Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่(รถโมบาย) 2565

สรุปโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่(รถโมบาย) 2565

Description: สรุปโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ 2565

Search

Read the Text Version

สรปุ ผลการดาเนินงาน โครงการสง่ เสริมการอา่ น/หนว่ ยบริการเคล่อื นท่ี (รถโมบาย) เคลอื่ นท่ี ประจาปี 2565 ห้องสมุดประชาชนจังหวดั ชลบุรี ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอเมอื งชลบรุ ี สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ชลบุรี

ก คำนำ การอ่านมีความสำคัญต่อชีวิตมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนโต และจนกระทั่งถึงวัยชรา การอ่านทำให้รู้ ขา่ วสารขอ้ มลู ต่าง ๆ ท่วั โลก ซ่ึงปจั จุบนั เป็นโลกของข้อมลู ข่าวสารตา่ ง ๆ ทั่วโลก ทำใหผ้ อู้ า่ นมคี วามสุข มี ความหวัง และมีความอยากรู้อยากเห็น อันเป็นความต้องการของมนุษย์ทุกคน การอ่านมีประโยชน์ใน การพัฒนาตนเอง คือ พัฒนาการศึกษา พัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต ทำให้เป็นคนทันสมัย ทันต่อ เหตุการณ์ และมีความอยากรู้อยากเห็น การที่จะพัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าได้ต้องอาศัย ประชาชนที่มคี วามรู้ความสามารถ ซงึ่ ความรตู้ า่ ง ๆ กไ็ ดม้ าจากการอา่ นนนั่ เอง จากนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ที่มี ภารกจิ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตระหนักถงึ ความสำคัญของการพัฒนาคน ตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนาประเทศ และนโยบายการจัดการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานด้านนโยบาย ข้อ ๓.๓ ด้านองค์กร สถานศกึ ษาและแหลง่ เรียนรคู้ ุณภาพ ข้อที่ 3 การปรบั รปู แบบกจิ กรรมในห้องสมุดประชาชน ท่เี น้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอ่านและการรู้หนังสือของประชาชน และ ข้อที่ ๕. ส่งเสริมและสนับสนุนการ สร้างพื้นที่การเรียนรู้ ในรูปแบบ Public Learning Space Co-Learning Space เพื่อการสร้างนิเวศการ เรยี นรู้ใหเ้ กดิ ขึน้ ในสงั คม ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี กศน.อำเภอเมืองชลบุรี เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อน นโยบายส่งเสริมการอ่านให้เป็นวาระแห่งชาติ เพื่อส่งเสริมการอ่านเป็นนิสัยใหม่ถาวรของคนในชุมชน จงึ ไดด้ ำเนนิ โครงการส่งเสริมการอา่ น/หน่วยบริการเคลื่อนท่ี (รถโมบาย) เคลื่อนที่ ประจำปี 2565 เพื่อนำ หนังสือ/สื่อการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมส่งเสริมการอ่านเป็นกิจกรรมเชิงรุกร่วมกับเครือข่ายห้องสมุด เพอ่ื หากลมุ่ เปา้ หมายตามสถานท่ตี ่าง ๆ ซึ่งเป็นส่วนหนงึ่ ในการสร้างนสิ ัยรกั การอา่ นของคนในชุมชนต่อไป ปัณณวิชญ์ สุขทวี กันยายน 2565

ข -ข- สารบัญ หน้า คำนำ......................................................................................................................... ..................................ก สารบัญ....................................................................................................................... .................................ข สารบญั ตาราง..............................................................................................................................................ค สารบัญภาพ.................................................................................................................... .............................ง บทที่ 1 บทนำ หลักการและเหตผุ ล....................................................................................................................1 วัตถุประสงค์ ...............................................................................................................................1 เป้าหมาย ....................................................................................................................................1 ผลลพั ธ์ .......................................................................................................................................2 ดัชนีวดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ.....................................................................................................2 บทท่ี 2 เอกสารการศกึ ษาและบทความทเี่ ก่ียวขอ้ ง ...............................................................................3 ยุทธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ........3 แนวทางการดำเนินงานของ กศน.อำเภอเมืองชลบรุ ี....................................................................6 กรอบการจัดกจิ กรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น ..........................................................................14 เอกสาร/บทความทีเ่ กีย่ วข้อง.......................................................................................................18 บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินงาน.............................................................................................................................21 ประชุมผูท้ เ่ี กย่ี วข้อง.....................................................................................................................21 จัดตงั้ คณะทำงาน........................................................................................................................21 การประสานงาน/ประชาสมั พนั ธ์.................................................................................................22 การดำเนินงานตามแผน...............................................................................................................22 การวัดผล/ประเมินผล/สรปุ ผลและรายงาน.................................................................................22 บทที่ 4 ผลการดำเนินงานและการวเิ คราะหข์ ้อมูล ................................................................................23 ตอนที่ 1 ข้อมลู ส่วนตัวผแู้ บบสอบถามโครงการสง่ เสรมิ การอ่าน/หนว่ ยบรกิ ารเคล่ือนที่ (รถโมบาย) เคลือ่ นท่ี ประจำปี พ.ศ. 2565 .................................................................................23 ตารางท่ี 1 ข้อมูลการแสดงคา่ ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม……….....……..........................….….23

ค สารบัญ(ต่อ) หน้า บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งานและการวิเคราะหข์ ้อมูล(ต่อ).........................................................................23 ตารางที่ 2 แสดงคา่ รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอายุ....................................23 ตารางท่ี 3 แสดงค่าร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอาชีพ………..................….….24 ตารางท่ี 4 แสดงค่าร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามระดบั การศึกษา…............….24 ตารางที่ 5 ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจโครงการส่งเสริมการอ่าน/หนว่ ยบริการเคลือ่ นที่ (รถโมบาย) เคล่ือนท่ี ประจำปี พ.ศ. 2565…...........................................................................….25 บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ...........................................................................................27 สรปุ ผล.................................................................................................................................27 อภปิ รายผล..........................................................................................................................28 ปญั หาและอปุ สรรค ..............................................................................................................29 ข้อเสนอแนะ.........................................................................................................................29 บรรณานกุ รม...........................................................................................................................................30 ภาคผนวก.................. ..............................................................................................................................31 คณะผจู้ ดั ทำ

ง -ค- สารบญั ภาพ หน้า ภาพที่ รูปภาพที่ 1 http://read2kids.taiwisdom.org/?p=616 ....................................................... 19 รปู ภาพที่ 2 https://www.unicef.org/thailand .................................................................... 20 รปู ภาพท่ี 3 https://www.technologychaoban.com/......................................................... 21

จ -ง- สารบญั ตาราง หน้า ตารางที่ 1. แสดงค่าร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามเพศ .................................................23 2. แสดงคา่ รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอายุ.................................................23 3. แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอาชพี ..............................................24 4. แสดงคา่ ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามระดับการศึกษา................................24 5. ผลการประเมนิ ความพึงพอใจผลการประเมินความพึงพอใจโครงการสง่ เสริมการอ่าน/ หน่วยบรกิ ารเคลื่อนที่ (รถโมบาย) เคล่ือนที่ ประจำปี พ.ศ. 2565.........................................25

บทที่ 1 บทนำ 1. หลกั การและเหตผุ ล การอ่านมีความสำคัญต่อชวี ิตมนษุ ยต์ ้ังแตเ่ กิดจนโต และจนกระท่ังถึงวยั ชรา การอา่ นทำให้รู้ข่าวสาร ข้อมูลต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งปัจจุบันเป็นโลกของข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ทั่วโลก ทำให้ผู้อ่านมีความสุข มีความหวัง และมีความอยากรู้อยากเห็น อันเป็นความตอ้ งการของมนุษย์ทกุ คน การอ่านมปี ระโยชนใ์ นการพัฒนาตนเอง คือ พัฒนาการศึกษา พัฒนาอาชีพ พัฒนาคุณภาพชีวิต ทำให้เป็นคนทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ และมีความ อยากรู้อยากเห็น การที่จะพัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าได้ต้องอาศัยป ระชาชนที่มีความรู้ ความสามารถ ซึง่ ความรู้ต่าง ๆ ก็ไดม้ าจากการอา่ นนั่นเอง (ฉวีวรรณ คหู าภินนท์, ๒๕๔๒ ) จากนโยบายและจุดเนน้ การดาํ เนินงาน สำนกั งาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ท่มี ภี ารกิจ ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอด ช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตามแผนพัฒนาประเทศ และนโยบายการจัดการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานด้านนโยบาย ข้อ ๓.๓ ด้านองค์กร สถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้คุณภาพ ข้อที่ 3 การปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการอ่านและการรูห้ นังสือของประชาชน และ ข้อที่ ๕. ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้าง พื้นที่การเรียนรู้ ในรูปแบบ Public Learning Space Co-Learning Space เพื่อการสร้างนิเวศการเรียนรู้ให้ เกดิ ขึ้นในสงั คม ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี กศน.อำเภอเมืองชลบุรี เป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนนโยบาย ส่งเสริมการอ่านให้เป็นวาระแห่งชาติ เพื่อส่งเสริมการอ่านเป็นนิสัยใหม่ถาวรของคนในชุมชน จึง ได้ดำเนิน โครงการส่งเสรมิ การอ่าน/หน่วยบริการเคล่ือนท่ี (รถโมบาย) เคลอ่ื นท่ี ประจำปี 2565 เพอื่ นำหนังสือ/สื่อการ เรียนรู้ผ่านกจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน เป็นกิจกรรมเชิงรุกร่วมกับเครือข่ายห้องสมุด เพื่อหากลุ่มเป้าหมายตาม สถานท่ตี ่าง ๆ ซงึ่ เป็นส่วนหนง่ึ ในการสร้างนสิ ัยรักการอ่านของคนในชุมชนต่อไป 2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพอ่ื ให้ส่งเสริมให้ประชาชนตระหนกั ถึงความสำคัญของการอา่ นและมนี ิสยั รักการอ่าน 2.2 เพื่อสร้างเครือขา่ ยส่งเสริมการอ่านของชุมชน 2.3 เพอ่ื ประชาสัมพนั ธ์กจิ กรรมหอ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั ชลบรุ ี 3. เป้าหมาย 3.1 เชิงปรมิ าณ - เด็กและเยาวชน , สมาชกิ ห้องสมุด , ผูร้ ับบรกิ ารหอ้ งสมดุ , นกั ศึกษา กศน. อำเภอเมืองชลบุรี , นักเรียน,นกั ศึกษาในระบบ และประชาชนทวั่ ไป จำนวน 300 คน 3.2 เชิงคณุ ภาพ - เดก็ และเยาวชน , สมาชิกห้องสมดุ , ผรู้ ับบรกิ ารหอ้ งสมุด , นักศกึ ษา กศน. อำเภอเมืองชลบรุ ี , นักเรียนนกั ศึกษาในระบบ และประชาชนทวั่ ไป ตระหนกั ถงึ ความสำคญั ของการอ่านและมีนสิ ยั รักการอา่ น

2 4. ผลลัพธ์ 4.1. สามารถสร้างและสง่ เสรมิ นิสยั รกั การอ่านให้กับกล่มุ เป้าหมายและผู้เข้าร่วมโครงการ 4.2. สามารถสร้างครอื ข่ายและสรา้ งชมุ ชนการอ่านเพ่ือการเรียนร้ตู ลอดชวี ิต 4.3. สามารถจัดกจิ กรรมที่หลากหลายสู่ชมุ ชน 5. ดัชนวี ัดความสำเร็จของโครงการ 5.1 ตวั ชว้ี ดั ผลผลติ (Outputs) - ผเู้ ข้าร่วมโครงการ ฯ ร้อยละ 100 ของเป้าหมาย - ร้อยละ 80 ของผ้เู ข้าร่วมโครงการไดร้ ับโอกาสและการเรียนรทู้ างด้านกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและ รปู แบบการศึกษาตามอธั ยาศัยที่มีคุณภาพ 5.2 ตัวช้วี ัดผลลพั ธ์ (Outcomes) - ผู้เข้ารว่ มโครงการฯ ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 60 สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวันไดข้ องเป้าหมาย - ผู้เขา้ รว่ มโครงการฯ สมารถนำไปขยายผลได้ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 5 ของเป้าหมาย

บทที่ 2 เอกสารการศึกษาและบทความที่เกย่ี วขอ้ ง ในการจดั ทำรายงานโครงการส่งเสรมิ การอ่าน/หนว่ ยบริการเคล่ือนที่ (รถโมบาย) ประจำปี 2565 ครั้งนี้ ผจู้ ดั ทำได้ศกึ ษาค้นควา้ เน้ือหาเอกสารการศึกษาท่เี ก่ียวขอ้ ง ดังน้ี 1. ยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเน้นการดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 2. แนวทาง/กลยทุ ธก์ ารดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยของ กศน. อำเภอเมืองชลบุรี 3. กรอบ/แนวทางการจดั กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียน 4. บทความที่เกี่ยวข้อง 1. ยทุ ธศาสตร์และจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน.ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 หลักการ กศน. เพ่ือประชาชน “กศน. ก้าวใหม่ : กา้ วแหง่ คุณภาพ” ๒.ภารกิจสําคัญตามนโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ ๒.๑ โครงการส่งเสริมโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา “พาน้องกลบั มา เรยี น” ตดิ ตามและรายงานข้อมูลประชากรวัยเรยี นท่ีหลุดจากระบบการศึกษา พร้อมท้งั ดาํ เนินการชว่ ยเหลอื และสนบั สนุนให้กลับเข้าสสู่ ถานศึกษาท่เี หมาะสมตามบรบิ ทตอ่ ไป ๒.๒ โครงการ “กศน. ปักหมุด” สาํ รวจ ติดตาม ค้นหา และรวบรวมข้อมูลกลุ่มเปา้ หมาย คนพิการ พร้อม นํากลบั เข้าสู่ระบบการศึกษา โดยวางแผนการจัดการศึกษาใหส้ อดคล้องกับบริบทและความต้องการ ของคน พิการอยา่ งแท้จริง เพ่ือให้คนพิการสามารถเขา้ ถงึ การศกึ ษาในรูปแบบท่เี หมาะสม อยา่ งมีคณุ ภาพ ๒.๓ โครงการสถานศึกษาปลอดภยั นาํ ระบบมาตรฐานความปลอดภัย MOE Safety Center ผา่ นศูนย์ ความปลอดภัย สํานักงาน กศน. มาใช้แกป้ ัญหาความไม่ปลอดภัยของนกั ศกึ ษา ครู และบคุ ลากร กศน. ๒.๔ การแก้ไขปัญหาหน้ีสนิ ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ๓. จุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ๓.๑ ด้านการจดั การเรยี นรู้คณุ ภาพ ๑) นอ้ มนําพระบรมราโชบายสกู่ ารปฏิบตั ิ รวมทง้ั ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการดาํ เนินงานโครงการอัน เนอื่ งมาจากพระราชดํารทิ ุกโครงการ หรอื โครงการอนั เกยี่ วเนื่องจากราชวงศ์ ๒) ขับเคลื่อนการจดั การเรียนร้ทู ี่สนองตอบยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของรัฐมนตรวี ่าการ กระทรวงศกึ ษาธิการ และรฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๓) ส่งเสรมิ การจัดการศึกษาเพ่ือเสรมิ สรา้ งความมั่นคง การสร้างความเข้าใจทถ่ี ูกต้อง ในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ทป่ี ลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สรา้ งวนิ ัย จติ สาธารณะ และอดุ มการณ์ ความยดึ มนั่ ในสถาบันหลักของชาติ การส่งเสริมการรเู้ ท่าทนั สื่อและขอ้ มลู ขา่ วสาร และทักษะการใช้เทคโนโลยดี จิ ิทลั (Social Media) รวมถึงการใชก้ ระบวนการจิตอาสา กศน. ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ ๔) ปรับปรุงหลักสูตรทกุ ระดับทกุ ประเภท ใหส้ อดรับกบั การพัฒนาคน ทิศทางการพฒั นา ประเทศ สอดคล้องกับบริบทที่เปลยี่ นแปลง ความตอ้ งการและความหลากหลายของผู้เรยี น/ผู้รับบรกิ าร รวมถึง ปรับลด ความหลากหลายและความซํ้าซอ้ นของหลกั สูตร เช่น หลกั สูตรการศกึ ษาสาํ หรับกล่มุ เป้าหมายบนพื้นทสี่ งู

4 พ้นื ท่ีพเิ ศษและพ้ืนท่ีชายแดน รวมทัง้ กลุ่มชาติพันธุ์ ๕) ปรบั ระบบทดสอบ วดั ผล และประเมนิ ผล โดยเน้นการใช้เทคโนโลยเี ป็นเครื่องมือ ใหผ้ ู้เรียน สามารถเข้าถงึ การประเมินผลการเรียนร้ไู ด้ตามความต้องการ เพอ่ื การสร้างโอกาสในการเรยี นรู้ ให้ความสําคัญ กับการเทียบระดับการศึกษา และการเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์ พฒั นาระบบการประเมิน สมรรถนะ ผูเ้ รยี นใหต้ อบโจทยก์ ารประเมินในระดบั ประเทศและระดับสากล เช่น การประเมนิ สมรรถภาพผ้ใู หญ่ ตลอดจน กระจายอํานาจไปยงั พน้ื ทีใ่ นการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๖) สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีในการจดั หลกั สูตรการเรยี นรใู้ นระบบออนไลน์ดว้ ยตนเองครบวงจร ตั้งแต่ การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมอ่ื จบหลกั สูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขน้ั พ้ืนฐาน การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง และการศึกษาตามอธั ยาศยั เพื่อเปน็ การสรา้ งและขยายโอกาสในการเรียนรู้ให้กบั กล่มุ เปา้ หมายท่ีสามารถเรยี นรไู้ ดส้ ะดวก และตอบโจทย์ความตอ้ งการของผเู้ รยี น ๗) พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนร้ขู องสํานักงาน กศน. ตลอดจนพฒั นา สื่อการเรยี นรทู้ ้ังในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และใหม้ ีคลงั สอื่ การเรยี นรทู้ ่เี ปน็ ส่ือที่ถกู ต้อง ตามกฎหมาย ง่ายตอ่ การสบื คน้ และนาํ ไปใช้ในการจดั การเรียนรู้ ๘) เร่งดําเนนิ การเรือ่ ง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทยี บโอน หนว่ ยกติ เพ่ือ การสร้างโอกาสในการศึกษา ๙) พัฒนาระบบนเิ ทศการศึกษา การกาํ กับ ตดิ ตาม ท้ังในระบบ On-Site และ Online รวมท้ังส่งเสรมิ การวิจัยเพื่อเปน็ ฐานในการพัฒนาการดําเนนิ งานการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๓.๒ ดา้ นการสร้างสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ ๑) สง่ เสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชีวิต ทเ่ี นน้ การพฒั นาทักษะที่จาํ เปน็ สาํ หรับแตล่ ะช่วงวยั และการ จดั การศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแตล่ ะกลุ่มเป้าหมายและบรบิ ทพน้ื ท่ี ๒) พัฒนาหลกั สูตรอาชพี ระยะสน้ั ทเ่ี นน้ New skill Upskill และ Reskill ท่สี อดคล้องกบั บรบิ ทพ้นื ท่ี ความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology ๓) ยกระดับผลติ ภัณฑ์ สินค้า บรกิ ารจากโครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน ท่ีเน้น “สง่ เสรมิ ความรู้ สร้าง อาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตทดี่ ี” ให้มีคุณภาพมาตรฐาน เปน็ ท่ียอมรบั ของตลาด ตอ่ ยอด ภมู ิปญั ญา ท้องถิ่นเพ่ือสร้างมลู ค่าเพ่ิม พัฒนาสวู่ สิ าหกจิ ชมุ ชน ตลอดจนเพม่ิ ชอ่ งทางประชาสมั พันธ์และช่องทาง การ จาํ หน่าย ๔) สง่ เสรมิ การจดั การศึกษาของผู้สงู อายุ เพือ่ ให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดำรงชีวติ ที่เหมาะกบั ชว่ งวัย ๕) สง่ เสรมิ การจัดการศึกษาทีพ่ ัฒนาทักษะทจ่ี ำเป็นสำหรับกลมุ่ เปา้ หมายพเิ ศษ เชน่ ผ้พู ิการ ออทสิ ตกิ เดก็ เรร่ ่อน และผดู้ ้อยโอกาสอ่ืน ๆ ๖) ส่งเสริมการพฒั นาทักษะดจิ ทิ ลั และทักษะดา้ นภาษา ใหก้ บั บุคลากร กศน.และผเู้ รียน เพื่อรองรบั การพัฒนาประเทศ ๗) ส่งเสริมการสรา้ งนวัตกรรมของผู้เรยี น กศน. ๘) สรา้ งอาสาสมัคร กศน. เพื่อเปน็ เครือข่ายในการส่งเสรมิ สนับสนนุ การจัดการศึกษาตลอดชวี ติ ในชุมชน ๙) ส่งเสรมิ การสรา้ งและพัฒนานวัตกรรมของบุคลากร กศน. รวมทัง้ รวบรวมและเผยแพร่เพ่ือให้ หน่วยงาน / สถานศึกษา นำไปใชใ้ นการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน

5 ๓.๓ ด้านองค์กรสถานศกึ ษาและแหลง่ เรยี นร้คู ณุ ภาพ ๑) ทบทวนบทบาทหน้าที่ของหนว่ ยงาน สถานศึกษา เช่น สถาบัน กศน.ภาค สถาบันการศึกษาและ พฒั นาตอ่ เน่ืองสิรนิ ธร สถานศึกษาขนึ้ ตรงสังกดั ส่วนกลาง กลุ่มสำนักงาน กศน.จังหวดั ศูนยฝ์ กึ และพัฒนา อาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อเพ่ิมประสิทธภิ าพในการขบั เคลื่อนการจัดการศึกษาตลอดชีวิตในพืน้ ท่ี ๒) ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตำบล และศนู ย์การเรียนรู้ชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “แม่ฟา้ หลวง” (ศศช.) ให้ เปน็ พนื้ ที่การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ท่สี ำคัญของชุมชน ๓) ปรบั รูปแบบกจิ กรรมในหอ้ งสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพอ่ื เพ่ิมอัตราการอา่ นและ การรหู้ นังสอื ของประชาชน ๔) ใหบ้ รกิ ารวิทยาศาสตร์เชิงรุก Science@home โดยใชเ้ ทคโนโลยีเปน็ เครอ่ื งมอื นำวิทยาศาสตรส์ ู่ ชวี ติ ประจำวันในทุกครอบครัว ๕) สง่ เสริมและสนับสนนุ การสร้างพื้นที่การเรยี นรู้ ในรปู แบบ Public Learning Space Co- Learning Space เพ่ือการสร้างนเิ วศการเรยี นรูใ้ ห้เกดิ ขน้ึ ในสังคม ๖) ยกระดบั และพัฒนาศนู ย์ฝึกอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน ให้เป็นสถาบันพฒั นาอาชีพระดบั ภาค ๗) สง่ เสริมและสนบั สนุนการดำเนินงานของกลมุ่ กศน. จงั หวดั ให้มีประสทิ ธภิ าพ ๓.๔ ดา้ นการบริหารจดั การคณุ ภาพ ๑) ขบั เคลื่อนกฎหมายว่าดว้ ยการส่งเสริมการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต ตลอดจนทบทวนภารกจิ บทบาท โครงสร้างของหนว่ ยงานเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงตามกฎหมาย ๒) ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง และขอ้ บังคบั ตา่ ง ๆ ให้มคี วามทนั สมัย เอื้อต่อการบริหารจดั การ และการจดั การเรียนรู้ เชน่ การปรบั หลกั เกณฑ์ค่าใชจ้ า่ ยในการจดั หลกั สตู รการศึกษาต่อเนื่อง ๓) ปรบั ปรงุ แผนอัตรากำลงั รวมท้งั กำหนดแนวทางที่ชดั เจนในการนำคนเขา้ ส่ตู ำแหน่ง การยา้ ย โอน และการเลื่อนระดับ ๔) ส่งเสรมิ การพฒั นาบุคลากรทุกระดับ ให้มคี วามรแู้ ละทกั ษะตามมาตรฐานตำแหน่งใหต้ รงกับสาย งาน และทักษะที่จำเปน็ ในการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ ๕) ปรบั ปรุงระบบการจดั สรรทรพั ยากรเพอ่ื การศึกษา ให้มคี วามครอบคลุม เหมาะสม เช่น การปรับ ค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษาของผู้พกิ าร เด็กปฐมวยั ๖) ปรับปรงุ ระบบฐานข้อมลู สารสนเทศด้านการศึกษา เพื่อการบริหารจดั การอย่างเปน็ ระบบ เช่น ข้อมลู การรายงานผลการดำเนนิ งาน ข้อมลู เด็กตกหล่นจากการศึกษาในระบบ เด็กเรร่ อ่ น ผพู้ ิการ ๗) สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเคร่อื งมือในการบริหารจัดการอย่างเต็มรูปแบบ ๘) ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั ส่รู ะบบราชการ ๔.๐ และการประเมนิ คุณภาพและ ความโปรง่ ใสการดำเนินงานของภาครัฐ (ITA) ๙) เสริมสรา้ งขวญั และกำลงั ใจ ให้กบั ข้าราชการและบคุ ลากรทุกประเภทในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การ ประกาศเกยี รติคุณ การมอบโล่ / วุฒบิ ตั ร ๑๐) ส่งเสริมการมสี ่วนร่วมของภาคเี ครือขา่ ยทุกภาคสว่ น เพื่อสร้างความพร้อมในการจดั การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และการส่งเสริมการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิตสำหรับประชาชน

6 2. แนวทาง/กลยทุ ธ์การดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยของ กศน. อำเภอเมอื งชลบุรี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองชลบรุ ีได้กำหนดทิศทางการดำเนินงาน ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏบิ ัติการประจำปี โดยมีรายละเอียด ดงั นี้ ทศิ ทางการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา ปรชั ญา “คิดเปน็ ทำเปน็ เนน้ ICT” วิสยั ทศั น์ “จดั การศึกษาตลอดชีวติ ผกู มิตรกับเครือข่าย กระจายความรสู้ ู่ชมุ ชน ทุกทที่ ุกเวลาด้วย ICT มี อาชพี และแข่งขันในประชาคมอาเซียนอย่างยั่งยนื ” อตั ลกั ษณ์ “ก้าวไปในยุคดิจิทลั ” เอกลักษณ์ “องคก์ รออนไลน์” พนั ธกิจ 1. จัดและสง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี น มคี วามรูก้ ารศึกษาขนั้ พ้นื ฐานอย่างมีคณุ ภาพ 2. จัดการศึกษาอาชพี ให้ผเู้ รียนมีอาชพี ทำได้ ขายเป็น และมที ักษะชวี ติ ท่ีเหมาะสมทกุ ช่วงวัย 3. จัดและสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนนำเทคโนโลยดี จิ ิทัลเพ่ือพฒั นาตนเองและสรา้ งชอ่ งทางการจำหนา่ ย สนิ คา้ 4. จดั และสง่ เสรมิ การศึกษาตามอธั ยาศยั ทีม่ ุ่งให้ผรู้ บั บริการมีนสิ ัยรักการอ่าน และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ในชุมชน 5. จดั และสง่ เสรมิ สนับสนุน พฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ สื่อ และภูมิปัญญาท้องถิ่น 6. จดั และส่งเสริมการศึกษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพฒั นาสงั คมและชมุ ชนให้มี ความเขม้ แขง็ อย่างยงั่ ยืน 7. จัดและส่งเสริมประชาชนใหเ้ ปน็ พลเมอื งดีตามวิถปี ระชาธิปไตย 8. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ภาคีเครอื ขา่ ย ใหม้ ีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศัย เพื่อให้เกิดการเรียนรูต้ ลอดชีวติ 9. พฒั นารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ หส้ อดคล้องกับพ้นื ที่ระเบยี งเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวนั ออก (EEC) และความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย 10. พัฒนาบคุ ลากรให้มสี มรรถนะในการปฏบิ ัติงานตามบทบาทหน้าท่ีอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพและ ต่อเนอื่ งโดยเน้นการนำเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั มาใชใ้ นการบรหิ ารจดั การ 11. สถานศกึ ษามีระบบการบริหารจัดการตามหลกั ธรรมมาภิบาล 12. ปฏบิ ัตงิ านอ่ืน ๆ ท่ีไดร้ บั มอบหมาย

7  เปา้ ประสงค์ และตัวช้ีวัดความสำเร็จ เปา้ ประสงค์ ตวั ชวี้ ัดความสำเร็จ ประชาชนได้รบั โอกาสทางการศึกษาในรปู แบบ รอ้ ยละของประชากรกลุ่มตา่ งๆ (กลุ่มประชากรวัย ของการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม แรงงานปกติทั่วไป กลุ่มประชากรวยั แรงงานทเ่ี ปน็ ผู้ อัธยาศัยทม่ี ีคุณภาพอยา่ งทัว่ ถึงและเปน็ ธรรม ยากไร้ ผดู้ ้อยโอกาส ผู้พิการ และกลุ่มผสู้ ูงอายุ) ท่ี ได้รบั บรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศัยอย่างทวั่ ถงึ ครอบคลุมและเปน็ ธรรม ผู้เรยี นทเี่ ข้ารับการฝึกอาชีพมีสมรรถนะในการ ร้อยละของผ้เู รยี นทีเ่ ขา้ รับการศกึ ษาอาชพี เพื่อการมี ประกอบอาชีพ สามารถประกอบอาชีพทสี่ ร้าง งานทำทม่ี ีสมรรถนะในการประกอบอาชีพทีเ่ พิม่ ขึ้น รายไดใ้ หก้ บั ตนเองและครอบครวั ได้ องค์กรภาคสว่ นต่างๆรว่ มเปน็ ภาคีเครือขา่ ยใน จำนวนของภาคเี ครอื ข่ายในการดำเนินงานการศกึ ษา การดำเนินงานการศึกษานอกระบบและ นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเพ่ิมมากขึ้น การศกึ ษาตามอัธยาศยั อย่างกวา้ งขวาง สถานศึกษานำเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใชใ้ นการเพม่ิ ร้อยละของของผู้เรยี นท่ีมีความพงึ พอใจตอ่ การใช้ ประสทิ ธภิ าพการจดั การศกึ ษานอกระบบและ เทคโนโลยดี ิจทิ ลั ของสถานศกึ ษา การศกึ ษาตามอธั ยาศัยอยา่ งทัว่ ถึง บุคลากรของสถานศึกษาไดร้ บั การพฒั นาเพ่ือเพ่มิ ร้อยละของบุคลากรของสถานศกึ ษาทีไ่ ดร้ บั การพัฒนา สมรรถนะในการปฏบิ ัติงานการศึกษานอกระบบ เพ่ือเพม่ิ สมรรถนะในการปฏิบัตงิ านการศึกษานอก และการศึกษาตามอธั ยาศยั อยา่ งทั่วถงึ ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั โดยเนน้ การนำ เทคโนโลยีดจิ ิทัลมาใชใ้ นการบรหิ ารจัดการ สถานศกึ ษามีการพฒั นาระบบการบรหิ าร รอ้ ยละของสถานศึกษามีการพฒั นาระบบการบริหาร จัดการเพื่อเพมิ่ ประสทิ ธิภาพโดยเน้นการนำ จัดการเพื่อเพม่ิ ประสิทธภิ าพโดยเน้นการนำเทคโนโลยี เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลในการดำเนินงานการศึกษา ดจิ ิทัลในการดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั การศึกษาตามอธั ยาศยั บคุ ลากรของหนว่ ยงานปฏบิ ัติงานตามที่ไดร้ บั รอ้ ยละของบุคลากรของสถานศกึ ษาปฏิบัติงานได้เตม็ มอบหมายอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธภิ าพ  กลยทุ ธ์ กลยทุ ธท์ ่ี 1 สง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ให้เป็นไป ตามนโยบายและมาตรฐานการศกึ ษาอย่างต่อเนื่อง กลยทุ ธท์ ่ี 2 ส่งเสรมิ ให้ผ้รู บั บรกิ ารไดร้ บั การพัฒนาคุณภาพชวี ติ โดยใช้กระบวนการคิดเป็นตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กลยทุ ธท์ ี่ 3 ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั เพื่อใหเ้ กิดการเรยี นรู้ตลอดชีวิต กลยุทธท์ ี่ 4 พัฒนาหลักสตู รและรปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ให้สอดคลอ้ งกับพ้นื ท่ีเขตพฒั นา พเิ ศษภาคตะวันออก (EEC) และความต้องการของกลุม่ เป้าหมาย โดยการมสี ่วนร่วมของภูมิปัญญาท้องถิ่นและ แหลง่ เรยี นร้ทู งั้ ภาครัฐและเอกชน

8 กลยทุ ธ์ที่ 5 ส่งเสรมิ ใหม้ กี ารประชาสัมพนั ธ์ ในรูปแบบท่หี ลากหลาย กลยทุ ธ์ท่ี 6 พฒั นาระบบการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษาโดยใชก้ ระบวนการมสี ่วนรว่ มจากทกุ ภาคส่วน กลยุทธ์ที่ 7 พฒั นาระบบคณุ ภาพการศึกษาโดยใชว้ งจรการพฒั นาคุณภาพ (PDCA) เปน็ หลักในการ จดั การศึกษา กลยทุ ธท์ ่ี 8 พฒั นาบคุ ลากรของสถานศึกษาให้มีความสามารถใช้เทคโนโลยดี ิจิทัลเพ่ือการจัด กระบวนการเรยี นรู้ การบริหารจดั การ และสง่ เสรมิ การทำงานเปน็ ทีม เขม็ มุ่งสู่ความสำเรจ็ 1. มี กศน.ตำบลเป็นหลกั แหลง่ 2. มีคอมฯ/อปุ กรณ์ครบทุก กศน.ตำบล 3. ให้ทุกคนมีความรู้ ICT 4. มีระบบจดั เก็บ/รายงานผา่ นออนไลน์ 5. ภายใน1-2 ปีต้องเป็น 1 ใน กศน.จงั หวัด 6. ภายใน 3 ปีต้องเป็น 1-5 ของสำนักงาน กศน. การบรหิ ารนำ ICT สู่การปฏบิ ัติ 1.การจัดหาคอมฯ/อปุ กรณ์ 2.ขนั้ การพัฒนา 3.การประเมินผล/รายงาน 1. การจัดหาคอมฯ/อุปกรณ์ 1.1 การเปิดตัว กศน.ตำบล โดย 1) เชญิ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.),สมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) เป็นตน้ 2) นำนักศึกษา กศน. หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ปจั จบุ นั มีทัง้ ส้ิน 4,621 คน 3) เชิญภาคีเครือข่าย อาทิเชน่ โรงเรียน, อบต., เทศบาล, อบจ. , อำเภอ เป็นต้น 4) เสนอโครงการพัฒนา กศน.ตำบล ให้เปน็ แหล่งเรยี นร้ดู ้านดจิ ิทัล 1.2 เชิญส.ส./ส.ว. เข้าร่วมทุกกจิ กรรม 1) โครงการเข้าค่ายต่าง ๆของนกั ศึกษา กศน. 2) โครงการวนั วิชาการ ของนักศึกษา กศน. 3) โครงการ อ่นื ๆ 2. ขัน้ การพฒั นา 2.1 พฒั นาระบบ จะพัฒนาระบบการจัดเก็บ/รายงานต่างๆผ่านออนไลน์ 2.2 พัฒนาคน 1) ครู กศน./จนท.ทุกคน 2) นักศึกษา กศน.หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทัง้ 2 กลุ่มเป้าหมาย ต้องมีความรู้ ด้าน ICT และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ สำหรับในส่วนของนักศึกษา กศน. หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กศน.อำเภอเมืองชลบุรี จะต้องประกาศเป็นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ พร้อมท้ังใชง้ บอุดหนุน (กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน) ในการ ขับเคลื่อน โดยจัดโครงการพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น ด้าน ICT พร้อมท้ังจัดทำสรุปเป็นรปู เล่ม ( 5 บท)

9 3.การประเมนิ ผล/รายงาน 3.1 รายงานผา่ นออนไลน์ โดยผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เนต็ http://118.172.227.194:7003/choncity/ และจดั ทำ Application รายงานผ่านทางสมาร์ทโฟน 3.2 รายงานสรุปผลเปน็ รูปเล่ม (5 บท) จดั ทำสรุปผลโครงการ/กิจกรรม เปน็ รูปเล่ม (5บท) เพื่อรองรับการประเมินคณุ ภาพโดยต้นสังกัด และภายนอก  แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา(เฉพาะปี 2564) เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กจิ กรรม เป้าหมาย ตัวชี้วดั เกณฑค์ วามสำเร็จ ความสำเรจ็ (ร้อยละ) 1. กลุ่มเป้าหมาย กลยทุ ธท์ ่ี 1 1. โครงการยกระดับ 8,000 1. กลมุ่ เปา้ หมาย 1. รอ้ ยละของ ไดร้ บั โอกาสทาง สง่ เสริม จัดการศกึ ษานอก การศกึ ษาข้นั และพฒั นา ระบบระดับการศึกษา คน ได้รบั โอกาสทาง กลุ่มเปา้ หมายไดร้ ับ พ้นื ฐาน คณุ ภาพ ขั้นพืน้ ฐานให้มี การศึกษาตอ่ เนอื่ ง การศกึ ษา คุณภาพ การศึกษาแตล่ ะ โอกาสทางการศกึ ษา และการศึกษา นอกระบบ 2. โครงการพัฒนา ตามอัธยาศัยทมี่ ี และ คณุ ภาพผเู้ รยี น กศน. ประเภทของ กศน. แตล่ ะประเภทของ คณุ ภาพให้เป็นไป การศึกษา ตามหลกั สตู ร ตามความต้องการ ตาม การศึกษานอกระบบ 2. ผู้จบหลกั สตู ร กศน. และสอดคล้องกับ อัธยาศยั ให้ ระดับการศึกษาขั้น สภาพปัญหาของ เปน็ ไปตาม พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช การศกึ ษาข้นั 2. รอ้ ยละของผจู้ บ กลมุ่ เป้าหมาย นโยบาย 2551 และ 3. โครงการส่งเสรมิ 8,000 พ้ืนฐานแตล่ ะระดบั หลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ มาตรฐาน การรูห้ นังสอื สำหรับ การศึกษา ประชาชนอำเภอเมอื ง คน มผี ลสมั ฤทธ์ิ พ้นื ฐานแต่ละระดบั มี อย่าง ชลบรุ ี ต่อเนอ่ื ง 4. โครงการจดั ทางการเรียนเฉลย่ี ผลสัมฤทธทิ์ างการ การศึกษาเพ่อื พัฒนา อาชีพ > 2.00 เรยี นเฉล่ยี > 2.00 (ศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชน) 3. กล่มุ เป้าหมาย 3. รอ้ ยละของ รว่ มกิจกรรมพฒั นา กลุ่มเป้าหมายรว่ ม คุณภาพผูเ้ รยี น กิจกรรมพัฒนา 4. กลมุ่ เป้าหมาย คณุ ภาพผูเ้ รยี น 27 คน เข้าร่วมกิจกรรม 4.รอ้ ยละของ สง่ เสริมการรู้ กลุม่ เปา้ หมายเขา้ ร่วม หนังสอื กิจกรรมสง่ เสริมการรู้ 5. กลุ่มเป้าหมาย หนังสือ 1,020 ทุกประเภท 5. รอ้ ยละของ คน สามารถนำความรู้ กลุ่มเป้าหมายทกุ ไปใช้ในการพัฒนา ประเภทสามารถนำ อาชีพหรือคุณภาพ ความรู้ไปใชใ้ นการ ชีวิตได้ พฒั นาอาชีพหรอื 6. กลุม่ เปา้ หมายมี คณุ ภาพชีวิตได้ คุณลกั ษณะทพี่ งึ 6. ร้อยละของ ประสงคต์ าม กลมุ่ เป้าหมายมี จดุ มุ่งหมายของ คณุ ลักษณะท่พี งึ หลักสตู ร ประสงคต์ าม 7. กล่มุ เป้าหมายมี จุดมุ่งหมายของ ความพึงพอใจต่อ หลกั สตู ร

10 การร่วมกิจกรรม 7. ร้อยละของ การเรยี นรู้ทกุ กลุม่ เปา้ หมายมคี วาม ประเภท พึงพอใจตอ่ การรว่ ม กิจกรรมการเรียนรทู้ ุก ประเภท เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ตวั ชว้ี ดั เกณฑค์ วามสำเร็จ 285 คน ความสำเรจ็ (รอ้ ยละ) 5.กลมุ่ เปา้ หมาย กลยุทธ์ที่ 2 1. โครงการเรยี นรู้ ไดร้ บั การส่งเสรมิ สง่ เสริมให้ ปรัชญาของเศรษฐกจิ 1. กลมุ่ เป้าหมาย 1. รอ้ ยละ 80 ของ และสนบั สนนุ การ ผ้รู ับบริการ พอเพยี งและเกษตร ได้รับการส่งเสรมิ กลุ่มเป้าหมายไดร้ ับ พฒั นาคุณภาพ ได้รับการ ทฤษฎีใหม่ การเรยี นรทู้ างด้าน การส่งเสริมการเรียนรู้ ชีวติ ตามหลกั พฒั นา 2.โครงการเสรมิ สรา้ ง หลกั ปรัชญาของ ทางด้านหลกั ปรชั ญา ปรัชญาของ คุณภาพ คณุ ภาพชวี ิตที่เปน็ มิตร เศรษฐกิจพอเพยี ง ของเศรษฐกิจพอเพยี ง เศรษฐกิจพอเพยี ง ชีวติ โดยใช้ กับสิ่งแวดล้อม 2. กลมุ่ เปา้ หมาย 2. ร้อยละ 80 ของ เพือ่ พฒั นาสังคม กระบวนกา 3.โครงการเกษตรยุค นำความรไู้ ปใชใ้ น กลุ่มเปา้ หมายนำ และชุมชนใหม้ ี รคดิ เปน็ ใหมต่ ามวถิ คี วาม การพัฒนาอาชีพ ความร้ไู ปใชใ้ นการ ความเขม้ แขง็ ตามหลัก พอเพยี ง และพัฒนาคณุ ภาพ พฒั นาอาชีพและ อย่างยั่งยืน ปรชั ญาของ 4.โครงการอบรมเชงิ ชวี ิตได้ พฒั นาคุณภาพชวี ิตได้ เศรษฐกิจ ปฏบิ ัติการดา้ น 3. กลมุ่ เปา้ หมายมี 3. รอ้ ยละ 90 ของ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง ความพึงพอใจใน กล่มุ เป้าหมายมคี วาม 5.โครงการปรชั ญาของ ระดับดีข้ึนไป พึงพอใจในระดบั ดขี ้นึ เศรษฐกจิ พอเพยี ง นำ ไป วิถีพอเพยี งสชู่ มุ ชน 6.โครงการอบรมและ เรยี นรตู้ ามรอยพระ ยุคลบาทด้วยหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 7.โครงการเรยี นรู้ เศรษฐกจิ พอเพยี งและ การพัฒนาท่ียั่งยืน \"วิถี ไทย วิถพี อเพยี ง\"

11 เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรม เปา้ หมาย ตัวชีว้ ัด เกณฑค์ วามสำเร็จ 3.กลมุ่ เป้าหมาย ความสำเร็จ (ร้อยละ) ได้รบั การสร้าง กลยทุ ธ์ที่ 3 1. โครงการสง่ เสรมิ และสง่ เสรมิ ให้ สง่ เสริม การอ่านเพอ่ื พฒั นา 11,500 1. กลุ่มเปา้ หมาย 1. รอ้ ยละ 80 ของ เป็นผรู้ ักการอา่ น สนับสนนุ ให้ บ้านหนังสือชมุ ชน และใฝร่ ใู้ ฝเ่ รียน ภาคี 2. โครงการหอ้ งสมดุ คน ภาคีเครอื ข่ายมี เปา้ หมายภาคเี ครอื ขา่ ย อย่างต่อเน่อื ง เครอื ข่ายมี เคลือ่ นทส่ี ำหรับชาว ตลอดชีวิต ส่วนรว่ มใน ตลาด ส่วนร่วมในการจดั มีสว่ นร่วมในการจัด การจดั 3.โครงการเมอื งนัก เป้าประสงค์ การศกึ ษา อา่ น การศึกษานอก การศกึ ษานอกระบบ 9.สถานศึกษา นอกระบบ 4.โครงการอา่ นสร้าง พฒั นาสือ่ แหล่ง และ งานผา่ น ระบบและการจัด และการจดั การศึกษา เรียนรแู้ ละภูมิ การศึกษา QRCode ปญั ญาทอ้ งถิ่น ตาม การศึกษาตาม ตามอัธยาศยั ดว้ ยการจดั อธั ยาศัย กระบวนการ เพือ่ ให้เกดิ อัธยาศัย 2. มบี า้ นหนังสอื ชุมชน เรียนร้ทู ่ี การเรยี นรู้ ตอบสนองกับการ ตลอดชีวิต 2. มบี า้ นหนงั สอื ท่ีเป็นไปตามเกณฑ์ เปลี่ยนแปลง บรบิ ทด้าน กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม ชมุ ชนท่ีเป็นไปตาม ครบทุกตำบลอยา่ ง เศรษฐกิจ สงั คม การเมอื ง ใน กลยทุ ธ์ท่ี 4 1. โครงการ English เกณฑ์ครบทุก นอ้ ยตำบลละ 1 แห่ง รปู แบบที่ พฒั นา น่ารู้ คู่ Service หลากหลาย หลกั สตู ร โรงแรม ตำบลอยา่ งน้อย 3. มมี มุ หนงั สอื เพือ่ และรปู แบบ 2.โครงการ Smart การจัด ONIE เพอื่ สรา้ ง ตำบลละ 1 แหง่ ชุมชนอยา่ งน้อยตำบล กจิ กรรม Smart farmers การเรยี นรู้ 3.โครงการ 3. มมี มุ หนังสอื เพื่อ ละ 1 แหง่ ให้ Digtalteracy (เพอ่ื สอดคล้อง สรา้ งสงั คมออนไลน)์ ชุมชนอยา่ งนอ้ ย 4. รอ้ ยละ 80 ของ กับพ้ืนท่เี ขต 4.โครงการการคา้ พฒั นา ออนไลน์ สสู่ ังคม ตำบลละ 1 แห่ง กลุ่มเปา้ หมายมีความ พิเศษภาค Digital ตะวนั ออก 5.โครงการเพิ่ม 4. กลุ่มเป้าหมายมี พงึ พอใจในระดับดขี ้นึ (EEC) ประสิทธภิ าพการ และความ บรหิ ารจดั การขยะมลู ความพึงพอใจใน ไป ตอ้ งการ ฝอย ของ 1. โครงการพัฒนา ระดับดีขึน้ ไป กลมุ่ เปา้ หม ระบบประชาสมั พันธ์ าย โดยการ ของสถานศกึ ษา เป้าหมาย ตวั ชว้ี ัด เกณฑค์ วามสำเร็จ มสี ว่ นรว่ ม ความสำเรจ็ (รอ้ ยละ) ของภูมิ 800 คน 1.กลมุ่ เปา้ หมาย 1. รอ้ ยละ 75 ของ ได้รับการพฒั นา กลุม่ เป้าหมายไดร้ บั ชีวติ ใหส้ อดคลอ้ ง การพัฒนาชีวิตให้ กับพน้ื ที่เขตพฒั นา สอดคลอ้ งกับพนื้ ท่เี ขต พิเศษภาค พัฒนาพเิ ศษภาค ตะวนั ออก (EEC) ตะวนั ออก (EEC) 4. กลุม่ เป้าหมายมี 2. ร้อยละ 80 ของ ความพงึ พอใจใน กลมุ่ เป้าหมายมีความ ระดับดีข้นึ ไป พึงพอใจในระดบั ดขี ึ้น ไป 17 ตำบล 1. กศน.อำเภอ 1. รอ้ ยละ 100 ของ และกศน.ตำบลมี กศน.อำเภอและ กศน. การอพั เดทข้อมลู ตำบลมีการอพั เดท การประชาสมั พนั ธ์ ข้อมูลการ กจิ กรรมทางเว็บ ประชาสมั พันธก์ จิ กรรม

12 ปัญญา ไซด์เป็นประจำทกุ ทางเวบ็ ไซดเ์ ปน็ ประจำ ทอ้ งถ่ินและ เดอื น ทกุ เดือน แหล่งเรยี นรู้ ทงั้ ภาครฐั และเอกชน กลยุทธท์ ่ี 5 ส่งเสริมให้มี การ ประชาสมั พั นธ์ ใน รูปแบบที่ หลากหลาย เป้าประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ตวั ช้ีวดั เกณฑค์ วามสำเรจ็ ความสำเรจ็ (รอ้ ยละ) 7.ชมุ ชนและภาคี กลยทุ ธ์ท่ี 6 เครือขา่ ยร่วมจัด พัฒนา 1. โครงการพฒั นา 17 ตำบล 1. สถานศึกษามี 1. รอ้ ยละ 100 ของ สง่ เสรมิ และ ระบบการ สถานศึกษามีคมู่ ือ สนับสนุนการ นิเทศ บุคลากรการนเิ ทศ คู่มอื ระบบการ ระบบการนเิ ทศภายใน ดำเนนิ งาน ภายใน 2. รอ้ ยละ 80 ของผู้ การศึกษานอก สถานศึกษา ภายในสถานศึกษา นเิ ทศภายใน นิเทศมีการนิเทศการ ระบบและ โดยใช้ จัดกิจกรรมและ การศึกษาตาม กระบวนกา กศน.อำเภอเมอื งชลบรุ ี 2. ผ้นู ิเทศมกี าร รายงานผลเป็นประจำ อธั ยาศัย รมสี ่วนร่วม ทุกเดอื น จากทุกภาค นเิ ทศการจดั สว่ น กจิ กรรมและ รายงานผลเปน็ ประจำทุกเดอื น 10.สถานศกึ ษามี กลยทุ ธ์ท่ี 7 1. โครงการบริหาร 39 คน 1. สถานศึกษามี 1. สถานศกึ ษามีคู่มือ ระบบการบรหิ าร พฒั นา ความเสยี่ งของ คมู่ อื การบรหิ าร การบรหิ ารความเส่ยี ง จัดการตามหลัก ระบบ สถานศกึ ษา กศน. ความเสยี่ ง 2. รายงานสถานะ ธรรมาภิบาล คุณภาพ อำเภอเมอื งชลบรุ ี 2. รายงานสถานะ ทางการเงนิ เปน็ ประจำ การศึกษา 2. โครงการพัฒนา ทางการเงินเปน็ ทุกเดือน โดยใชว้ งจร ระบบประกนั คณุ ภาพ ประจำทุกเดอื น การพัฒนา การศึกษา กศน.อำเภอ คุณภาพ เมืองชลบรุ ี (PDCA) เป็นหลกั ใน การจดั การศึกษา

13 8. บุคลากรของ กลยทุ ธท์ ี่ 8 1.โครงการพฒั นา 39 คน 1.บคุ ลากรของ 1. ร้อยละ 80 ของ สถานศกึ ษาได้รบั พัฒนา บุคลากรดา้ น การพฒั นาเพื่อ บคุ ลากร วชิ าการ:Google สถานศกึ ษาทุกคน บคุ ลากรของ เพม่ิ สมรรถนะใน ของ Form การปฏบิ ตั งิ าน สถานศกึ ษา 2.โครงการพฒั นา ได้รบั การพัฒนา สถานศึกษาทกุ คน ตามบทบาท ให้มี บุคลากรดา้ นวชิ าการ: หนา้ ที่อย่างมี ความสามาร การจัดทำสอ่ื การเรยี น เพอื่ เพมิ่ สมรรถนะ ได้รับการพัฒนาเพอ่ื ประสิทธภิ าพและ ถใช้ การสอน Clip Video ต่อเน่ือง เทคโนโลยี 3.โครงการบรหิ าร ในการปฏิบัติงาน เพิ่มสมรรถนะในการ ดิจทิ ลั เพอ่ื จดั การขอ้ มลู ขา่ วสาร การจดั กศน.ฝ่ากระแส Social ตามบทบาทหนา้ ที่ ปฏิบตั ิงานตามบทบาท กระบวนกา Network รเรียนรู้ 4.โครงการประชุม อยา่ งมี หนา้ ที่อยา่ งมี การบริหาร บุคลากรเพอ่ื เพม่ิ จัดการ และ ประสทิ ธภิ าพในการ ประสทิ ธภิ าพและ ประสิทธภิ าพและ ส่งเสรมิ การ ปฏิบตั ิงาน ทำงานเปน็ 5.โครงการประชุมเชงิ ต่อเนอื่ ง ตอ่ เนอ่ื ง ทีม ปฏบิ ตั กิ ารการจดั กระบวนการเรยี นการ 2.บุคลากรของ 2. รอ้ ยละ 80 ของ สอนและการจดั ทำ สรปุ ผลโครงการ(5บท) สถานศึกษา บคุ ลากรของ สามารถนำความรู้ สถานศกึ ษาสามารถนำ ไปใชใ้ นการ ความรไู้ ปใชใ้ นการ พฒั นาการ พัฒนาการปฏิบตั ิงาน ปฏิบตั งิ านตาม ตามบทบาทหนา้ ที่ บทบาทหนา้ ทีอ่ ย่าง อย่างมปี ระสิทธภิ าพ มปี ระสทิ ธภิ าพ 3. ร้อยละ 90 ของ 3. บุคลากรของ บคุ ลากรของ สถานศึกษามคี วาม สถานศกึ ษามคี วามพงึ พงึ พอใจในระดบั ดี พอใจในระดับดขี น้ึ ไป ขึน้ ไป 3. กรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนตามนโยบายการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานสำนกั งาน กศน. (เอกสารแนบท้ายหนังสือ สำนักงาน กศน. ดว่ นท่ีสุด ที่ 0210.04/475 ลงวันท่ี 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2558) ----------------------------- 1. หลกั การ ตามที่รัฐบาลมีนโยบายด้านการศึกษา เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาและกระจายโอกาส ทางการศึกษาในสังคมไทย โดยคำนึงถึงการสร้างความเสมอภาค ความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นแก่ประชากร ทุกกลุ่ม รวมถึงผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้บกพร่องทางกาย/ทางการเรียนรู้ ชนกลุ่มน้อย โดยสนับสนุน การจัดการศึกษาตามวัยและพัฒนาการอย่างมีคุณภาพตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ การจดั การศกึ ษาชมุ ชนเพ่ือมงุ่ ใหเ้ กดิ สังคมแห่งการเรียนรูแ้ ละการศกึ ษาตลอดชีวติ น้ัน สำนกั งาน กศน. ไดก้ ำหนดนโยบายด้าน การจดั การศึกษานอกระบบ แผนงานสนบั สนุนการ จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสนับสนุน 1) ค่าเล่าเรียน 2) ค่าหนังสือเรียน 3) ค่าจัดกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผูเ้ รยี นอยา่ งทว่ั ถึง เพือ่ เพ่มิ โอกาสในการรบั การศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสยี ค่าใช้จา่ ย เพื่อให้การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ดำเนินการตามนโยบายดังกล่าวอย่างมี ประสิทธิภาพ สำนักงาน กศน.จึงกำหนดกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตามนโยบายการจัด การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงาน กศน. ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ให้สถานศึกษาจัดเพิ่มเติม จากการเรียนปกติ ให้กับนักศึกษา กศน.ตามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบข้นั พื้นฐาน

14 2. กรอบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน เพื่อใหส้ ถานศึกษาไดจ้ ดั กิจกรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียน เป็นไปในแนวทางเดียวกันอย่างมี ประสิทธภิ าพ ประสทิ ธิผล เกดิ ความคุ้มค่า ประหยัด เกิดประโยชน์ตอ่ ผู้เรยี นและทางราชการสูงสดุ สำนกั งาน กศน. จึงไดก้ ำหนดกรอบการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 2.1 กจิ กรรมพัฒนาวชิ าการ เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีพื้นฐานความรู้เพียงพอกับการศึกษาในแต่ละระดับ และพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถทางด้านวิชาการเพิ่มมากขึ้นในรายวิชาตามหลักสูตรสถานศึกษา ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือวิชาอ่ืนๆ ตามความต้องการของนักศึกษา กศน. โดยมีรปู แบบการดำเนนิ งาน ดงั น้ี 2.1.1วิทยากรหรือผู้สอน ควรเป็นผู้ที่มีความรู้หรือประสบการณ์ในการสอนวิชานั้นๆ โดยตรง ซง่ึ อาจจะเป็นบคุ คลภายนอก หรือ ครู กศน. ไดต้ ามความเหมาะสม 2.1.2 จำนวนนักศึกษา กศน. ท่รี ว่ มกจิ กรรม ใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ จิ ของผบู้ ริหารสถานศึกษา 2.2 กจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชวี ติ เป็นการจัดกิจกรรมเสริมเพิ่มเติมจากการเรียนปกติในสาระทักษะการดำเนินชีวิต หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เนื่องจากสังคมปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็วทั้งดา้ น เศรษฐกิจ สังคมข่าวสารข้อมูล และเทคโนโลยี มีการแข่งขันและความขัดแย้งมากขึ้น จึงมีความจำเป็นท่ี สถานศึกษาต้องจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตให้กับ นักศึกษา กศน. โดยมีวัตถุประสงค์หลัก คือ เพื่อให้มี ความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติ ค่านิยมที่ถูกต้อง และมีทักษะ หรือความสามารถพื้นฐานที่จำเป็นในการเผชิญ ปัญหาที่เกดิ ข้ึนในชีวิต เช่น ปัญหายาเสพติด การตั้งครรภ์ไมพ่ ึงประสงค์ เพศสัมพันธ์ ทะเลาะวิวาท ครอบครวั แตกแยก ความรุนแรง ภัยพิบัติ ความเครียด ฯลฯ รวมทั้งมีคุณสมบัติที่พึงประสงค์ในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน สังคมได้อย่างมีความสุข และสามารถนำความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่าง เหมาะสม ทักษะชีวิต 10 ประการ (ขององค์การอนามัยโลก) ที่นักศึกษา กศน.ทุกคนจำเป็นต้องมี คือ 1) ทักษะการตัดสินใจ 2) ทักษะการแก้ปัญหา 3) ทักษะการคิดสร้างสรรค์ 4) ทักษะการคิดอย่างมี วิจารณญาณ 5) ทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ 6) ทักษะการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น 7) ทักษะ การตระหนักรแู้ ละเหน็ คุณค่าในตนเอง 8) ทกั ษะการเขา้ ใจผู้อนื่ 9) ทักษะการจัดการกบั อารมณ์ 10) ทักษะ การจัดการกบั ความเครยี ด

15

16

17

18 บทความทีเ่ ก่ยี วข้อง 1. การสร้างนกั อ่านในชมุ ชน โครงการสรา้ งนกั อา่ น บทความ ดร.จำเนียร ผะคงุ ควิ การทำงานเรื่องการศึกษาไม่ใช่เรื่องง่าย ยิ่งเรื่องการพัฒนาเด็กในชนบทด้วยแล้วยิ่งเป็นเรื่องท่ีต้อง ทำความเข้าใจกันอย่างมาก ที่ไม่ง่ายเพราะพ่อแม่ในชนบทส่วนใหญ่ยังเข้าไม่ถึงสื่อด้านการพัฒนาเด็กเท่ากับ สังคมคนเมือง และนอกจากนั้น ความเข้าใจด้านการพัฒนาเด็กโดยเฉพาะเด็กก่อนวัยเรียน ก็เป็นเรื่องท่ี ค่อนข้างมีคนสนใจน้อยอยู่แล้ว ยิ่งสังคมปัจจุบันพ่อแม่เด็กส่วนใหญ่ต้องเข้ามาหางานทำในเมืองใหญ่ปล่อยให้ ภาระการเลย้ี งดูเด็กเล็กเปน็ เรื่องของปู่ย่าตายาย การเล้ียงดูก็ตามความเข้าใจของคนรนุ่ ก่อน ทั้งสังคมปัจจุบัน มีสื่อทชี่ ักนำเด็กให้เสียสมาธิกับการเรียนรูม้ ากมายหลากรปู แบบ การพัฒนาเด็กเล็กจึงเป็นเรื่องท้าทายโดยเฉพาะหน่วยงานส่วนท้องถิ่นที่ต้องรับผิดชอบด้าน การศกึ ษาในส่วนของเดก็ ก่อนวยั เรียน แต่สิ่งทีเ่ ทศบาลเมืองแก อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ รว่ มกับสมาคมไท สร้างสรรค์ กำลงั เปลีย่ นแลงด้วยเทคนิควิธกี ารทแ่ี สนจะธรรมดาแต่เตม็ ไปดว้ ยประสิทธิภาพ ด้วยการอาศัยเพียง หนังสือภาพกับการพัฒนาเดก็ เยาวชนมาเปน็ นักอ่านหนังสือใหก้ ับน้องๆ กอ่ น วยั เรียนฟงั ได้ทำใหช้ ุมชนนี้กำลัง จะเป็นชุมชนที่สร้างความเปลี่ยนแปลงในการพัฒนารากฐานทางการศึกษาให้กับสังคม วิธีที่แสนจะธรรมดา เด็กเยาวชนหนงึ่ คน กบั หนงั สือ 4-5 เลม่ เดินไปตามบา้ นทม่ี ีเด็กเลก็ กอ่ นวัยเรียน และอา่ นหนงั สอื ให้น้องฟังทุก วนั สะสมวันละเลม่ 4-5 เล่ม นานวนั เข้าเด็กเล็กๆ เหล่านี้ได้ทงั้ ภาษาและคำพูดที่พ่ๆี อา่ นหนังสือให้ฟังทุกวัน ซำ้ แลว้ ซำ้ เลา่ เรอื่ งแล้วเร่อื งเล่า จนกระทัง่ เด็กเหลา่ น้เี รม่ิ ทช่ี นิ กับคำพูดและภาษาจากหนังสือทส่ี อ่ื ไปยังพวกเขา ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่ต้องพิสูจน์อะไรมาก หากเด็กได้ฟังนิทานหรือเรื่องเล่าบ่อยๆ ก็ย่อมส่งผลต่อพัฒนาการด้าน สมอง ภาษาและสมาธิที่ถูกกระตุ้นการพฒั นาอย่างต่อเน่ือง ย่งิ มากเท่าไรย่ิงสร้างสรรค์ประสบการณ์การเรียนรู้ ของเด็กเล็กได้มากเท่านั้น สิ่งสำคัญวิธีการพัฒนาการศึกษาด้วยเทคนิคง่าย ๆ เช่นนี้ไม่เพียงแต่สร้างความ เปลยี่ นแปลงด้านพัฒนาการทางภาษา สมองและพัฒนาการด้านการออกเสียงภาษาไทยแก่เด็กเล็กเท่านั้น แต่ วิธีเดียวกันนี้ยังส่งผลต่อเด็กเยาวชนนักอ่านให้เป็นคนที่รับผิดชอบในการทำงาน การไปอ่านหนังสือซ้ำแล้วซ้ำ เล่าให้น้องฟังทุกวนั เยาวชนนักอ่านเองก็ได้ฝึกทักษะด้านการอ่านออกเสียให้ชัดเจนมากย่ิงขึ้น ได้เรียนรู้ชมุ ชน สังคมทตี่ นเองอาศัยอยู่ ไดเ้ ดินเขา้ ออกบา้ นนั้นสู่บ้านนี้ ทำใหเ้ ขามีบทบาททส่ี ำคัญต่อชุมชน คนในชุมชนต่างยก ย่องกลายเป็นการส่งเสริมความมั่นใจให้กับนักอ่าน นอกจากนี้การใช้หนังสือภาพและสร้างเยาวชนนักอ่านจึง เป็นการเชอ่ื มโยงให้คนหลากหลายวัยมาได้มาพบกนั เช่อื มโยงระหว่างกลุ่มเด็กเยาวชนกบั กลุ่มเด็กปฐมวัย เด็ก กลุ่มนี้จะรู้จักชือ่ น้องท่ีตวั เองไปอ่านหนังสือให้ฟังทุกวัน น้องก่อนวัยเรียนไดร้ ูจ้ ักกับพี่ที่ไปอ่านหนังสือให้ฟงั ทกุ คน น้องเล็กๆ ต่างเฝ้ารอให้พี่อา่ นหนงั สือฟัง กลุ่มพ่อแม่ผู้ปกครองเหน็ ความสำคัญของการพัฒนาเด็กเล็กดว้ ย หนงั สือ และเช่อื มโยงทัศนคติของผู้ใหญ่ที่มตี ่อเยาวชนนักอ่าน รู้จักเดก็ เยาวชน เดก็ บางคนไปอ่านหนังสือพ่อ แม่ผู้ปกครองจะตอบแทนด้วยของติดไมต้ ิดมือกลับบ้านประจำ และสร้างทัศนคติต่อผูใ้ หญ่มองเด็กเยาวชนนกั อ่านในฐานะคนสำคัญของชุมชน บางชมุ ชนให้คำว่า “ครูน้อย” ถอื เป็นการให้การยกย่งแกเ่ ด็กที่มาอ่านหนังสือ ใหล้ ูกหลานฟงั ไม่เพยี งแตก่ ารพัฒนาเด็กดว้ ยหนงั สือจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงตอ่ ตัวเดก็ และเยาวชนเท่าน้ัน ส่งิ สำคัญอีกประการหน่ึงไดส้ รา้ งความเปลี่ยนแปลงและมมุ มองด้านการศึกษาเด็กเล็กของคนในชมุ ชนเปลี่ยนไป ดว้ ย พลังการอ่านท่ีทำให้เด็กเล็ก ได้ออกเสยี งตามเรื่องเลา่ ในหนังสือสร้างความต่ืนเต้นให้กับพ่อแม่ผู้ปกครองท่ี เห็นลูกหลานตัวเล็กออกเสียงและเล่าเรื่องราวตามหนังสือภาพที่พี่ๆ อ่านให้ฟังได้อย่างคล่องแคล่ว พ่อแม่ ผู้ปกครองก็เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านการเลี้ยงดูเช่นเดียวกัน ผู้ปกครองก็นำเรื่องราวในหนังสือมาเป็น เครื่องมือในการดูแลเด็กเล็ก และให้เด็กได้เล่นตามตัวละครในหนังสือ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สามารถนำมาทดแทน การปล่อยให้เด็กดูโทรทัศน์หรือเล่นอุปกรณ์สื่อสารอย่างอื่นบางทีเทคนิควิธีการง่ายๆด้วยการนำหนังสือภาพ โดยให้เด็กเยาวชนนำไปอ่านหนังสือให้เด็กเล็กๆ ฟัง ไม่เพียงแต่สร้างความสนใจให้กับชุมชนเท่า นั้น แต่ยัง

19 อาจจะเป็นคำตอบให้กับการศึกษาที่พยายามส่งเสริมให้เด็กรักการอ่านที่สังคมไทยได้ลงทุนไปมากมายทั้งวัสดุ อปุ กรณ์ ตัวอาคารสถานทแี่ ละเครอ่ื งไมเ้ คร่ืองมือ แต่กลับลม้ เหลวในหลายพน้ื ท่ี สังคมแห่งการอ่านและการสร้างรากฐานที่มั่นคงการศึกษาอาจจะไม่ใช่เรื่องของ งบประมาณท่ี มากมายอกี ต่อไปอย่างตัวอยา่ งที่ เทศบาลตำบลเมอื งแก อำเภอท่าตมู จังหวดั สรุ ินทร์ และสมาคมไทสร้างสรรค์ กำลังทำงานให้เห็นเป็นรูปธรรม มีเพียงหนังสือภาพกับการช่วยเหลือเด็กเยาวชนให้เขามีความมั่นใจและ เสริมสร้างเทคนิคง่ายๆให้กับเด็กเหล่านี้ได้มีความสนุกสนานกับการเป็นผู้อ่านหนังสือให้น้องฟัง อาจจะเป็น คำตอบที่ผู้ใหญก่ ำลงั ค้นหาอยู่ว่าจะวางรากฐานด้านการเรยี นรู้ให้กับเด็กและเยาวชนไดอ้ ย่างไร เพียงมีคนอ่าน หนังสือให้เดก็ ฟังอย่างสม่ำเสมอ การอ่านซ้ำแล้วซ้ำเล่า ได้ฟังบ่อยๆ เรียนรู้บ่อยๆ ทุกอย่างค่อยๆ เก็บสั่งสมไป เรื่อยๆ เด็กเหล่านี้ยิ่งสั่งสมมากเท่าไรทุนด้านการเรียนรู้ด้านภาษา สมาธิและความใฝ่เรียนรู้ยิ่งเพิ่มมากข้ึน เทา่ นั้น รูปภาพที่ 1 http://read2kids.taiwisdom.org/?p=616 2. โครงการห้องสมดุ เคลอ่ื นท่ี องค์การยนู ิเซฟ ประเทศไทย โครงการหอ้ งสมุดเคลอ่ื นท่ใี นพน้ื ท่ชี ายแดนห่างไกลขององค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย เป็นนวัตกรรมที่มุ่ง สร้างผลแกเ่ ดก็ ด้อยโอกาสทางการศึกษามากทส่ี ดุ ในประเทศไทย โดยโครงการนีท้ ี่ต่อยอดมาจากการดำเนินงาน ที่ผ่านมา (และต่อเนื่อง) ของ องค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย เกี่ยวกับเด็กชนกลุ่มน้อยทางชาติพันธุ์ที่ไม่ได้เข้า โรงเรียนในพื้นที่ห่างไกลของจังหวัดแม่ฮ่องสอน ในปี พ.ศ. 2549 องค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย เริ่มทำงาน ร่วมกับเจา้ หนา้ ทที่ อ้ งถน่ิ เพื่อเข้าถึงเด็กผา่ นเครือข่าย “โรงเรียนเขตพืน้ ที่” ในพนื้ ท่สี ำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษา แม่ฮ่องสอน 1 และผ่านระบบโรงเรียนพี่โรงเรียนน้องในพื้นที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา แม่ฮ่องสอน 2 ซ่ึง การดำเนินโครงการเหล่านี้และการเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารจัดการอื่นๆ ส่งผลให้เจ้าหน้าที่ด้านการศึกษา ประจำจังหวัดแมฮ่ ่องสอนยืนยันอตั ราการลงทะเบียนเรียนของเด็กประถมศึกษาได้ 100 เปอร์เซ็นต์ ซ่ึงถือเป็น ความสำเรจ็ อันสำคัญย่ิง อย่างไรก็ตาม การลงทะเบียนเข้าเรียนในโรงเรียนเป็นเพียงส่วนหนึ่งของสภาวะ แวดล้อมทางการศึกษาของเด็ก ในปี พ.ศ. 2558-2559 ยูนิเซฟได้สนับสนุนสำนักงานสถิติแห่งชาติในการ จัดทำการสำรวจสถานการณ์เด็กและสตรีในประเทศไทย พ.ศ. 2558-2559 (MICS) เพื่อตรวจสอบการ สนบั สนุนการศกึ ษาท่ีบา้ น โดยเกบ็ ข้อมลู ด้าน การมีสว่ นรว่ มของผปู้ กครอง และ “รอ้ ยละของเดก็ อายุต่ำกวา่ 5 ปี ซึ่งมีหนังสือเด็ก 3 เล่มหรือมากกว่านั้น” ผลการสำรวจ ไม่เป็น ที่น่ายินดีเท่าไรนัก โดยมีเด็กเพียง 31 เปอร์เซ็นต์ในจังหวัดตาก และ 29.6 เปอร์เซ็นต์ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งเข้าตามเกณฑ์ หนังสือสามเล่มนี้ (เทยี บกบั 60 เปอรเ์ ซ็นตใ์ นกรุงเทพฯ) ดังน้นั องค์การยนู ิเซฟ ประเทศไทย จงึ เรม่ิ หาทางส่งเสรมิ ให้เด็กที่อาศัย อยใู่ นพื้นทห่ี า่ งไกลไดเ้ ข้าถงึ หนงั สอื หลากหลายย่ิงขึ้น

20 รปู ภาพท่ี 2 https://www.unicef.org/thailand จากความสำเรจ็ ของโครงการห้องสมุดเคลื่อนที่ในจงั หวัดแม่ฮ่องสอน โครงการจึงได้มีการพิจารณา ขยายให้ครอบคลมุ จงั หวัดตาก โดยองคก์ ารยูนิเซฟ และภาคคี วามร่วมมือจากท็อปส์ ซเู ปอรม์ ารเ์ ก็ต รถบรรทุก สำหรับจังหวัดตากจึงได้เข้าร่วม “ขบวน” โครงการ ห้องสมุดเคลื่อนที่เพื่อปฏิบัติการครอบคลุม “โรงเรียน สาขา” 12 แห่งที่เชื่อมโยงกับ “โรงเรียนแม่” ขนาดใหญ่ ในขณะที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน รถบรรทุกห้องสมุด เคลื่อนที่ครอบคลุมโรงเรียน 40 แห่ง โดยสิ้นปี พ.ศ. 2561 รถบรรทุกห้องสมุดเคลื่อนที่ได้ปฏิบัติการเข้าถึง เดก็ กวา่ 5,000 คนในจังหวัดตากและแม่ฮอ่ งสอน 3. ดนั รถห้องสมุดเคลอื่ นที่ กศน.เขา้ ชมุ ชน เพม่ิ ประสทิ ธิภาพรกั การอา่ น ดร.มณฑาทิพย์ เสยยงคะ ผู้อำนวยการ กศน. อำเภอโพนพิสยั จงั หวัดหนองคาย ไดเ้ ก็บข้อมูลเพ่ือการ วิจัย การพัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน สำหรับประชาชนอำเภอโพธิ์ตาก จังหวัดหนองคาย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพนิสัยรักการอ่านสำหรับประชาชนอำเภอโพธิ์ตาก จังหวัดหนองคาย เพ่ือ พัฒนารูปแบบกิจกรรมส่งเสรมิ นิสัยรักการอ่านสำหรบั ประชาชนอำเภอโพธ์ิตาก จังหวัดหนองคาย เพื่อทดลอง ใช้รปู แบบกจิ กรรมสง่ เสริมนสิ ัยรักการอ่านสำหรบั ประชาชนอำเภอโพธ์ติ าก จังหวัดหนองคาย และเพ่ือประเมิน ประสทิ ธผิ ลการใช้รูปแบบกิจกรรมส่งเสริมนสิ ัยรักการอ่านสำหรับประชาชนอำเภอโพธต์ิ าก จังหวัดหนองคาย แบ่งการเก็บข้อมลู ในการวิจยั 4 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 เป็นการศึกษาสภาพนสิ ยั รกั การอา่ นสำหรับประชาชน ระยะที่ 2 เปน็ การพฒั นารูปแบบกจิ กรรมส่งเสริมนสิ ัยรักการอา่ นสำหรับประชาชน ระยะที่ 3 เปน็ การทดลองใชร้ ูปแบบกจิ กรรมสง่ เสริมนสิ ยั รักการอา่ นสำหรบั ประชาชน ระยะที่ 4 เปน็ การประเมินประสทิ ธภิ าพรูปแบบกิจกรรมส่งเสรมิ นิสัยรักการอา่ นสำหรบั ประชาชน ผลการเปรียบเทียบสภาพนิสัยรักการอ่านของประชาชนอำเภอโพธิ์ตาก จังหวัดหนองคาย ก่อนและ หลังการนำรูปแบบกิจกรรมสง่ เสรมิ นสิ ัยรกั การอ่านสำหรบั ประชาชนอำเภอโพธิต์ าก จงั หวัดหนองคาย มาใช้ใน การสร้างนิสัยรักการอ่านสำหรับประชาชนอำเภอโพธิ์ตาก จังหวัดหนองคาย ทำให้ประชาชนอำเภอโพธิ์ตาก

21 อ่านหนังสือเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.11 ระยะเวลาของการอ่านของประชาชนอำเภอโพธิ์ตาก ใน 1 วัน พบว่า ประชาชนอำเภอโพธิ์ตากใช้เวลาในการอ่าน 1 ชั่วโมง เพิ่มขึ้นร้อยละ 23.38 รองลงมาคือ อ่านมากกว่า 1 ชั่วโมง เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.31 และอ่าน 45 นาที เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.38 มีจำนวนไม่อ่านเลย ลดลงร้อยละ 14.55 ในสว่ นของการใชเ้ วลาอ่านหนังสือตามความสนใจของตนเอง (ไม่เก่ียวกับการเรียน) พบว่าประชาชนอำเภอโพธิ์ตากใช้เวลาในการอ่านมากกว่า 1 ชั่วโมง เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.08 สำหรับ ประเภทของส่ือที่ประชาชนอำเภอโพธิ์ตากชอบอ่านมากทสี่ ุด คือ วารสารและนติ ยสารบนั เทิง อ่านเพิ่มข้ึนร้อย ละ 5.20 และอาชีพ อ่านเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.19 และในรอบ 1 ปี ประชาชนอำเภอโพธิ์ตากเข้าร่วมกิจกรรม สง่ เสริมการอา่ น มากกว่า 6 ครั้ง เพิม่ ขน้ึ ร้อยละ 48.58 รูปภาพท่ี 3 https://www.technologychaoban.com/bullet-news-today/article_183889

บทท่ี 3 วธิ ีการดำเนนิ งาน ห้องสมุดประชาชนจังหวัดชลบุรี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ เมอื งชลบรุ ี เปน็ ส่วนหนึง่ ในการขบั เคล่ือนนโยบายสง่ เสริมการอ่านให้เป็นวาระแห่งชาติ เพอื่ สง่ เสริมการอ่าน เป็นนิสัยใหม่ถาวรของคนในชุมชน จึงดำเนินโครงการส่งเสริมการอ่าน/หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) เคลอ่ื นท่ี ประจำปี พ.ศ. 2565 เพ่อื นำหนงั สือ/สอ่ื การเรยี นร้ผู ่านกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน เปน็ กิจกรรมเชิง รุกร่วมกับเครือข่ายห้องสมุด เพื่อหากลุ่มเป้าหมายตามสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างนิสัยรัก การอ่านของคนในชุมชนต่อไป ภายใต้นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยมขี ้ันตอน ดังน้ี 1.ประชมุ ผูท้ ่เี กยี่ วขอ้ ง 2.จดั ตั้งคณะทำงานเพื่อดำเนินการจดั โครงการ 3.ประสานงาน/ประชาสมั พนั ธ์ 4.ดำเนนิ งานตามแผน 5.วัดผล/ประเมนิ ผล/สรปุ ผลและรายงาน 1.ประชมุ ผ้ทู ่ีเกี่ยวขอ้ ง ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดชลบุรี และกศน.อำเภอเมืองชลบุรี ได้วางแผนประชมุ ผู้ท่ีเก่ียวข้องเพ่ือ หาแนวทางในการดำเนินงานและกำหนดวตั ถปุ ระสงค์ร่วมกนั 2. จัดตงั้ คณะทำงานเพือ่ ดำเนนิ การจัดโครงการ จดั ทำคำสง่ั แต่งตงั้ คณะทำงานโครงการฯ เพื่อมอบหมายหนา้ ที่ในการทำงานให้ชัดเจน อาทิ เชน่ 1. เขียนโครงการเสนอเพื่อขออนุมตั โิ ครงการ 2. กำหนดแผนการดำเนนิ งาน 3. ประสานเครือข่าย 4. ดำเนินการตามโครงการการจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ น 4.1 รถโมบายส่งเสริมการอ่าน 4.2 กจิ กรรมนกั อ่านแบง่ ปนั 4.3 กิจกรรมจติ กรนอ้ ย 4.4 กจิ กรรมบงิ โกราชาศพั ท์ 5. สรปุ ผลการประเมินความพงึ พอใจ 6. รายงานผลโครงการ

๒๒ 3.การประสานงาน/ประชาสมั พนั ธ์ ประสานงานกับผูเ้ รียน วทิ ยากร และคณะครู เชน่ ประสานเรอ่ื งสถานท่ีใชท้ ำกจิ กรรม รูปแบบ การจดั กิจกรรมโครงการ วัน เวลา สถานท่ี รายละเอยี ดการเข้าร่วมกจิ กรรม พร้อมทงั้ ประชาสัมพนั ธก์ ารจดั กิจกรรม 4.การดำเนินงานตามแผน การจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการอ่าน/หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) เคลื่อนที่ ประจำปี พ.ศ. 2565 ได้ดำเนินการตามแผนงานการจัดกิจกรรมตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 – 31 กันยายน 2565 ครอบคลุมพื้นที่ดำเนนิ การ กศน.ตำบล ทั้ง 17 ตำบล มีผู้เข้าร่วมโครงการฯจำนวน 300 คน โดยมีการจัด กิจกรรม 1.รถโมบายส่งเสริมการอ่าน 2.กิจกรรมนักอ่านแบ่งปัน 3.กิจกรรมจิตกรน้อย และ 4.กิจกรรม บิงโกราชาศพั ท์ เพื่อการสง่ เสรมิ การอา่ น 5.การวดั ผล/ประเมนิ ผล/สรปุ ผลและรายงาน การจัดกจิ กรรมโครงการส่งเสริมการอ่าน/หนว่ ยบริการเคล่ือนท่ี (รถโมบาย) เคลือ่ นที่ ประจำปี พ.ศ. 2565 ได้ดำเนินการตามแผนงานการจัดกิจกรรมตัง้ แต่ 1 ตลุ าคม 2564 – 31 กนั ยายน 2565 ครอบคลุมพนื้ ท่ีดำเนนิ การ กศน.ตำบล ท้ัง 17 ตำบล มผี ู้เข้าร่วมโครงการฯจำนวน 300 คน โดยมีการจัด กิจกรรม 1.รถโมบายส่งเสริมการอ่าน 2.กจิ กรรมนกั อา่ นแบง่ ปัน 3.กจิ กรรมจติ กรน้อย และ 4.กจิ กรรมบิงโก ราชาศพั ท์ เพือ่ การส่งเสริมการอ่าน ห้องสมดุ ประชาชนจังหวัดชลบรุ ี กศน.อำเภอเมอื งชลบุรี ได้ดำเนินการตามขั้นตอนและได้รวบรวม ข้อมูลจากแบบสำรวจสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือโดยกำหนดค่าลำดับความสำคัญของการประเมินผล ออกเปน็ 5 ระดบั ดงั น้ี มากทสี่ ุด ให้คะแนน 5 มาก ให้คะแนน 4 ปานกลาง ใหค้ ะแนน 3 นอ้ ย ให้คะแนน 2 น้อยท่สี ุด ให้คะแนน 1 ในการแปลผล ผู้จดั ทำได้ใชเ้ กณฑ์การพิจารณาจากคะแนนเฉล่ียตามแนวคิดของ บญุ ชม ศรีสะอาด และบุญส่ง นวิ แก้ว (2535,หน้า 22-25) 4.51-5.00 หมายความว่า ดมี าก 3.51-4.50 หมายความว่า ดี 2.51-3.50 หมายความวา่ ปานกลาง 1.51-2.50 หมายความว่า นอ้ ย 1.00-1.50 หมายความวา่ ต้องปรับปรุง ผู้เขา้ ร่วมโครงการ จะตอ้ งกรอกข้อมูลตามแบบสอบถาม เพอ่ื นำไปใช้ในการประเมินผลของการ จัดกิจกรรมดงั กล่าว และจะได้นำไปเปน็ ข้อมูล ปรับปรงุ และพัฒนา ตลอดจนใช้ในการจดั ทำแผนการ ดำเนินการในปีต่อไป

บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ งานและการวเิ คราะหข์ ้อมลู โครงการส่งเสริมการอ่าน/หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) เคลื่อนที่ ประจำปี พ.ศ. 2565 ได้ดำเนินการตามแผนงานการจดั กิจกรรมตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 – 31 กันยายน 2565 ครอบคลุมพื้นท่ี ดำเนินการ กศน.ตำบล ทั้ง 17 ตำบล มีผู้เข้าร่วมโครงการฯจำนวน 300 คน และทำการสุ่มตัวอย่างจาก แบบประเมินโครงการฯ จำนวน 214 คน ซึ่งได้สรุปผลจากแบบสอบถามและนำเสนอผลการวิเคราะห์ ขอ้ มูล จำนวน 214 ชุด ดงั นี้ ตอนที่ 1 โครงการส่งเสริมการอา่ น/หน่วยบรกิ ารเคลื่อนที่ (รถโมบาย) เคลอื่ นที่ ประจำปี พ.ศ. 2565 ได้นำมาจำแนกตามเพศ อายุ และอาชีพ ผู้จัดทำได้นำเสนอจำแนกตามข้อมูล ดังปรากฏตาม ตารางที่ 1 ดงั น้ี ตารางที่ 1 แสดงค่ารอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามเพศ เพศ ชาย หญงิ ความคดิ เหน็ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการสง่ เสริมการอา่ น/หน่วย 81 37.9 133 62.1 บรกิ ารเคลือ่ นที่ (รถโมบาย) เคลอ่ื นที่ ประจำปี พ.ศ. 2565 จากตารางท่ี 1 แสดงว่า ผ้ตู อบแบบสอบถามของผูเ้ ข้ารว่ มโครงการสง่ เสริมการอา่ น/หน่วยบริการ เคลื่อนที่ (รถโมบาย) เคลื่อนที่ ประจำปี พ.ศ. 2565 เป็นชาย 81 คน คิดเป็นร้อยละ 37.9 เป็นหญิง 133 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 62.1 ตารางที่ 2 แสดงคา่ ร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอายุ อายุ ต่ำกว่า 15 ปี 15-29 ปี 30-39 ปี 40-59 ปี 50-59 ปี 60 ปขี ้ึนไป จำ รอ้ ย จำ รอ้ ย จำ รอ้ ย จำ ร้อย จำ รอ้ ย จำ รอ้ ย ความคิดเห็น นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ละ ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม 77 36 79 36.9 33 14.5 17 7.9 8 3.7 - - โครงการสง่ เสรมิ การอา่ น/หน่วย บริการเคลอื่ นที่ (รถโมบาย) เคลือ่ นท่ี ประจำปี พ.ศ. 2565

๒๔ จากตารางที่ 2 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการส่งเสริมการอ่าน/ หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) เคลื่อนที่ ประจำปี พ.ศ. 2565 พบว่า ในช่วงอายุอายุ 15-29 ปี มี จำนวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 36.9 ในช่วงอายุ ต่ำกว่า 15 ปี มีจำนวน 77 คน คิดเป็นร้อยละ 36 ในช่วงอายุ 30-39 ปี มีจำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 14.5 ในช่วงอายุ 40-59 ปี มีจำนวน 17 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 7.9 และในช่วงอายุ 50-59 ปี มีจำนวน 8 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.7 ตามลำดับ ตารางท่ี 3 แสดงค่ารอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอาชพี อาชีพ รับจ้าง ค้าขาย นักเรยี น/นกั ศึกษา เกษตรกรรม อืน่ ๆ จำ รอ้ ย จำ ร้อย จำ รอ้ ย จำ ร้อย ความคิดเห็น นวน ละ นวน ละ จำ ร้อย นวน ละ นวน ละ โครงการส่งเสริม นวน ละ การอา่ น/หนว่ ย -- 8 3.7 156 72.9 -- 50 23.3 บริการเคลอ่ื นท่ี (รถโมบาย) เคลือ่ นที่ ประจำปี พ.ศ. 2565 จากตารางที่ 3 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการส่งเสริมการอ่าน/ หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) เคลื่อนที่ ประจำปี พ.ศ. 2565 พบว่า มีอาชีพนักเรียน/นักศึกษาสูงสุด จำนวน 156 คน คิดเป็นร้อยละ 72.9 อาชีพอื่นๆ จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 23.3 และอาชีพ คา้ ขาย จำนวน 8 คน คิดเปน็ ร้อยละ 3.7 ตามลำดับ ตารางที่ 4 แสดงคา่ ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามระดับการศึกษา การศึกษา ประถมฯ ม.ตน้ ม.ปลาย สูงกว่า ม.ปลาย ความคิดเห็น จำ ร้อยละ จำ ร้อย จำ ร้อยละ นวน นวน ละ นวน จำ รอ้ ย โครงการสง่ เสรมิ การอ่าน/ 31 15.5 นวน ละ หนว่ ยบรกิ ารเคลอื่ นที่ (รถโม 76 35.5 52 24.3 บาย) เคล่ือนท่ี ประจำปี พ.ศ. 55 25.6 2565 จากตารางที่ 4 แสดงว่า ผู้ตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการส่งเสริมการอ่าน/ หนว่ ยบรกิ ารเคล่ือนที่ (รถโมบาย) เคลอื่ นที่ ประจำปี พ.ศ. 2565 พบว่า ระดับประถมฯ สงู สดุ จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 35.5 ระดับสูงกว่า ม.ปลาย จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 25.6 ระดับม.ปลาย จำนวน 52 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 24.3 และ ระดับม.ตน้ 31 คน คิดเป็นร้อยละ 15.5 คน ตามลำดับ

๒๕ ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการอ่าน/หน่วยบริการ เคลอ่ื นท่ี (รถโมบาย) เคลือ่ นท่ี ประจำปี พ.ศ. 2565 ดงั ปรากฏในตารางที่ 5 ตารางที่ 5 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจโครงการสง่ เสริมการอ่าน/หน่วยบรกิ ารเคลอ่ื นท่ี (รถโม บาย) เคล่ือนที่ ประจำปี พ.ศ. 2565 N = 214 รายการประเมินความพึงพอใจ x̄ S.D. อนั ดบั ระดับ ท่ี ผลการ 1. กิจกรรมตรงตามความตอ้ งการ ประเมิน 2. กิจกรรมเพยี งพอต่อความต้องการ 3. กจิ กรรมมีความปจั จุบันทันสมยั 4.57 0.50 1 ดี 4. เนอ้ื หามีประโยชน์ต่อการนำไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต 5. การเตรียมความพรอ้ มกอ่ นจดั กจิ กรรม 4.36 0.40 14 ดี 6. การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ 7. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา 4.52 0.52 3 ดมี าก 8. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย 9. วิธกี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ 4.50 0.42 5 ดมี าก 10. เจ้าหน้าทีม่ ีความรคู้ วามสามารถ 11. เจ้าหน้าทีใหบ้ รกิ ารที่ดี 4.46 0.51 11 ดี 12. สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณแ์ ละสิ่งอำนวยความสะดวก 4.48 0.51 6 ดี 13. การส่ือสาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือใหเ้ กดิ การเรียนรู้ 4.43 0.55 13 ดี 4.46 0.56 9 14. การบรกิ าร การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา 4.46 0.54 10 ดี 15. ความพงึ พอใจในภาพรวมของผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม 4.48 0.51 7 ดี ดี 4.55 0.51 2 ดีมาก 4.24 0.72 15 4.45 0.51 12 ดี 4.47 0.53 8 ดี ดี 4.50 0.52 4 ดี จากตาราง 5 พบว่า โดยเฉลี่ยแล้วผู้เข้ารับการอบรมในโครงการส่งเสริมการอ่าน/หน่วยบริการ เคลื่อนที่ (รถโมบาย) เคลื่อนที่ ประจำปี พ.ศ. 2565 มีความพึงพอใจในภาพรวมของผู้เข้ารว่ มกิจกรรม อยู่ ในระดับ ดี ( x=̄ 4.50 ) เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่า ลำดับที่ 1 กิจกรรมตรงตามความต้องการ ( x=̄ 4.57 ) ลำดับที่ 2 เจ้าหน้าทีให้บริการที่ดี ( x̄=4.55 ) ลำดับที่ 3 กิจกรรมมีความปัจจุบันทันสมัย ( x̄=4.52 ) ลำดบั ท่ี 4 ความพงึ พอใจในภาพรวมของผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรม ลำดับที่ 5 เน้อื หามีประโยชน์ต่อการ นำไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพชวี ิต มีคา่ เฉลยี่ เท่ากนั ( x=̄ 4.50 ) ลำดับที่ 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสม กบั วัตถุประสงค์ ลำดับที่ 7 เจา้ หน้าทีม่ ีความรู้ความสามารถ มีคา่ เฉลีย่ เท่ากัน ( x=̄ 4.48 ) ลำดับท่ี 8 การ บริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา ( x=̄ 4.47 ) ลำดับที่ 9 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ลำดับที่ 10 วธิ ีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ และลำดบั ท่ี 11 การเตรียมความพร้อมก่อน จดั กจิ กรรมมีค่าเฉลี่ยเทา่ กนั ( x̄= 4.46 ) ลำดับที่ 12 การสอื่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพอื่ ใหเ้ กิดการเรียนรู้

๒๖ ( x=̄ 4.45 ) ลำดับที่ 13 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา ( x̄= 4.43 ) ลำดับที่ 14 กิจกรรมเพียงพอต่อ ความต้องการ ( x=̄ 4.36 ) และลำดับที่ 15 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก ( x̄= 4.24 ) ตามลำดับ

บทท่ี 5 สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ โครงการส่งเสริมการอ่าน/หน่วยบริการเคลื่อนที่ (รถโมบาย) เคลื่อนที่ ประจำปี พ.ศ. 2565 ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการอ่านและมีนิสัยรักการอ่าน เพื่อสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่านของชุมชน และเพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมห้องสมุดประชาชนจังหวัด ชลบุรี ไดด้ ำเนินการตามแผนงานการจัดกิจกรรมตัง้ แต่ 1 ตลุ าคม 2564 – 31 กันยายน 2565 ครอบคลุม พื้นที่ดำเนินการ กศน.ตำบล ทั้ง 17 ตำบล ผู้เข้าร่วมโครงการฯจำนวน 300 คน และทำการสุ่มตัวอย่าง จากแบบประเมินโครงการฯ จำนวน 214 คน และทำการวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากกลมุ่ ตัวอย่างประชากรทเ่ี หมาะสม จำนวน 214 คน ทง้ั นี้ขอสรปุ และอภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะดงั น้ี 1. สรุปผล 1.1 ผูต้ อบแบบสอบถามของผเู้ ข้าร่วมโครงการสง่ เสรมิ การอา่ น/หน่วยบรกิ ารเคล่ือนที(่ รถโมบาย) เคล่ือนท่ี ประจำปี พ.ศ. 2565 เป็นชาย 81 คน คิดเปน็ ร้อยละ 37.9 เป็นหญงิ 133 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 62.1 ในช่วงอายุอายุ 15-29 ปี มีจำนวน 79 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 36.9 ในชว่ งอายุ ต่ำกว่า 15 ปี มจี ำนวน 77 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 36 ในชว่ งอายุ 30-39 ปี มจี ำนวน 33 คน คิดเปน็ ร้อยละ 14.5 ในช่วง อายุ 40-59 ปี มีจำนวน 17 คน คดิ เป็นร้อยละ 7.9 และในชว่ งอายุ 50-59 ปี มีจำนวน 8 คน คดิ เป็น ร้อยละ 3.7 พบว่า มีอาชีพนักเรียน/นักศึกษาสูงสุด จำนวน 156 คน คิดเป็นร้อยละ 72.9 อาชีพอื่นๆ จำนวน 50 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 23.3 และอาชพี ค้าขาย จำนวน 8 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 3.7 ตามลำดบั และพบว่า ระดับประถมฯ สูงสุด จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 35.5 ระดับสูงกว่า ม.ปลาย จำนวน 55 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.6 ระดับม.ปลาย จำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 24.3 และ ระดับม.ต้น 31 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 15.5 คน ตามลำดบั 1.2 ข้อมูลเกี่ยวกับความคิดเหน็ ของผู้เข้ารับการอบรมในโครงการวันรักการอ่านและส่งเสริมการ เรียนรู้ป้องกันไวรัสโควิด-19 ประจำปี 2565 พบว่า มีความพึงพอใจในภาพรวมของผู้เข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในระดับ ดี ( x̄= 4.50 ) เมื่อวิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่า ลำดับที่ 1 กิจกรรมตรงตามความต้องการ ( x=̄ 4.57 ) ลำดับที่ 2 เจ้าหน้าทีให้บริการที่ดี ( x=̄ 4.55 ) ลำดับที่ 3 กิจกรรมมีความปัจจุบันทันสมัย ( x=̄ 4.52 ) ลำดบั ท่ี 4 ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม ลำดับท่ี 5 เนือ้ หามีประโยชนต์ ่อการ นำไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพชวี ิต มีคา่ เฉล่ียเท่ากัน ( x=̄ 4.50 ) ลำดบั ท่ี 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสม กับวัตถปุ ระสงค์ ลำดบั ท่ี 7 เจ้าหนา้ ท่มี คี วามรู้ความสามารถ มคี ่าเฉล่ียเท่ากัน ( x=̄ 4.48 ) ลำดับท่ี 8 การ บริการ การช่วยเหลอื และการแก้ปัญหา ( x̄=4.47 ) ลำดับที่ 9 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ลำดบั ท่ี 10 วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ และลำดบั ที่ 11 การเตรยี มความพร้อมก่อน จัดกจิ กรรมมีค่าเฉลย่ี เทา่ กนั ( x=̄ 4.46 ) ลำดับท่ี 12 การสอื่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือให้เกดิ การเรียนรู้ ( x̄= 4.45 ) ลำดับที่ 13 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา ( x̄= 4.43 ) ลำดับที่ 14 กิจกรรมเพียงพอต่อ

๒๘ ความต้องการ ( x̄= 4.36 ) และลำดบั ที่ 15 สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก ( x̄= 4.24 ) ตามลำดับ 2. อภปิ รายผล จากโครงการสง่ เสริมการอ่าน/หนว่ ยบริการเคลือ่ นที่ (รถโมบาย) เคลอื่ นท่ี ประจำปี พ.ศ. 2565 ไดด้ ำเนนิ การเสร็จสนิ้ แลว้ ขออภิปรายผลเป็นหวั ขอ้ ดังน้ี 1. ประชุมผูท้ ีเ่ ก่ยี วข้อง พบว่า ไม่พบสภาพปัญหา ซง่ึ หากมีการจัดโครงการฯในลักษณะน้ี ควรดำเนินการ....................-.............................................. ............................................................................................................................. ............................................ ............................................................................................................................. ............................................. 2. จดั ตง้ั คณะทำงานเพอ่ื ดำเนนิ การจดั โครงการฯ พบว่า ...(สภาพปญั หาท่ีพบ)...................ไม่พบสภาพปญั หา........................................................... ............................................................................................................................. ............................................ ............................................................................................................................. ............................................. ซ่งึ หากมีการจัดโครงการฯในลกั ษณะน้ี ควรดำเนนิ การ...............-................................................... ............................................................................................................................. .............................................. .................................................................................... ...................................................................................... . 3.ประสานงาน/ประชาสมั พันธ์ พบว่า ...(สภาพปัญหาที่พบ)........................ไม่พบสภาพปัญหา..................................................... ................................................................................................................................................... ...................... ............................................................................................................ .............................................................. 4.ดำเนนิ งานตามแผน พบวา่ ...(สภาพปัญหาทีพ่ บ)........................ไมพ่ บสภาพปัญหา..................................................... ............................................................................................................................. ............................................ ...................................................................................... .................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ซึ่งหากมีการจัดโครงการฯในลักษณะนี้ ควรดำเนนิ การ................-............................................... ............................................................................................................................. .............................................. 5. วดั ผล/ประเมินผล/สรปุ ผลและรายงาน พบวา่ ...(สภาพปัญหาท่พี บ)...........................................ไมพ่ บสภาพปญั หา................................. ......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. ............................................................................................................................. ............................................. ซง่ึ หากมีการจดั โครงการฯในลกั ษณะนี้ ควรดำเนนิ การ...............-..................................................

๒๙ 3. ปญั หาและอุปสรรค พบวา่ ...(สภาพปญั หาทพ่ี บปัญหาเนอ่ื งจากสถานการณ์โควิด -19 การดำเนนิ กิจกรรมลา่ ชา้ และ ไมส่ ามารถดำเนนิ การจดั กิจกรรมได้ ซ่งึ หากมีการจัดโครงการฯในลักษณะนี้ ควรดำเนินการ...............-.................................................. ............................................................................................................................. ............................................ .................................................................................................................................... ...................................... ............................................................................................ .............................................................................. 4. ขอ้ เสนอแนะ (ในภาพรวม) ปัญหาเนื่องจากสถานการณ์โควิด -19 การดำเนินกิจกรรมล่าช้า และไม่สามารถดำเนินการจัด กิจกรรมได้ ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้เนื่องจาก บางสถานที่บางหน่วยงานหรือ โรงเรียนมี กิจกรรมเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการหลายกิจกรรม เช่น นักเรียนมีสอบ กิจกรรมเข้าค่ายลูกเสือ การออบรม การสอบ O-Net ของนักเรียน

บรรณานกุ รม เกบ็ มาเล่าเทคโนโลยชี าวบ้าน. (2564) . ดันรถห้องสมดุ เคล่ือนที่ กศน.เข้าชุมชนเพ่ิม ประสทิ ธิภาพรกั การอา่ น .ค้นเม่ือ กนั ยายน 7,2565. https://www.technologychaoban.com/today/article_183889 จำเนยี ร ผะคุงควิ . โครงการสรา้ งนักอ่านการสร้างนักอา่ นในชมุ ชน .ค้นเมอ่ื สิงหาคม 25, 2565 . http://read2kids.taiwisdom.org/?p=616 สำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั . (2551). พระราชบญั ญตั ิ การศกึ ษาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั . กรุงเทพมหานคร : สำนักงาน กศน. สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. (2565). นโยบายและ จดุ เนน้ การดำเนินงานการศึกษานอระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ประจำปี งบประมาณ 2565. กรุงเทพมหานคร : สำนักงาน กศน. องค์การยูนิเซฟ. (2553). โครงการห้องสมดุ เคล่ือนที่ องค์การยนู ิเซฟ ประเทศไทย. ค้นเม่อื กันยายน 7,2565. https://www.unicef.org/thailand

ภาคผนวก

แผนการดำเนนิ งานและโครงการฯ ปงี บประมาณ 2565

ภาพโครงการ

ภาพโครงการ

คณะผูจ้ ัดทำ ผอู้ ำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอเมืองชลบุรี ท่ปี รกึ ษา ครชู ำนาญการพเิ ศษ นายไพรัตน์ เนอื่ งเกตุ บรรณารักษป์ ฏบิ ตั กิ าร ครูอาสาสมัครฯ นางสาวเอมอร แกว้ กล่ำศรี บรรณารักษอ์ ัตราจ้าง ผ้จู ัดทำ นายปัณณวชิ ญ์ สุขทวี นางสาววราภรณ์ ธรี ะทปี นายเสกสรรค์ พรมศกั ด์ิ