ก คำนำ การสรุปผลการจัดกิจกรรมอาชีพหลักสูตรกลุ่มสนใจ การประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์ เป็นการจัดเก็บ และรวบรวมข้อมูลการอบรมกลุ่มวิชาชีพ เพื่อส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ต่อ ประชาชนผู้สนใจเป็นการสนองตอบความต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ีเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น ในกระบวนการเรยี นรจู้ ะแตกต่างออกไปตามพ้ืนที่ในแต่ละพื้นที่ กลุ่มเป้าหมาย วิถีการดาเนินชีวิตท่ี ดีข้ึน สภาพแวดล้อม ล้วนแต่ส่งผลต่อการเรียนรู้ทั้งส้ิน กระบวนการเรียนรู้จะประกอบด้วย ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติเพื่อฝึกทักษะในการเรียนรู้ให้แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้สามารถนา ความรแู้ ละประสบการณ์ทีไ่ ดไ้ ปปรบั ประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิตต่อไป สรุปผลการจัดกิจกรรมเล่มนี้ ทางผู้ดาเนินงานได้เรียบเรียงขึ้นเพ่ือสรุปผลการจัด กิจกรรมกลุ่มสนใจ การประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์ และได้ใช้ความพยายามอย่างดีท่ีสุดแล้ว แต่ก็ยังไม่ ม่นั ใจวา่ ขอ้ บกพรอ่ งต่าง ๆ มกั เกิดขึน้ ได้เสมอ ดังนั้น จึงใคร่ขอความกรุณาจากผู้ใช้ทุกท่าน หากพบ ขอ้ ผิดพลาดหรอื มขี อ้ เสนอแนะทีค่ ดิ วา่ จะเป็นประโยชน์ กรุณาแจ้งให้ผู้จัดทาทราบด้วยจักขอบคุณย่ิง ท้ังนี้ก็เพ่ือจะได้นาไปเป็นข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไขการสรุปผลการจัดกิจกรรมเ พ่ือพัฒนาอาชีพใน โอกาสต่อไป นางสาวนภิ าพร พระคาสอน ครู กศน.ตาบลชาติตระการ ผจู้ ัดทา มกราคม ๒๕๖๔
ข สำรบัญ เรอื่ ง รายงานผลการจัดกิจกรรมหลกั สตู รกล่มุ สนใจ การประดิษฐด์ อกไมจ้ ันทน์ หนา้ คำนำ หลกั สตู รและเอกสารทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ก สารบญั การดาเนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ข บทที่ 1 สรุป อภิปราย และขอ้ เสนอแนะ 1 บทท่ี 2 ๓ บทที่ 3 ๖ บทที่ 4 12 ภาคผนวก 16 จดั ทาโดย ๑9
รายงานผลการจัดกิจกรรม บทที่ 1 กลุ่มอาชพี พาณชิ ยกรรมและบริการ ชือ่ หลักสูตรการประดิษฐด์ อกไมจ้ นั ทน์ ความเป็นมา สมัยก่อนในการจัดทาพิธีฌาปนกิจศพ มีธรรมเนียมการใช้ดอกไม้จันทน์ควบคู่กับธูปทองและเทียนทอง เพราะเชื่อวา่ กล่ินหอมของดอกไม้จันทนจ์ ะนาดวงวญิ ญาณของผูท้ ่ีล่วงลับไปส่สู รวงสวรรค์ บ้างก็ว่า เนื่องมาจาก ใน สมัยก่อนน้ันเรายังไม่มีการฉีดยา หรือวิธีการที่จะรักษาศพไม่ให้มีกล่ินเหม็น ดังน้ัน ในการเผาศพ จึงต้องใช้ ดอกไม้จันทน์ซ่ึงทามาจากไม้จันทน์ หรือต้นจันทน์ อันเป็นไม้ท่ีมีกล่ินหอม ซึ่งในสมัยก่อนจะนิยมใช้ไม้จันทน์ เฉพาะในงานศพของราชวงศ์ชั้นสูงเท่าน้ัน ต่อมาในสมัยรัชกาลท่ี 5 เน่ืองจากดอกไม้จันทน์เร่ิมหายากขึ้น จึงมีผู้ คิดคน้ ประดษิ ฐด์ อกไมจ้ นั ทนเ์ ทียม โดยการนาไม้จนั ทน์มาทาเป็นแผ่นบางๆ นามาเขา้ รปู ลกั ษณะคล้ายดอกไม้ ชนิด ตา่ ง ๆ แตร่ วมเรยี กวา่ ดอกไมจ้ ันทน์ใช้ในงานพธิ ีหลวง ต่อมาจึงแผ่ขยายการใช้ดอกไม้จันทน์เทียมในหมู่ สามัญชน จึงเร่ิมมีธรรมเนียมการใช้ในหมู่สามัญชน เร่ิมธรรมเนียมการใช้ตั้งแต่นั้นมา โดยแขกท่ีมาร่วมงานจะนา ดอกไม้จันทน์ไปวางไว้ท่ีพานหน้าโลงศพ เป็นการเผาหลอกก่อน แล้วจึงนาดอกไม้จันทน์ทั้งหมดไปใช้ในการ เผา จริงอกี คร้งั ต่อมาไมจ้ นั ทนท์ ่ีใชท้ าดอกไม้จันทนห์ ายากจนแทบหาไมไ่ ด้เลย จึงเปลีย่ นไปใช้วัสดุอย่างอื่นแทน เพราะ หาง่ายและมีราคาถูก แต่แก่นแท้ของธรรมเนียมการใช้ดอกไม้จันทน์ก็ยังไม่เปลี่ยนไป ดอกไม้จันทน์แบบ ท่ัวไปที่ นิยมใช้กันมาเป็นแบบธรรมดาส่วนใหญ่ทาเป็นรูปดอกกุหลาบ ดอกแก้ว มีข้ันตอนการทาที่ไม่ยุ่งยาก และมีสีสัน ตายตัวคือ สีขาว สีครีม หรือสีดา แต่ในยุคปัจจุบันด้วยภูมิปัญญาชาวบ้านที่สร้างสีสันต่างๆ ของดอกไม้จันทน์ ทา ให้ดอกไม้จันทน์มีความแปลกในรูปแบบ สีสันที่เปลี่ยนไป ทาให้ทัศนคติของคนที่นาไปใช้มีความรู้สึกว่าการใช้ ดอกไมจ้ ันทน์เพ่ือเป็นการเคารพ ระลกึ ถงึ ผู้ลว่ งลับ ไม่มบี รรยากาศของความโศกเศร้าเพียงอยา่ งเดยี ว ควำมเชื่อทเ่ี ก่ียวข้องไม้จนั ทน์ เป็นไม้ชนิดหน่ึงที่เช่ือว่าเป็นไม้สูงศักดิ์ มีคุณค่า หายาก จึงมีการนาไม้จันทน์มาเป็นส่วนหนึ่งของ การประกอบพิธีศพ โดยอาจจะเป็นส่วนหนึ่งของหีบศพหรือโลงศพ เป็นฟืนท่ีใช้เผาศพ ต่อมาไม้จันทน์มีน้อย หา ยากหรอื แทบหาไมไ่ ดเ้ ลย จงึ นาไมจ้ ันทนม์ าเป็นสว่ นในการประกอบพิธีเพียงเล็กน้อยเท่าน้ันก็ได้เพราะอย่าง น้อยก็ ยงั ได้ช่ือว่ามีไม้จันทน์ในการประกอบพิธีในครั้งน้ันๆ ปัจจุบันไม้จันทน์ หายากมากจนแทบหาไม่ได้เลย จึงมีการนา ไม้ชนิดอ่ืนมาทดแทนและประดิษฐ์ในรูปของดอกไม้ประดิษฐ์เป็นส่ิงทดแทนเพื่อให้สะดวกต่อการใช้งาน เรียกว่า ดอกไม้จันทน์ ตามคติความเชื่อของคนไทยพุทธแต่โบราณ ถือว่าการจัดงานฌาปนกิจศพให้คนตาย เป็นการ แสดงความเคารพ และไว้อาลัยครั้งสุดท้าย ทุกสิ่งท่ีจัดทาจะต้องประณีตและดีที่สุดเท่าท่ีฐานะจะเอ้ืออานวย เพราะเช่อื ว่าผูต้ ายจะไดไ้ ปสู่สขุ คตแิ ละเม่ือเกิดใหมก่ ็จะพบแตส่ ิ่งท่ดี ีงาม มีการสันนษิ ฐานว่าราวๆ ประมาณ ๑,๕๐๐ ปีก่อน มนุษย์ยังไม่มีการฉีดยาศพ หรือฉีดฟอร์มาลีน และวธิ กี ารทจี่ ะรักษาศพไม่ใหม้ ีกลน่ิ เหม็น ดง้ั น้ันในการประกอบพิธีฌาปนกิจศพ จึงใช้ไม้จันทน์มาเป็นส่วนใน การ ประกอบพิธี เพอื่ บรรเทากลน่ิ ศพ
สถานท่ี ณ ที่ทาการผู้ใหญบ่ ้าน หมู่ ๑ ตาบลชาติตระการ อาเภอชาติตระการ จงั หวดั พิษณุโลก วัน / ระยะเวลาทจ่ี ดั กิจกรรม - ๓๐ – ๓๑ มกราคม ๒๕๖๔ - หลักสตู ร ๑๐ ชวั่ โมง - จานวน ๑๒ คน วิทยากร นางหลิม จนั ทะลี ตาแหนง่ วิทยากร ผรู้ บั ผิดชอบ ตาแหนง่ ครู กศน.ตาบล นางสาวนภิ าพร พระคาสอน
บทที่ 2 หลกั สูตรและเอกสารที่เกยี่ วขอ้ ง การส่งเสริมการจดั กระบวนการเรยี นรู้ ในพระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ ได้กาหนดบทบาท ในการส่งเสรมิ การเรียนรูข้ องรัฐ และสถานศกึ ษาตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. รัฐตอ้ งสง่ เสรมิ การดาเนินงาน และการจัดตั้งแหล่งการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตทุกรปู แบบ ได้แก่ ห้องสมุดประชาชน พพิ ิธภณั ฑ์ หอศิลป์ สวนสัตว์ สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร์ อุทยานวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ศนู ยก์ ารกฬี าและนนั ทนาการ แหลง่ ข้อมูล และแหล่งการเรยี นรู้ อย่างเพียงพอ และมีประสิทธภิ าพ 2. ใหค้ ณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน กาหนดหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้น พื้นฐานเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองดีของชาติ การดารงชวี ติ และการประกอบอาชพี ตลอดจนเพื่อ การศกึ ษาต่อ 3. ให้สถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน มีหนา้ ท่ีจัดทาสาระของหลักสตู รในส่วนทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับ สภาพปญั หาในชมุ ชนและสงั คม ภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพื่อเปน็ สมาชิกทดี่ ขี องครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ 4. หลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ ตอ้ งมีลักษณะหลากหลายเหมาะสมกบั แตล่ ะระดบั โดยม่งุ พัฒนาคุณภาพชีวติ ของบคุ คล สาระของหลักสตู ร ท้ังทีเ่ ป็นวชิ าการ วิชาชพี ตอ้ งมุ่งพฒั นาคนให้มคี วาม สมดุล ท้งั ดา้ นความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดงี าม และความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม 5. ให้สถานศกึ ษารว่ มกับบุคคล ครอบครัว ชมุ ชน องค์กรชมุ ชน องคก์ รปกครองส่วน ทอ้ งถน่ิ เอกชน องค์กรเอกชน องคก์ รวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบนั สังคมอืน่ ส่งเสริม ความเขม้ แขง็ ของชุมชน โดยจดั กระบวนการเรียนรูภ้ ายในชมุ ชน เพือ่ ให้ชุมชนมีการจดั การศกึ ษาอบรม มกี าร แสวงหาความรู้ ขอ้ มูล ข่าวสาร และรจู้ ักเลือกสรรภมู ปิ ญั ญา และวทิ ยาการต่าง ๆ เพ่ือพัฒนาชุมชนในสอดคล้อง กบั สภาพปัญหาและความต้องการ รวมท้ังหาวิธกี ารสนบั สนุนให้มีการเปลีย่ นแปลงประสบการณ์การพัฒนา ระหว่างชุมชน 6. ใหส้ ถานศกึ ษาพฒั นากระบวนการเรียนการสอนทมี่ ีประสิทธิภาพ รวมทั้งการ ส่งเสริมให้ผสู้ อนสามารถวจิ ัยเพอ่ื พฒั นากระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสมกบั ผเู้ รียนในแต่ละระดับการศึกษา การศกึ ษาประกอบด้วยองค์ประกอบตา่ ง ๆ ที่มสี ว่ นช่วยเหลอื เอ้ือต่อการจัดกิจกรรมการเรยี นการ สอน แนวทางในการจัดกระบวนการเรียนรู้เพียงอย่างเดยี วไม่สามารถทาให้การจดั การศึกษาดาเนนิ ไปได้อยา่ ง ราบรืน่ ตอ้ งอาศัยการส่งเสรมิ การจดั กระบวนการเรยี นรใู้ นรูปแบบต่าง ๆ ดว้ ย การจดั การศึกษาท่เี ก่ียวข้องกบั ภูมิ ปญั ญาท้องถนิ่ ต้องสอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหา และความต้องการของแตล่ ะท้องถนิ่ ด้วย แนวคดิ ของการศกึ ษาตลอดชีวิต เป็นการศึกษาท่มี ีความจาเปน็ สาหรับบคุ คลในทุกช่วงชวี ิตต้งั แต่ เกดิ จนตาย บคุ คลมีความสามารถทจ่ี ะเรียนรู้ไดต้ ลอดชวี ติ การศกึ ษา มิไดส้ ้ินสุดเม่ือบคุ คลจบจากโรงเรยี นหรอื สถาบันการศึกษาการศึกษาตลอดชีวติ เน้นความเสมอภาคความเท่าเทียมกนั ในโอกาสทางการศึกษาการศึกษา ตลอดชวี ิตควรมคี วามยดื หยนุ่ หลากหลายรปู แบบ และวธิ ีการเพือ่ เปิดโอกาสใหท้ กุ คนเรียนร้สู ามารถเลอื กวิธเี รียนท่ี เหมาะสมกบั ความสามารถของตนการศึกษาตลอดชวี ติ มุ่งใหบ้ ุคคลได้พัฒนาอย่างเต็มศกั ยภาพพฒั นาคุณภาพชวี ิต และพ่ึงตนเองได้ ส่ิงท่ีให้บุคคลเรยี นรู้ควรสัมพันธ์เก่ียวข้องกบั วิถีชีวิต ซ่ึงบุคคลควรได้รับความรแู้ ละทักษะท่ีจาเป็น ในการดาเนินชีวติ และการประกอบอาชีพ รวมทง้ั ทักษะในการแสวงหาความรู้ หรือมเี คร่ืองมือในการแสวงหา ความรู้ต่อไป การศกึ ษาตลอดชีวติ เปน็ ภาพรวมของการศึกษาทง้ั หมดครอบคลุมการศกึ ษาทกุ ประเภท ทุกระดับที่ เกดิ จากการผสมผสานระหว่างระบบการศึกษาท่จี ัดสัดสว่ นของการศึกษาไว้ 3 ประเภท คือ
1. การศึกษาในระบบ เปน็ การศึกษาทก่ี าหนดจุดม่งุ หมาย วธิ กี ารศึกษา หลกั สตู ร ระยะเวลา ของการศึกษา การวัดและการประเมินผล ซง่ึ เป็นเง่ือนไขสาคัญของการสาเรจ็ การศึกษาทแ่ี นน่ อน 2. การศกึ ษานอกระบบ เป็นการศึกษาท่ีมคี วามยืดหย่นุ ในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รปู แบบ วิธีการจัดการศกึ ษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมินผล ซง่ึ เปน็ เงื่อนไขสาคญั ของการสาเรจ็ การศึกษา โดยเน้อื หาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาและความต้องการของบุคคล แต่ละกลมุ่ ตัวอยา่ ง เชน่ การจดั กลุ่มเรยี นตามความสนใจของผ้เู รยี น การเรยี นหรอื การฝึกอบรมหลักสูตรระยะสน้ั เป็นต้น 3. การศกึ ษาตามอัธยาศยั เป็นการศึกษาท่ีให้ผเู้ รียนได้เรียนรดู้ ว้ ยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบคุ คล ประสบการณ์ สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม สื่อ หรอื แหล่งความรู้อน่ื ๆ เชน่ การฝึกฝนและปฏิบตั งิ านกบั พ่อแม่ หรือ สถานประกอบการ การศึกษาด้วยตนเองจากหนงั สอื และสื่อตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ ปัจจุบันภารกจิ ของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ได้ขยายออกไปอยา่ ง กว้างขวาง สามารถแบ่งภารกิจหลักได้ 3 ประเภท คือ 1. ส่งเสรมิ การศึกษาในระบบโรงเรียน โดยจัดกิจกรรมเพ่ือสง่ เสรมิ การเรยี นการสอนในระบบ โรงเรียนในรปู แบบของการใช้ส่อื เทคโนโลยีการศึกษา สอื่ รายการวทิ ยุ โทรทัศนเ์ พื่อการศึกษา สอ่ื การศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทยี ม และการจัดนิทรรศการวิทยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษา 2. จัดการศึกษานอกโรงเรียน โดยมงุ่ จดั การศึกษาให้กบั ประชาชนและผ้ดู ้อยโอกาสท่ีอยู่นอก ระบบโรงเรยี นใหไ้ ดร้ ับการศึกษาขน้ั พื้นฐาน อา่ นออก เขยี นได้ รวมท้ังการจดั การศกึ ษาสายสามญั และสายอาชพี ในรูปแบบตา่ ง ๆ เพอื่ ยกระดับการศกึ ษาและพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ให้กบั กลมุ่ เปาู หมาย 3. สง่ เสรมิ การศึกษาตามอัธยาศยั โดยจดั กิจกรรมการเรียนร้สู อดคล้องกบั วิถีชวี ติ อยา่ งต่อเน่อื ง เพอ่ื ใหป้ ระชาชนได้รบั ขอ้ มูลข่าวสารที่จาเป็นและทนั สมยั รู้เท่าทันการเปลีย่ นแปลงของสังคมโลกที่เป็นไปอยา่ ง รวดเร็วในยคุ โลกาภวิ ฒั น์ สามารถแสวงหาความรู้ไดด้ ว้ ยตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชวี ติ จากแหล่งตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ห้องสมดุ ประชาชน ท่อี ่านหนังสอื ประจาหมบู่ า้ น ศูนย์การเรียนชุมชน ศูนย์วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื การศึกษา และ รายการวทิ ยุโทรทัศน์ เป็นตน้ โดยสรปุ ภารกิจทงั้ หมดดังกลา่ ว กเ็ พอ่ื จดั การศึกษาตลอดชีวิตใหแ้ ก่ประชาชนทอี่ ยู่ทั้ง ในและนอกระบบโรงเรียนให้มีโอกาสไดร้ บั การศึกษาขั้นพื้นฐาน ทักษะอาชีพ และข่าวสารขอ้ มลู ทีท่ ันสมัยในทุก ช่วงเวลาท่ีตอ้ งการ ในรูปแบบของการศึกษาตลอดชีวิต จดั การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ เป็นการศกึ ษาเพื่อพัฒนาความรคู้ วามสามารถและทักษะในการ ประกอบอาชีพของบุคคลและกลุ่มบคุ คล ซึง่ มจี ดุ มงุ่ หมายในชวี ติ ที่ตา่ งกัน โดยมีสาระดงั นี้ 1. การเรยี นรู้อาชีพแบบองค์รวมทีป่ ระชาชน ครู กศน.และผู้เก่ยี วข้องร่วมกนั จัดกิจกรรมการ เรยี นรู้ เพือ่ ฟ้นื ฟเู ศรษฐกจิ ชมุ ชน 2. การออกแบบการเรยี นรูง้ านอาชีพตามลกั ษณะของการจัดการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาอาชีพใน รปู แบบการฝกึ ทักษะอาชีพ การเข้าสู่อาชพี การพฒั นาอาชพี และการพฒั นาอาชีพด้วยเทคโนโลยี 3. การเรียนรู้จากการปฏิบัติจรงิ ท่บี ูรณาการกับวิถชี วี ิต โดยใชว้ งจรกระบวนการคิด ทา จา แก้ปญั หาและพัฒนา 4. การจดั การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชีพท่ีพฒั นาศักยภาพของบคุ คลและชุมชนท่ีสอดคล้องกับวิถี ชวี ติ โดยสง่ เสริมการรวมกลุม่ อาชีพ สร้างเครือขา่ ยอาชีพ มีระบบการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ความรแู้ ละประสบการณ์ การทาอาชีพภายใตว้ ัฒนธรรมของชุมชน มกี ลยุทธ์เพื่อการแข่งขันของชมุ ชน เป็นชุมชนทใี่ ชเ้ ทคโนโลยใี นการ บริหารจัดการและพัฒนาอาชพี
กศน.อาเภอชาติตระการ ได้ดาเนินการจดั กิจกรรมตามรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมี การบูรณาการการจดั การเรียนรูเ้ พ่ือใหเ้ หมาะสมกบั ผูเ้ รียน แสดงถงึ ภาพสาเร็จในการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี น กิจกรรมการเรียนรู้จากภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ที่เป็นสว่ นหนงึ่ ในการพฒั นาศกั ยภาพของผเู้ รียน ในการจดั การเรียนการ สอนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ การเรียนการสอนมุ่งเนน้ ประโยชน์ของผู้เรียนเป็นสาคัญ จงึ ต้องจดั ใหผ้ ูเ้ รียนได้เรยี นรู้ จากประสบการณจ์ รงิ ฝกึ ปฏิบัตใิ หท้ าได้ คิดเป็น มีนสิ ยั รกั การเรียนรู้ และเกิดการใฝเุ รยี นอย่างต่อเนอ่ื งตามแนวคดิ ของการศึกษาตลอดชีวติ
บทที่ 3 การดาเนนิ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผู้ดาเนินการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนกลุ่มสนใจหลกั สตู รการประดิษฐด์ อกไมจ้ ันทน์ ได้ ดาเนนิ การในการอบรม เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และการวเิ คราะหข์ อ้ มูลดงั นี้ 3.1 การดาเนินการจดั กิจกรรม 1. เตรยี มการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน - ประชุมวางแผนรูปแบบการจดั กิจกรรม - เลือกหลกั สูตรวิชาชพี ที่จะจัดกิจกรรมการเรียนการสอน - มอบหมายงานให้บคุ ลากรท่ีเก่ียวข้อง - ติดตอ่ ประสางานในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2. วธิ กี ารดาเนินงาน - เขยี นขออนุญาตจดั ต้ังกล่มุ วชิ าชพี - เสนอขออนญุ าตจัดตั้งกลุ่มวชิ าชพี - เตรียมการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน 1. เตรียมการกอ่ นการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน - การจดั เตรยี มเอกสารการเรยี นการสอน - ติดต่อสถานที่ - ตดิ ตอ่ วทิ ยากร - อืน่ ๆ 2. ตดิ ต่อประสานงานเครือข่าย - จดั การอบรมกลุ่มวิชาชพี ตามแผนท่วี างไว้ 1. ลงทะเบยี นผเู้ ข้าร่วมการกจิ กรรมการเรยี นการสอน 2. วทิ ยากรใหค้ วามรู้ เร่ืองหลกั สูตรการประดิษฐ์ดอกไมจ้ ันทน์ 3. จดั กิจกรรมกล่มุ ย่อย 4. สรุปกจิ กรรมย่อย 5. ปดิ การอบรม - สรปุ รายงานผลการจดั กจิ กรรมกลมุ่ สนใจ การประดิษฐ์ดอกไม้จนั ทน์ เป็นรูปเลม่ - รายงานผลการจัดกิจกรรมกลุ่มสนใจ การประดษิ ฐด์ อกไม้จนั ทน์ ใหผ้ ู้ที่เกี่ยวข้อง รับทราบ 3.2 ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมหลักสูตรการประดษิ ฐ์ดอกไม้จันทน์ จานวน ๑๒ คน - เพศชาย จานวน - คน - เพศหญิง จานวน 12 คน ผู้จัดกิจกรรม จานวน 1 คน 3.3 เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในการจดั กิจกรรม - ขอ้ มลู ปฐมภูมิ ได้จากการกรอกแบบสอบถามของผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม - ข้อมลู ทตุ ยิ ภมู ิ ศึกษาจากเอกสาร ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ที่เกีย่ วข้อง
3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล วิเคราะหแ์ บบสอบถามในแต่ละสว่ น ดงั น้ี ตอนที่ 1 ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล ตอนท่ี 2 ประเมินความพงึ พอใจในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ตอนที่ 3 สรุปขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะ สรปุ เป็นประเดน็ ที่สาคัญ สถิติที่ใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย โดยใชส้ ูตรดงั นี้ 3.4.1 คา่ รอ้ ยละ (%) P = F 100 n เม่ือ p แทน ร้อยละ F แทน จานวนผู้ตอบแบบสอบถาม n แทน จานวนท้งั หมด 3.4.2 ค่าเฉลี่ย ( x ) x = x n เมอื่ x แทน คา่ เฉลย่ี x แทน จานวนผตู้ อบแบบสอบถาม n แทน จานวนท้งั หมด 3.5 การวิเคราะห์ขอ้ มลู 1.00 – 1.50 หมายถึง น้อยที่สุด 1.51 – 2.50 หมายถึง น้อย 2.51 – 3.50 หมายถึง ปานกลาง 3.51 – 4.50 หมายถึง มาก 4.51 – 5.00 หมายถึง มากทีส่ ุด ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน จากการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนวชิ าชพี กลุม่ สนใจหลักสตู รการประดษิ ฐ์ดอกไมจ้ ันทน์ ได้ มกี ารสารวจความพงึ พอใจของผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมท่ีมตี ่อรปู แบบการจดั กิจกรรม จานวน ๑๒ คน โดยวธิ กี ารตอบ แบบสอบถาม จึงได้มีการนาเสนอขอ้ มลู ในรปู ตารางประกอบคาบรรยาย โดยแบง่ ออกเป็น 3 ส่วน ไดแ้ ก่ ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล ตอนที่ 2 ประเมนิ ความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ (กิจกรรมการเรยี นการสอน) ตอนที่ 3 สรปุ ขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะ สรปุ เป็นประเดน็ ท่ีสาคัญ
3.1 ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามเพศ เพศ จานวน ( n = ๑๒ ) รอ้ ยละ ชาย - - หญิง ๑๒ ๑๐๐ รวม ๑๒ 100 จากตารางที่ 1 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เขา้ ร่วมอบรมท้ังหมด คือ เพศหญงิ คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐ ตารางท่ี 2 แสดงจานวน รอ้ ยละจานวนตามอายุ อายุ จานวน ( n = ๑๒ ) รอ้ ยละ ตา่ กว่า 15 ป - - 15 – 39 ป ๔ 40 – 59 ป ๘ ๓๓.๓๓ 60 ปขน้ึ ไป - ๖๖.๖๗ ๑๒ รวม - 100 จากตารางที่ 2 ผลการศึกษาพบว่า ผเู้ ขา้ รว่ มอบรมส่วนใหญ่ คอื ช่วงอายรุ ะหวา่ ง 40 – 59 ป คดิ เปน็ ร้อยละ ๖๖.๖๗ รองลงมาชว่ ง 15 – 39 ป คิดเปน็ รอ้ ยละ ๓๓.๓๓ ตารางท่ี 3 แสดงจานวน รอ้ ยละจานวนตามระดบั การศึกษาสูงสุด ระดับการศกึ ษาสูงสดุ จานวน ( n = ๑๒ ) รอ้ ยละ ประถมศึกษา ๖ ๕๐ ๒ ๑๖.๖๗ มัธยมศกึ ษาตอนต้น ๑ ๘.๓๓ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ๓ ๒๕ ๑๒ ๑๐๐ อ่ืนๆ รวม จากตารางท่ี 3 ผลการศึกษาพบวา่ ผเู้ ขา้ ร่วมอบรมสว่ นใหญ่มรี ะดับการศึกษาสูงสุด คือ ระดบั ประถมศกึ ษา คิดเป็นร้อยละ ๕๐ รองลงมาคือ อ่นื ๆ คิดเป็นร้อยละ ๒๕
ตารางท่ี 4 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามอาชีพ อาชีพ จานวน ( n = 12 ) ร้อยละ เกษตรกร ๘ ๖๖.๖๗ รับจา้ ง - ค้าขาย - - นกั เรยี น/นกั ศึกษา ๒ - ๒ ๑๖.๖๗ อืน่ ๆ ๑๒ ๑๖.๖๗ รวม 100 จากตารางท่ี 4 ผลการศึกษาพบวา่ ผู้เข้าร่วมอบรมสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร คดิ เป็น ร้อยละ ๖๖.๖๗ ตารางท่ี 5 แสดงจานวน ร้อยละจานวนตามรายได้ต่อเดือน รายได้ต่อเดอื น จานวน ( n = ๑๒ ) รอ้ ยละ ต่ากว่า 5,000 บาท ๑๒ ๑๐๐ 5,000 – 10,000 บาท - 10,001 – 20,000 บาท - - มากกวา่ 20,000 บาท - - ๑๒ - รวม 100 จากตารางที่ 5 ผลการศึกษาพบว่า ผเู้ ข้ารว่ มอบรมส่วนใหญ่ มรี ายได้ 5,000 บาท คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐
3.2 ตอนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับความพงึ พอใจในการจัดกิจกรรม ตารางท่ี 6 แสดงจานวน ร้อยละ และคา่ เฉล่ยี ของความพึงพอใจของผูเ้ ขา้ ร่วมอบรมที่มีตอ่ การจัดกิจกรรมการ เรียนการสอน รายการ ระดับความพึงพอใจ มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อย ค่าเฉลย่ี อย่ใู น ทีส่ ดุ ระดบั 1.เนื้อหาวิชาที่จดั การเรยี นร/ู้ ฝกึ อบรมตรง ๖ ๕ 1 - - 4.๑๗ มาก ตามความต้องการของท่านเพยี งใด (๕๐.00%) (41.78%) (8.30%) 2.วทิ ยากรมาใหค้ วามรู้ตรงตามเวลา 7 ๕ - - - 4.๕๘ มาก (58.33%) (41.78%) 3.วิทยากรมาให้ความรู้ครบตามหลกั สูตร 7 ๔1 - - 4.๒๕ มาก กาหนด (58.33%) (33.33%) (8.30%) 4.ความสามารถในการถา่ ยทอดความรขู้ อง ๖ ๖ - - - ๔.๕๐ มาก ทส่ี ุด วทิ ยากร (๕๐.00%) (๕๐.00%) 5.จานวนสื่อ/อปุ กรณ์การฝกึ ประกอบการ ๘ ๔ - - 4.๖๗ มาก ที่สุด เรยี นเพียงพอเพยี งใด (๖๖.67%) (33.33%) 6.ท่านไดร้ บั ความรแู้ ละสามารถฝกึ ทกั ษะได้ ๙ ๓ - - - 4.๗๕ มาก ท่สี ุด ตามที่คาดหวังมากนอ้ ยเพียงใด (๗5.00%) (2๕.00%) 7.ความรู้ทักษะท่ไี ดส้ ามารถนาไปใช้ 7 ๔1 - - ๔.๒๕ มาก ประกอบอาชีพไดเ้ พยี งใด (58.33%) (33.33%) (8.30%) ท่ีสุด 8.สถานทเ่ี รียนเหมาะสมเพยี งใด 7 ๔1 - - ๔.๒๕ มาก (58.33%) (33.33%) (8.30%) 9.ท่านไดร้ บั โอกาสในการเรียนรู้เทา่ เทยี มกนั ๖ ๖ - - - 4.๕๐ มาก ทส่ี ดุ เพยี งใด (๕๐.00%) (๕๐.00%) 10.ระยะเวลาในการเรยี น/กจิ กรรม ๕ ๖1 - - ๔.๐๘ มาก เหมาะสมเพยี งใด (41.78%) (๕๐.00%) (8.30%) 11.ความร้ทู ไี่ ดร้ บั คุม้ คา่ กับเวลาและความ ๘ ๓1 - - ๔.๓๓ มาก ต้ังใจเพียงใด (๖๖.67%) (2๕.00%) (8.30%) 12.ทา่ นพงึ พอใจตอ่ หลักสูตรน้เี พยี งใด ๙ ๒1 - - 4.๔๒ มาก (๗5.00%) (16.67%) (8.30%) รวมทงั้ สิ้น ๘๕ ๕๒ 7 - - 4.40 มาก คา่ เฉล่ียถว่ งนา้ หนกั (๕๙.03%) (๓๖.11%) (4.86%) ๔.๔๐ มาก
จากตารางที่ 6 จากการศกึ ษาพบวา่ ผเู้ ขา้ ร่วมอบรมสว่ นใหญ่มคี วามพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการ สอนหลักสตู รกล่มุ สนใจ การประดษิ ฐด์ อกไมจ้ ันทน์ โดยรวมอยใู่ นระดับมาก ( x = 4.๔๐) โดยมีระดบั ความพึง พอใจมาก ในเรื่อง ท่านไดร้ บั ความร้แู ละสามารถฝึกทกั ษะได้ตามที่คาดหวังมากน้อยเพียงใด คดิ เปน็ ( x = ๔.๗๕ ) ระดับความพึงพอใจรองลงมา คือ จานวนส่ือ/อปุ กรณ์การฝึกประกอบการเรยี นเพยี งพอเพยี งใด คิดเป็น ( x =4. ๖๗ ) และระดับความพงึ พอใจระดบั ตา่ ทส่ี ุด คอื ระยะเวลาในการเรยี น/กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด คิดเปน็ ( x = ๔.๐๘) ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ - หมายเหตุ คิดคะแนนเฉพาะทีค่ วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั มากขน้ึ ไป
บทท่ี 4 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนกลมุ่ สนใจหลักสตู รการประดษิ ฐด์ อกไมจ้ ันทน์ มีจุดประสงคใ์ น การจดั กจิ กรรมดงั นี้ 1. เพื่อให้ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมเกิดความรู้ความเขา้ ใจ เกย่ี วกับกลมุ่ สนใจ การประดิษฐ์ ดอกไมจ้ ันทน์ 2. เพ่ือใหผ้ ู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการแลกเปล่ยี นแสดงความคิดเหน็ เกย่ี วกับแนวทางการ จดั กิจกรรม 3. เพ่ือเป็นการลดรายจ่ายในครอบครวั และเป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผเู้ ข้าร่วม กิจกรรมให้ดยี งิ่ ขนึ้ 4. เพื่อส่งเสรมิ ความร่วมมือและการจดั กจิ กรรมการเรียนร้กู ารศกึ ษาอาชพี ของผู้เรยี น ผู้รบั บรกิ ารกับสถานศกึ ษา 5. เพอื่ ร่วมวเิ คราะห์ และสังเคราะหร์ ูปแบบ กระบวนการจดั และผลสาเร็จทเี่ กดิ ข้ึนจาก โครงการตามตวั ช้วี ัดที่กาหนดเป็นตวั ชี้วัดความสาเรจ็ ตามกล่มุ เปาู หมายจากการ ประเมนิ เบ้ืองตน้ 6. เพือ่ ศกึ ษาผลการดาเนนิ งาน ประสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ลในการจดั การศึกษาอาชพี การดาเนินการจดั กิจกรรม 4.1 ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมหลกั สตู รการประดษิ ฐ์ดอกไมจ้ นั ทน์ จานวน ๑๒ คน - เพศชาย จานวน - คน - เพศหญิง จานวน ๑๒ คน ผู้จดั กิจกรรม จานวน 1 คน 4.2 เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการอบรม - ข้อมูลปฐมภูมิ ไดจ้ ากการกรอกแบบสอบถามของผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม - ขอ้ มูลทุตยิ ภมู ิ ศกึ ษาจากเอกสาร ข้อมลู ตา่ ง ๆ ที่เก่ียวข้อง 4.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล วเิ คราะหแ์ บบสอบถามในแต่ละส่วน ดงั นี้ ตอนที่ 1 ข้อมลู ส่วนบุคคล ตอนท่ี 2 ประเมินความพงึ พอใจในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ สรปุ เป็นประเด็นทส่ี าคญั 4.4 วธิ กี ารวเิ คราะห์ขอ้ มลู ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ผู้จัดได้ดาเนินการ 2 ลักษณะ คือ 4.4.1 การสงั เคราะหเ์ ชิงคุณลักษณะ ผู้จดั กิจกรรมทาการสังเคราะห์โดยใช้วธิ กี ารวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ 3 ด้าน คอื ข้อมลู ทัว่ ไป ข้อมูลความพึงพอใจในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน และข้อเสนอแนะ
4.4.2 การสงั เคราะหก์ ารอบรมเชิงปริมาณ ในการสงั เคราะห์การจดั กิจกรรมเชิงปรมิ าณ ผจู้ ดั กิจกรรมแยกออกเปน็ คณุ ลักษณะต่าง ๆ ในการสังเคราะหข์ ้อมูลดังนี้ 1. ข้อมลู เก่ียวกับเพศ / อายุ 2. ข้อมูลระดับความพงึ พอใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3. ข้อเสนอแนะ โดยเปรียบเทียบจานวนคนคิดเปน็ ร้อยละในแต่ละสว่ นของข้อมูลการอบรม พร้อม การบรรยายประกอบ สรปุ ผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนกลุ่มสนใจ การประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์ โดยใชว้ ธิ ีการ วิเคราะห์ สงั เคราะห์จากแบบประเมินความพึงพอใจในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน และรปู แบบการจัด กิจกรรม สามารถสรุปไดด้ งั น้ี 1. การสังเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมท้งั หมดเปน็ เพศหญงิ เนอ่ื งจากกล่มุ สนใจหลกั สตู รการประดิษฐด์ อกไม้จันทน์ เป็นงานทผ่ี ู้หญงิ ชอบเพราะเป็นงานเก่ียวกับงานบา้ นงานเรือนและสามารถทาเปน็ อาชีพเสริมไดเ้ พิ่มรายได้เพ่ือลด ค่าใชจ้ า่ ยในครัวเรือนได้อกี ทาใหร้ อ้ ยละท้ังหมดเป็นเพศหญงิ 1.1 ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมสว่ นใหญเ่ ป็นมอี ายุอยู่ระหวา่ ง ๔๐ – ๕๙ ป เนื่องจากเป็นช่วง วยั ทว่ี า่ งจากการทางานหลกั คือการเกษตร ซ่ึงเหมาะกับวัยน้มี าก จงึ มีผลทาใหก้ ารหาค่าร้อยในช่วงนส้ี งู กวา่ ชว่ งอืน่ ๆ ผลการสงั เคราะห์ทางจานวนของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม จานวนผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ วิชาชพี มีอยู่ จากดั ส่วนใหญผ่ ้เู รียนจะมาเรยี นตามทกี่ าหนด ไม่มีผู้เรียนเกินจากเปูาหมายที่กาหนด ผลการคานวณอาจมีความ คาดเคล่ือนได้ ถ้าหากมผี ู้เรยี นเพ่ิมขนึ้ อีกจากกลุ่มเปูาหมายปกติ และงบประมาณการฝึกอบรมก็มีอยู่อย่างจากัด จากการศึกษาพบวา่ ผเู้ ข้ารว่ มอบรมสว่ นใหญ่มคี วามพงึ พอใจต่อการจดั การเรยี นการสอนหลกั สูตรกลุม่ สนใจ การประดิษฐ์ดอกไมจ้ ันทน์ โดยรวมอยใู่ นระดบั มาก ( x = 4.๔๐) โดยมีระดับความพงึ พอใจมาก ในเร่อื ง ทา่ นได้รบั ความรแู้ ละสามารถฝกึ ทักษะไดต้ ามท่ีคาดหวังมากนอ้ ยเพยี งใด คดิ เปน็ (x = ๔.๗๕ ) ระดบั ความพงึ พอใจรองลงมา คือ จานวนสื่อ/อุปกรณ์การฝกึ ประกอบการเรียนเพียงพอเพยี งใด คดิ เป็น ( x =4.๖๗ ) และระดบั ความพงึ พอใจระดับตา่ ทส่ี ดุ คอื ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรมเหมาะสมเพยี งใด คิดเป็น ( x = ๔.๐๘) อภปิ รายผล จากการดาเนินการกลุ่มวิชาชพี พบประเดน็ สาคัญท่สี ามารถนามาอภปิ รายผลได้ดังนี้ 1. ดา้ นกลุ่มเปาู หมาย 1.1 กลุ่มเปาู หมายสว่ นใหญ่ตอ้ งการเพยี งนาความรู้ท่ีได้รับจากการอบรมไปใช้ใน ชีวติ ประจาวัน 1.2 จากการดาเนินการพบวา่ กลุ่มเปูาหมายทั้งหมดเป็นเพศหญงิ เนือ่ งจากเป็นงานที่ แม่บ้านทั้งหลายมีความสนใจมาก 2. ดา้ นงบประมาณ 2.1 จากการดาเนินงานพบว่าคา่ วสั ดุ อุปกรณ์ไม่คอ่ ยเพยี งพอตอ่ ความต้องการของกลมุ่ ผเู้ ข้ารบั การอบรม แตไ่ ดม้ ีการใช้อย่างอน่ื ทดแทน
3. ดา้ นกจิ กรรมการเรียนการสอน 3.1 จากการดาเนินงานพบวา่ กจิ กรรมหลักสตู รการประดิษฐ์ดอกไมจ้ นั ทน์ได้ เน่ืองมาจากปญั หาเรื่องงบประมาณน้อยราคาวัตถุดบิ สูง 3.2 จากการดาเนินงานพบว่ากจิ กรรมต้องยืดหย่นุ ตามสภาพกลุ่มเปาู หมาย เน่อื งมาจากสภาพชวี ติ ความเป็นอยู่ของกลุม่ เปาู หมายมสี ่วนสาคัญตอ่ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 4. ด้านสถานท่ี 4.1 การดาเนนิ การอบรม ดา้ นสถานทสี่ ามารถมกี ารเปลี่ยนแปลงไปได้ตามความ ต้องการ และความเหมาะสมของผู้เข้าร่วมการอบรม 4.2 ควรมกี ารใช้สถานท่ขี องสว่ นรวม เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเชอ่ื มโยง สมั พนั ธก์ ันระหวา่ ง กศน. และชมุ ชน ข้อเสนอแนะในการดาเนนิ การกล่มุ วชิ าชีพครง้ั ตอ่ ไป 1. ควรทาการศึกษาปัญหาความตอ้ งการของกลมุ่ เปูาหมาย โดยใช้เครือ่ งมือที่หลากหลาย รปู แบบ เพื่อให้ได้ข้อมูลทถ่ี ูกต้อง ตรงตามความต้องการของผู้เรียนมากที่สดุ 2. ควรศกึ ษาความต้องการของกลุ่มเปาู หมายในด้านตา่ ง ๆ ท่ตี อ้ งการรับบริการจาก กศน. เพอ่ื ใหท้ ราบและสามารถจดั กิจกรรมตามหลกั สตู รใหส้ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของทอ้ งถิน่ ได้ 3. ควรศึกษาผลกระทบจาการดาเนนิ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน โดยการศึกษาจาก กล่มุ เปูาหมาย และชุมชน 4. ควรเกบ็ ขอ้ มูลของผู้เขา้ รับการอบรมหลังการอบรมด้วยทุกคร้งั ข้อมูลความตระหนัก ในการจดั กิจกรรมการศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชพี หลักสูตรการประดษิ ฐด์ อกไม้จันทน์ ของ สถานศึกษามุ่งใหเ้ กดิ ความสอดคลอ้ งกับความต้องการของผู้เรียน/ผ้รู ับบริการเป็นสาคญั โดยมงุ่ เน้นความต้องการ ของผเู้ รียน/ผู้รับบริการเป็นแนวทางในการดาเนนิ งาน และไดม้ ีการส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหบ้ ุคลากรในสถานศกึ ษา เหน็ ความสาคัญของการจดั หลกั สูตรวชิ าชพี แต่ละหลกั สูตร และปฏบิ ัตงิ านอย่างเปน็ ระบบอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ แต่ การดาเนินการบางอย่างไม่สามารถทาใหบ้ รรลุตามแผนท่วี างไว้ได้ จงึ ทาให้ข้อมลู บางอย่างเกดิ ความคลาดเคล่ือน ข้อมูลการปฏบิ ตั ิ (ความพยายาม) เมื่อบคุ ลากรได้รับแนวทาง และนโยบายทางการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพแล้ว ได้ดาเนินการสารวจ หาความตอ้ งการของกลมุ่ เปูาหมายท่ีแท้จรงิ แตเ่ นือ่ งจากการเก็บข้อมูลไม่เป็นไปตามแผนทว่ี างไว้ ทาให้ไมส่ ามารถ ดาเนินการจัดการศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชีพตามความต้องการของผู้เรยี น/ผู้รบั บริการไดท้ ่วั ถึงทุกกล่มุ ทาใหค้ วามพงึ พอใจของผู้สนใจน้อยลง จดุ เดน่ ของกลุ่ม 1. มคี วามตอ้ งการ เหมือนกัน 2. กลมุ่ เปูาหมายมคี วามรับผดิ ชอบ 3. กลุ่มเปูาหมายมคี วามสามัคคี 4. กลุ่มเปาู หมายมีความสนใจในกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นอยา่ งดี 5. กลมุ่ รู้จกั ประยกุ ต์ใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ และวัตถดุ บิ ทดแทนกนั
จุดควรพัฒนา (จุดด้อย) 1. การรวมกลุม่ เป็นกลุ่มอาชีพ 2. มผี เู้ ข้าร่วมการอบรมบางส่วนเอาเปรยี บผู้รว่ มการอบรมคนอ่ืน แนวทางการพฒั นา 1. ควรจดั หางบประมาณเพ่ิมเติม หรอื การขอความสนบั สนุนจากแหล่งตา่ ง ๆ ในเรื่องการ จัดหาอปุ กรณใ์ นการเรยี นรู้และปฏบิ ตั ิ วิธีการพฒั นา 1. สร้างความเข้าใจทด่ี ใี นการใช้วัตถดุ บิ ทีม่ ีอย่ใู นท้องถ่นิ ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ใหผ้ ูเ้ รียน/ผู้รับบรกิ ารเห็นความสาคญั 2. ปรับวธิ ีการจัดกิจกรรมใหเ้ หมาะสมกับผเู้ รียน/ผู้รับบริการ ใหม้ คี วามยืดหยุน่ โดยไมเ่ น้น หน่วยการเรยี นรตู้ ามหลักสตู ร แตใ่ ห้ยดึ ตัวผเู้ รยี นเป็นสาคัญ แล้วจึงนาผลการดาเนินงานมาปรับปรงุ หลกั สตู รการ ประดิษฐ์ดอกไม้จนั ทน์ ในครง้ั ต่อไป
ภำคผนวก - เอกสารท่เี กยี่ วขอ้ ง - ภาพประกอบกจิ กรรม
กล่มุ สนใจ การประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์ จานวน ๑๐ ชม. ระหวา่ งวนั ที่ ๓๐ – ๓๑ มกราคม 2564 ณ ที่ทาการผใู้ หญ่บ้าน หมู่ ๑ บ้านชาตติ ระการ
จดั ทำโดย ทีป่ รึกษา ผอ.กศน.อาเภอชาตติ ระการ 1.นางพรสวรรค์ กันตง ครู ๒.นายรงุ้ ภธู ร ภาศรี ครผู ู้ชว่ ย ๓.นางสาวชมพูนชุ ลว้ นมงคล ---------------------------------------------------------------- สง่ เสรมิ สนับสนุนการจัดกิจกรรม 1.นางสาวภาณมุ าศ ยศปญั ญา ครูอาสาสมคั รฯ ๒.นางสาวประยรู บญุ ประกอบ ครูอาสาสมคั รฯ ------------------------------------------------------------ ผู้รับผดิ ชอบ/ ผู้เรยี บเรียง/ ผู้จัดพิมพ์รปู เลม่ / ออกแบบปก นางสาวนภิ าพร พระคาสอน ครู กศน.ตาบลชาตติ ระการ
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: