มากทีส่ ุด ( x = 4.66) จากการดาเนินการกลุม่ วิชาชีพพบประเด็นสาคัญท่ีสามารถนามาอภปิ รายผลได้ดังน้ี 1. ดา้ นกลุม่ เปาู หมาย 1.1 กลุ่มเปูาหมายสว่ นใหญ่ตอ้ งการนาความร้ทู ไ่ี ด้รับจากการอบรมไปใช้ใน ชีวติ ประจาวันและนาไปใชเ้ ปน็ อาชพี เสริม เพอื่ เป็นการลดรายจา่ ยในครัวเรอื นและเพม่ิ รายไดใ้ หก้ บั ตนเอง 1.2 จากการดาเนินการพบว่ากลุม่ เปูาหมายเปน็ เพศหญงิ เนอื่ งมาจากเปน็ การ เรยี นในสง่ิ ที่มีอย่ใู กลต้ วั และมีใช้อยูใ่ นชีวิตประจาวันรวมถงึ เป็นสงิ่ ท่ีไม่ยาก และเปน็ การฝกึ ฝนการคิดหรือการ วางแผนในด้านการทาการตลาดดว้ ย 2. ด้านงบประมาณ - จากการดาเนนิ งานพบวา่ วสั ดุ อปุ กรณ์ไม่เพียงพอต่อความต้องการของกลมุ่ เนื่องจากมีผ้เู ขา้ รบั การอบรมมากกวา่ เปูาท่ีกาหนด 3. ดา้ นกจิ กรรมการเรยี นการสอน - จากการดาเนนิ งานพบวา่ กิจกรรมตอ้ งยดื หยุ่นตามสภาพกลมุ่ เปูาหมาย เนือ่ งมาจากสภาพชวี ิตความเป็นอยูข่ องกลมุ่ เปูาหมายมสี ่วนสาคญั ตอ่ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

4. ด้านสถานที่ 4.1 การดาเนนิ การอบรม ด้านสถานที่สามารถมกี ารเปลี่ยนแปลงไปได้ตามความ ตอ้ งการ และความเหมาะสมของผเู้ ขา้ ร่วมการอบรม 4.2 ควรมีการใชส้ ถานท่ขี องสว่ นรวม เพือ่ ให้เกดิ ความเช่อื มโยง สัมพันธก์ ันระหวา่ ง กศน. และชมุ ชน ขอ้ เสนอแนะในการดาเนนิ การกลุ่มวิชาชีพครัง้ ต่อไป 1. ควรทาการศึกษาปัญหาความต้องการของกลมุ่ เปาู หมาย โดยใช้เครื่องมือทีห่ ลากหลาย รปู แบบ เพ่ือใหไ้ ดข้ อ้ มูลท่ีถูกตอ้ ง ตรงตามความต้องการของผเู้ รยี นมากท่สี ุด 2. ควรศึกษาความต้องการของกลมุ่ เปูาหมายในด้านตา่ ง ๆ ทตี่ ้องการรบั บริการจาก กศน. เพื่อให้ทราบและสามารถจัดกิจกรรมตามหลักสตู รใหส้ อดคลอ้ งกับความต้องการของท้องถิน่ ได้ 3. ควรศกึ ษาผลกระทบจาการดาเนินการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน โดยการศึกษาจาก กล่มุ เปาู หมาย และชุมชน 4. ควรเก็บข้อมูลของผูเ้ ข้ารับการอบรมหลังการอบรมด้วยทกุ ครัง้ ข้อมลู ความตระหนกั ในการจดั กิจกรรมการศกึ ษาเพอ่ื พัฒนาอาชพี หลกั สูตรวิชาชีพกลุ่มสนใจการทาสายคลอ้ ง แมส ของสถานศกึ ษามงุ่ ให้เกดิ ความสอดคลอ้ งกับความต้องการของผเู้ รียน/ผู้รบั บริการเป็นสาคัญ โดยม่งุ เนน้ ความตอ้ งการของผูเ้ รยี น/ผูร้ บั บริการเปน็ แนวทางในการดาเนนิ งาน และไดม้ ีการสง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ บคุ ลากรในสถานศึกษาเหน็ ความสาคญั ของการจัดหลักสูตรวชิ าชีพแต่ละหลักสูตร และปฏิบัตงิ านอยา่ งเป็น ระบบอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เพื่อใหเ้ กิดคุณภาพในการทางาน ขอ้ มูลการปฏิบัติ (ความพยายาม) เมือ่ บุคลากรไดร้ บั แนวทาง และนโยบายทางการศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชพี แล้ว ได้ดาเนินการ สารวจหาความต้องการของกลมุ่ เปาู หมายที่แท้จริงโดยการรว่ มทาประชาคมหรอื ร่วมประชมุ กบั กลุ่มผนู้ า เพอื่ ใหไ้ ด้รับขอ้ มลู ความตอ้ งการที่แท้จรงิ ของชุมชน และนามาจัดการเรยี นการสอนดา้ นอาชีพ จุดเด่นของกลุ่ม 1. มีความต้องการ เหมือนกนั 2. กลุ่มเปาู หมายมีความสนใจในกจิ กรรมการเรียนการสอนเปน็ อยา่ งดี 3. กลมุ่ เปูาหมายมีความสามคั คี ช่วยงานกนั ดีพอสมควร 4. กล่มุ เปูาหมายมีความรับผิดชอบ 5. กลุ่มเปูาหมายรู้จกั นาวัสดุ อุปกรณ์ และวัตถุดิบที่มีในทอ้ งถิ่นมาใช้ จุดควรพฒั นา (จุดดอ้ ย) 1. การรวมกล่มุ เป็นกลมุ่ อาชพี 2. ผเู้ ขา้ รับการอบรมมาชา้ กวา่ จะรวมกลมุ่ กนั ได้ใช้เวลานาน

แนวทางการพัฒนา 1. ควรพฒั นาการใชว้ ัตถดุ ิบทม่ี อี ยู่ในทอ้ งถ่นิ ในกจิ กรรมการเรียนการสอนใหม้ ากกว่านี้ 2. ควรจดั หางบประมาณเพม่ิ เติม หรอื การขอความสนับสนุนจากแหลง่ ตา่ ง ๆ ในเรอื่ งการ จัดหาวัตถุในการเรยี นรู้ วิธกี ารพฒั นา 1. สร้างความเข้าใจทดี่ ีในการใช้วตั ถุดิบทมี่ ีอยู่ในทอ้ งถนิ่ ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการ สอน ใหผ้ ู้เรยี น/ผรู้ บั บรกิ ารเหน็ ความสาคัญ 2. ปรับวธิ ีการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับผู้เรยี น/ผู้รบั บริการ ให้มคี วามยืดหย่นุ โดยไม่เน้น หน่วยการเรียนรตู้ ามหลกั สูตร แต่ให้ยดึ ตัวผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ แล้วจงึ นาผลการดาเนินงานมาปรบั ปรุงหลักสูตร วชิ าชพี การทาแหนมหมู ในครัง้ ต่อไป

ภาคผนวก

ภาพประกอบกจิ กรรม หลักสูตร กลุ่มสนใจ การทาสายคลอ้ งแมส วนั ท่ี 20 กรกฎาคม 2564 ณ บา้ นเลขท่ี 134/2 หมู่ 4 บา้ นท่าสะแก ตาบลท่าสะแก อาเภอชาตติ ระการ จังหวัดพษิ ณโุ ลก

ภาพประกอบกจิ กรรม หลักสูตร กลุ่มสนใจ การทาสายคลอ้ งแมส วนั ท่ี 20 กรกฎาคม 2564 ณ บา้ นเลขท่ี 134/2 หมู่ 4 บา้ นท่าสะแก ตาบลทา่ สะแก อาเภอชาตติ ระการ จังหวัดพษิ ณโุ ลก

คณะผู้จดั ทา ทปี่ รึกษา นางพรสวรรค์ กนั ตง ผู้อานวยการ .กศน.อาเภอชาติตระการ นายรุ้งภธู ร ภาศรี ครูชานาญการ นางสาวชมพนู ชุ ลว้ นมงคล ครูผชู้ ว่ ย ผ้สู ่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรม บุญประกอบ ครูอาสาสมัครฯ นางสาวประยูร ผู้รบั ผดิ ชอบ/ผู้เรียบเรยี ง/จดั พมิ พร์ ปู เล่ม/ออกแบบปก นางสาวเปียทิพย์ แสงสบี าง ครู กศน.ตาบลท่าสะแก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook