-ก- คำนำ การอ่านมีความสำคญั ตอ่ ชีวิตมนษุ ย์ตัง้ แตเ่ กิดจนโต และจนกระท่ังถึงวัยชรา การอ่านทำให้รขู้ า่ วสาร ข้อมลู ตา่ ง ๆ ท่วั โลก ซ่งึ ปจั จบุ นั เปน็ โลกของขอ้ มูลข่าวสารต่าง ๆ ทว่ั โลก ทำใหผ้ ู้อา่ นมีความสขุ มี ความหวงั และมีความอยากรอู้ ยากเหน็ อนั เป็นความต้องการของมนษุ ย์ทกุ คน การอา่ นมีประโยชนใ์ นการ พฒั นาตนเอง คือ พฒั นาการศึกษา พัฒนาอาชีพ พัฒนาคณุ ภาพชวี ิต ทำให้เปน็ คนทันสมัย ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ และมคี วามอยากร้อู ยากเห็น การที่จะพฒั นาประเทศให้เจริญรงุ่ เรอื งก้าวหน้าไดต้ อ้ งอาศัยประชาชนทมี่ คี วามรู้ ความสามารถ ซึง่ ความรู้ตา่ งๆกไ็ ดม้ าจากการอ่านนนั่ เอง (ฉววี รรณ คหู าภินนท์, ๒๕๔๒, หน้า ๑๑ ) จากบทความขา้ งตน้ จะใหไ้ ด้วา่ การอ่านมีความสำคัญเพียงใดในการแสวงหาความรู้ ดว้ ยการศึกษาของ ประเทศไทยในปจั จุบัน มีความก้าวหน้าและใช้เทคโนโลยใี นการเรียนการสอน หรือแม้กระทัง่ การอา่ นหนังสือ จะทำอย่างไรให้นักศึกษาหรอื ประชาชนสนใจในเรือ่ งการอา่ น ในขณะท่กี ารอ่านในปัจจุบนั เป็นการอ่านผา่ น สมาร์โฟน กศน.อำเภอเมืองชลบุรแี ละห้องสมุดประชาชนจงึ นำแนวคดิ ดังกลา่ วมารวมกนั ทำโครงการRPO Reading project online นกั อา่ นผ่านออนไลน์ ข้นึ นอกจากนน้ั กศน.อำเภอเมอื งชลบรุ ียงั ได้ประกาศเรอ่ื ง อัตลักษณ์ของสถานศกึ ษาคอื “ก้าวไปกับ ICT” และเอกลกั ษณ์คือ “องคก์ รออนไลน์” เพ่อื เป็นแนวทางในการพฒั นาผู้เรียนใหม้ ีศักยภาพในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเฉพาะเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์และการใช้ส่ือดิจิทัล ใหม้ ีประสิทธิภาพและ ประสิทธผิ ล ประกอบกบั นโยบายของสำนกั งาน กศน. ประจำปงี บประมาณ 2562 ซึ่งสง่ เสริมการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย เพื่อยกระดบั การศึกษาและเพมิ่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการศกึ ษา กศน.อำเภอเมอื งชลบุรี จงึ จัดโครงการ RPO Reading project online นักอ่านผา่ นออนไลน์ เพื่อเป็นการส่งเสริมการอา่ นและตอบสนองตอ่ นโยบายของสำนกั งาน กศน. เพอื่ เป็นการพฒั นานักศกึ ษาใหม้ ี คณุ ลกั ษณะดังกล่าว สามารถนำความรู้ท่ไี ดร้ ับไปประยุกต์ใชใ้ นการทำงานไดจ้ ริง ตลอดจนการพฒั นาเพือ่ ให้ สอดคลอ้ งกับสภาพวิถีชีวิตเพื่อใหเ้ กิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างต่อเน่อื ง นายปัณณวชิ ญ์ สุขทวี ตุลาคม 2562
-ข- สารบัญ หน้า คำนำ...........................................................................................................................................................ก สารบัญ........................................................................................................................................................ข สารบญั ตาราง..............................................................................................................................................ค สารบญั ภาพ.................................................................................................................................................ง บทที่ 1 บทนำ 1 ความเป็นมาและความสำคัญ........................................................................................................1 วตั ถปุ ระสงค์.................................................................................................................................2 เปา้ หมาย......................................................................................................................................2 ระยะเวลาดำเนนิ งาน....................................................................................................................3 ผลลัพธ์ .........................................................................................................................................3 ดัชนวี ดั ผลสำเร็จของโครงการ ......................................................................................................3 นยิ ามศัพท์เฉพาะ .........................................................................................................................3 บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและรายงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง...................................................................................13 ยทุ ธศาสตร์และจดุ เนน้ การดำเนินงาน สำนกั งาน กศน.ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ..........13 แนวทางการดำเนนิ งานของ กศน.อำเภอเมอื งชลบุรี ....................................................................28 กรอบการจดั กิจกรรมเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น...........................................................................37 เอกสาร/บทความทีเ่ กย่ี วขอ้ ง........................................................................................................42 บทท่ี 3 วิธดี ำเนินงาน ...............................................................................................................................45 ประชุมบุคลากรกรรมการสถานศึกษา ..........................................................................................45 จดั ตงั้ คณะทำงาน .........................................................................................................................45
สารบญั (ต่อ) หนา้ ประสานงานกบั ผู้เรียน/วิทยากรผสู้ อน...................................................................................45 ดำเนินการตามแผนงานโครงการ ...........................................................................................46 สรปุ ผลและรายงาน................................................................................................................46 บทท่ี 4 ผลการดำเนินงานและการวิเคราะห์ข้อมูล..................................................................................47 ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนตัวผู้แบบสอบถามของผู้เข้าร่วมโครงการนกั อา่ นผา่ นออนไลน์ RPO Reading project online...........................................................................................47 ตอนที่ 2 ข้อมูลเก่ียวกับความคิดเห็นท่ีมตี ่อโครงการนกั อา่ นผ่านออนไลน์ RPO Reading project online…………………………………………………………………………………..49 บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ............................................................................................51 สรุปผล ..................................................................................................................................51 อภิปรายผล............................................................................................................................52 ปญั หาและอปุ สรรค...............................................................................................................52 ขอ้ เสนอแนะ ..........................................................................................................................53 บรรณานกุ รม.............................................................................................................................................54 ภาคผนวก..................................................................................................................................................55 คณะผูจ้ ดั ทำ -ค-
สารบญั ตาราง หนา้ ภาพท่ี 1 การใช้ส่อื ดิจทิ ัลในปัจจุบัน .......................................................................................................3 2 อนิ โฟกราฟฟิคส่ือดิจิทัล ............................................................................................................4 3 Smart phone ปัจจุบัน ...........................................................................................................5 4 การใชแ้ ท็บเล็ตปัจจุบัน..............................................................................................................5 5 อุปกรณ์ส่ือมลั ติมเี ดยี .................................................................................................................7 6 โลโก้ยทู ูป ..................................................................................................................................7 7 เว็บไซต์ youtube โครงการ RPO.............................................................................................8 8 youtube kids ..........................................................................................................................9 9 youtube studio......................................................................................................................10 10 การแก้ไขรายละเอียดแต่ละวีดีโอ...............................................................................................10 11 การจดั เรยี งหรือเลอื่ นวีดโี อ .......................................................................................................11 12 การแสดงแหล่งท่มี าของผชู้ ม ....................................................................................................11 13 สถิตยิ อด playlist ....................................................................................................................12 14 หนา้ แสดงวเิ คราะหข์ อ้ มลู รปู แบบใหม่ .......................................................................................12 15 ชม youtube ผา่ นสมารท์ โฟน ..................................................................................................43 16 youtube kids...........................................................................................................................9 17 youtube studio ......................................................................................................................10 18 การแก้ไขรายละเอียดแต่ละวดี โี อ................................................................................................10
-ง- สารบญั ตาราง ตารางท่ี 1 แสดงค่าร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามเพศ...................................................47 2 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอายุ...................................................47 3 แสดงค่าร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอาชีพ ................................................48 4 แสดงค่าร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามการศกึ ษา............................................48 5 ผลการประเมนิ โครงการนกั อ่านผ่านออนไลน์ RPO Reading project online.........................49
บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญ การอ่านมคี วามสำคญั ต่อชวี ติ มนุษยแ์ ตเ่ กิดจนโต และจนกระท่งั ถงึ วยั ชราการอา่ นทำ ให้รู้ข่าวสาร ข้อมลู ตา่ งๆท่วั โลกซง่ึ ปัจจุบนั เป็นโลกของขอ้ มลู ข่าวสารต่างๆ ทัว่ โลกทำให้ผู้อา่ นมีความสขุ มี ความหวัง และมี ความอยากร้อู ยากเห็น อนั เป็นความตอ้ งการของมนุษยท์ กุ คน การอา่ นมีประโยชน์ในการ พัฒนาตนเอง คอื พัฒนาการศกึ ษา พฒั นาอาชพี พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ทำให้เปน็ คนทันสมัยทันต่อเหตกุ ารณ์ และมีความอยากรู้ อยากเหน็ การท่จี ะพัฒนาประเทศใหเ้ จรญิ รุ่งเรืองกา้ วหนา้ ไดต้ อ้ งอาศยั ประชาชนที่มี ความรูค้ วามสามารถ ซึ่ง ความรู้ตา่ ง ๆ กไ็ ด้มาจากการอ่านน่ันเอง จะเห็นได้ว่าการอ่านมคี วามสำคัญเปน็ อย่างมากในการเรยี นรู้ แต่ในปจั จบุ นั การอ่านของคนไทยยังมี อตั ราทไี่ ม่สงู มากนัก แมจ้ ะมีการสง่ เสรมิ การอา่ นอยา่ งจริงจัง การกระตนุ้ จากภาครฐั และเอกชน จากการแถลง ขา่ วนำเสนอผลสำรวจการอ่านของประชากรคนไทย พ.ศ. 2558 โดยสำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ และสำนักงาน อทุ ยานการเรยี นรู้ (ทีเค ปารค์ ) คนไทยใหค้ วามสำคัญกบั การอ่านมากขนึ้ โดยมีเวลาการอา่ นเฉลยี่ 66 นาท/ี วนั เพิ่มขน้ึ จากการสำรวจคร้ังลา่ สดุ เมอ่ื ปี 2556 ทีอ่ า่ นเพยี ง 37 นาที/วนั ซ่งึ สาเหตุทท่ี ำให้การอ่านยงั มีอตั ราทต่ี ำ่ เกิดจากการทำกจิ กรรมอนื่ ๆ ท่เี บียดบงั เวลาอา่ นหนงั สือซ่ึง จากการสำรวจ Thailand Internet User Profile 2018 จากสำนกั งานพัฒนาธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (ETDA) คนไทยใช้ Internet เฉลีย่ เกือบ 10 ช่งั โมงตอ่ วันในวันทำงาน/เรยี น และ 11 ชัว่ โมงในวันหยดุ พูด งา่ ยๆคือประมาณ 1/3 ของชีวิตประจำวันน้ันอย่กู บั Internet โดยภาพรวมคนไทยใชเ้ วลาบน Internet มาก ขน้ึ ประมาณ 3 ชัว่ โมงกวา่ ๆเทยี บกับปีท่แี ล้ว และ ใช้เวลาในการใช้ส่อื ผ่านชอ่ งทาง YouTube, Line, Facebook ยงั คงเป็น Top 3 Social/Chat platform ของคนไทย แต่ท่นี ่าสนใจคือ คนไทยใชเ้ วลาประมาณ ชัว่ โมงครึ่งต่อวัน ไปกับการอ่านหนงั สอื หรอื บทความ ออนไลน์ และท่ีนา่ สนใจคือการใช้สื่ออนั ดบั 1 เป็นการใชผ้ ่านช่องทาง Youtube จากหลักการและแนวโนม้ การใชส้ ่ือออนไลน์ ในการอา่ นหนังสือหรือบทความดงั กลา่ ว ทำให้ หอ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั ชลบรุ ี ในการดูแลกำกบั ของ กศน.อำเภอเมืองชลบรุ ี ซงึ่ มที ิศทางการดำเนินงาน ของสถานศกึ ษาตามแนวปรัชญา “คดิ เป็น ทำเปน็ เนน้ ICT” มีอตั ลักษณ์ คือ “ก้าวไปในยคุ ดจิ ทิ ลั ” และ เอกลักษณ์ของสถานศึกษา คือ “องค์กรออนไลน์” จึงมีแนวคิดทจ่ี ะนำสื่อออนไลน์ Youtube มาช่วยในการสง่ เสรมิ การอา่ นและการเรียนการสอน เพ่อื สร้างนวตั กรรมการอา่ นแนวใหม่ เพอื่ กระตุ้นใหน้ ักศกึ ษาและประชาชนมีส่วนรว่ มในการเพ่มิ อตั ราการ อ่านผา่ นช่องทาง YouTube จึงจะเป็นชอ่ งทางหน่ึงทจี่ ะช่วยส่งเสริมพัฒนาการศกึ ษา พัฒนาครแู ละนกั ศึกษา ในยคุ ของเทคโนโลยีท่ไี ด้เขา้ มามีบทบาทต่อโลกในปจั จบุ นั น้ี ในการใชเ้ ทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษาและการ สง่ เสริมการอา่ นเพอื่ เพ่มิ อัตราการอ่านของประชากรตามแนวนโยบายของ สำนักงาน กศน. ดังนัน้ โครงการสง่ เสริมการอา่ น “ RPO : Reading Project Online” สำหรับนักศึกษา กศน. อำเภอเมอื งชลบรุ ี เป็นนวตั กรรมการส่งเสริมการอา่ นแบบใหม่ เป็นกจิ กรรมทีด่ ำเนนิ การโดยนักศึกษาเพือ่ ส่งเสริมการอ่านในรูปแบบการนำเสนอการอา่ นของตวั นักศึกษาเองหรอื กลมุ่ นกั ศึกษา โดยผา่ นชอ่ งทาง Youtube เพ่ือใหเ้ กดิ กิจกรรมทตี่ ้องดำเนินไปควบคกู่ นั ระหว่างการอ่าน และการเรียนการสอน ทำให้เกดิ การส่งเสรมิ การอ่านอยา่ งเปน็ รูปธรรม และยังชว่ ยพฒั นาสง่ เสริมใหน้ ักศึกษา กศน.อำเภอเมืองเมอื งชลบุรี มี
ความรู้ ความสามารถทางดา้ น ICT ตามทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา ท่มี ปี รัชญาสถานศึกษาคอื คอื “คดิ เปน็ ทำเป็น เน้น ICT” วตั ถปุ ระสงค์ 1.เพอื่ ให้นกั ศึกษา กศน.อำเภอเมอื งชลบุรี สมาชกิ หอ้ งสมดุ ประชาชน และประชาชนทัว่ ไปได้รับ ความร้แู ละเพิ่มอตั ราการอา่ น 2. นกั ศึกษา กศน.อำเภอเมอื งชลบุรี สมาชกิ หอ้ งสมดุ ประชาชน และประชาชนทัว่ ไป มีการใช้ เทคโนโลยีดิจทิ ัลและสอ่ื ออนไลน์อยา่ งเหมาะสม เป้าหมาย เชิงปรมิ าณ นกั ศึกษา กศน.อำเภอเมอื งชลบุรี จำนวน 660 คน เชงิ คณุ ภาพ - นักศกึ ษา กศน. ไดม้ ีการส่งเสรมิ การอ่าน และเพม่ิ อตั ราการอ่าน - นกั ศึกษา กศน.อำเภอเมืองชลบรุ ี ใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัลและส่ือออนไลนใ์ นการแสดงออกในเชิง สร้างสรรค์รวมทง้ั ได้รบั ความรู้ และสรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้ด้วยตวั เอง ระยะเวลาดำเนนิ งาน - ครัง้ ที่ 1 เดือนพฤษภาคม –มถิ นุ ายน 2562 - ครัง้ ท่ี 2 เดือนสงิ หาคม - กันยายน 2562 ผลลพั ธ์ 1. นักศึกษา กศน. ได้มกี ารส่งเสริมการอ่าน และเพ่มิ อัตราการอา่ น 2. นักศึกษา กศน.อำเภอเมืองชลบรุ ี ใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ิทัลและสอื่ ออนไลน์อย่างเหมาะสม ดัชนีวดั ผลและความสำเร็จของโครงการ ตัวชว้ี ัดผลผลิต[Output] นกั ศกึ ษา กศนอำเภอเมืองชลบรุ ี เข้าร่วมโครงการอย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 80 ของเป้าหมายทีไ่ ด้กำหนด นักศกึ ษา กศนอำเภอเมืองชลบรุ ี เข้าร่วมโครงการฯเข้าประเมนิ ( Clip Video) อย่างน้อยรอ้ ยละ่ 50 ตัวชวี้ ัดผลลัพธ์[outcome] นกั ศึกษา กศนอำเภอเมอื งชลบรุ ี มีความรคู้ วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัลและส่อื ออนไลนน์ ำไปขยายผลอย่างละ ร้อยละ่ 20
นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ สือ่ ดิจทิ ัลคอื อะไร ภาพที่ 1 การใชส้ อื่ ดจิ ิทลั ในปจั จบุ ัน สื่อดิจทิ ัล...คืออะไร. สอื่ ดจิ ิทัล หมายถงึ สอ่ื ท่มี กี ารนำเอาข้อความ กราฟิก ภาพเคล่ือนไหว เสียง มาจัดรูปแบบ โดยอาศัยเทคโนโลยคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ทางดา้ นคอมพวิ เตอร์ สอื่ สารทางออนไลน์ หรือ ตวั กลางทถ่ี ูกสร้างขน้ึ โดยอาศยั ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ท่นี ำเอาข้อความ กราฟกิ ภาพเคล่ือนไหว เสยี ง และ วดิ โี อ มาจัดการตามกระบวนการ และวธิ ีการผลิตโดยนำมาเช่อื มโยงกนั เพ่ือให้เกิดประโยชนใ์ นการใชง้ าน และตรงกบั วตั ถุประสงค์ หรือ ส่อื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ซง่ึ ทำงานโดยใช้รหสั ดจิ ติ อล แยกแยะระหวา่ ง \"0\" กบั \"1\" ในการแสดงขอ้ มูล
ภาพท่ี 2 อนิ โฟกราฟฟิคสิ่อดิจิทัล ดจิ ิตอล ( Digital) คอื อะไร ดิจิตอล คือ เทคโนโลยอี ีเล็คโทรนิคส์ท่ีใช้สร้าง เกบ็ และประมวลข้อมูลในลกั ษณะ 2 สถานะ คอื บวก (positive) และไมบ่ วก (non-positive) -บวก (positive) แสดงด้วย เลข 1 - ไม่บวก (non-positive) แสดงด้วย เลข 0 ดังนัน้ ข้อมลู สง่ ผา่ น หรือเกบ็ ดว้ ยเทคโนโลยดี ิจติ อล เป็นการแสดงดว้ ยขอ้ ความ 0 และ 1 แต่ละค่าของ ตำแหนง่ สถานะเหล่านี้ เปน็ การอ้างแบบ binary digital เป็นเลขฐาน 2 เลขฐานสองนั้นถูกนำมาใช้ในทาง คอมพิวเตอร์ เพราะวา่ เลข 0 กับเลข 1 ในหนว่ ยความจำตัวเกบ็ ข้อมูล , การประมวลผล เลขฐานสองเปน็ พน้ื ฐานในการทำงานของคอมพิวเตอร์ ภาพท่ี 3 Smart phone ปจั จุบนั
องคป์ ระกอบของสอ่ื ดจิ ทิ ัล ประกอบไปดว้ ยพ้ืนฐาน 5 ชนดิ ดังน้ี ภาพท่ี 4 การใชแ้ ทบ็ เลต็ ปจั จุบัน 1.ขอ้ ความ (Text)เป็นส่วนทเี่ ก่ียวกับเนื้อหาของมลั ตมิ เี ดีย ใช้แสดงรายละเอยี ด หรอื เนอ้ื หาของเรือ่ งที่ นำเสนอ ถือวา่ เปน็ องค์ประกอบพน้ื ฐานที่สำคัญของมลั ตมิ ีเดีย ระบบมลั ตมิ เี ดียทน่ี ำเสนอผ่านจอภาพของ เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ นอกจากจะมรี ูปแบบและสีของตวั อักษรใหเ้ ลือกมากมายตามความตอ้ งการแลว้ ยังสามารถ กำหนดลักษณะของการปฏสิ มั พันธ์ (โตต้ อบ)ในระหวา่ งการนาเสนอได้อกี ด้วย ซงึ่ ปจั จุบัน มีหลายรูปแบบ ได้แก่ 1.1 ข้อความที่ได้จากการพิมพ์ เปน็ ขอ้ ความปกติทพี่ บได้ท่ัวไป ได้จากการพิมพ์ดว้ ย โปรแกรม ประมวลผลงาน (Word Processor) เชน่ NotePad, Text Editor, Microsoft Word โดยตวั อกั ษรแตล่ ะตัว เก็บในรหัส เชน่ ASCII 1.2 ขอ้ ความจากการสแกน เปน็ ข้อความในลักษณะภาพ หรือ Image ได้จากการนำเอกสารทีพ่ ิมพ์ ไว้แลว้ (เอกสารต้นฉบับ) มาทำการสแกน ดว้ ยเครอื่ งสแกนเนอร์ (Scanner) ซึ่งจะได้ผลออกมาเป็นภาพ (Image) 1ภาพ ปัจจุบันสามารถแปลงขอ้ ความภาพ เป็นข้อความปกติได้ โดยอาศัยโปรแกรม OCR ข้อความ อเิ ล็กทรอนิกส์ เป็นข้อความที่พฒั นาให้อยู่ในรปู ของสอื่ ทใ่ี ช้ประมวลผลได้ 1.3 ขอ้ ความอิเล็กทรอนกิ ส์ เป็นขอ้ ความที่พฒั นาใหอ้ ย่ใู นรูปของสอื่ ที่ใช้ประมวลผลได้ 1.4 ขอ้ ความไฮเปอรเ์ ทก็ ซ์ (HyperText) เป็นรปู แบบของขอ้ ความ ท่ไี ด้รบั ความนิยมสงู มาก ใน ปัจจุบัน โดยเฉพาะการเผยแพรเ่ อกสารในรูปของเอกสารเวบ็ เนอ่ื งจากสามารถใชเ้ ทคนคิ การลงิ ค์ หรอื เช่ือม ขอ้ ความ ไปยงั ข้อความ หรือจดุ อน่ื ๆ ได้ 2. ภาพน่ิง (Still Image) เป็นภาพที่ไม่มกี ารเคลอ่ื นไหว เชน่ ภาพถ่าย ภาพวาด และภาพลายเสน้ เป็น ต้น ภาพนงิ่ นับว่ามีบทบาทตอ่ ระบบงานมัลตมิ เี ดยี มากกว่าข้อความหรือตัวอกั ษร เนอ่ื งจากภาพจะใหผ้ ลในเชงิ การเรยี นร้หู รือรบั รดู้ ว้ ยการมองเหน็ ได้ดกี ว่า นอกจากนี้ยังสามารถถา่ ยทอดความหมายไดล้ กึ ซงึ่ มากกว่า ข้อความหรอื ตัวอักษรซึง่ ข้อความหรอื ตัวอักษรจะมขี ้อจำกัดทางด้านความแตกต่างของแต่ละภาษา แต่ภาพนนั้ สามารถสือ่ ความหมายได้กับทุกชนชาติ ภาพนงิ่ มักจะแสดงอยบู่ นสอื่ ชนิดต่างๆ เชน่ โทรทัศน์ หนงั สือพิมพ์ หรือวารสารวชิ าการ เปน็ ต้น 3. ภาพเคล่ือนไหว (Animation) ภาพกราฟกิ ทมี่ ีการเคล่ือนไหวเพ่ือแสดงขัน้ ตอนหรือปรากฏการณ์ ตา่ งๆ ที่เกดิ ข้ึนอยา่ งตอ่ เน่ือง เช่น การเคล่อื นที่ของลกู สบู ของเคร่ืองยนต์ เป็นต้น ทัง้ นเี้ พ่ือสร้างสรรค์ จินตนาการใหเ้ กดิ แรงจงู ใจจากผชู้ ม การผลติ ภาพเคล่ือนไหวจะตอ้ งใชโ้ ปรแกรมทีม่ ีคุณสมบัตเิ ฉพาะทางซึ่งอาจ
มีปญั หาเกิดข้นึ อยู่บา้ งเกีย่ วกบั ขนาดของไฟลท์ ่ตี อ้ งใชพ้ น้ื ทีใ่ นการจัดเก็บมากกว่าภาพนิ่งหลายเท่า 4. เสียง (Audio) ถกู จัดเกบ็ อยู่ในรปู ของสัญญาณดิจิตอลซึง่ สามารถเล่นซ้ากลับไปกลับมาได้ โดยใช้ โปรแกรมที่ออกแบบ มาโดยเฉพาะสาหรบั ทางานด้านเสียง หากในงานมลั ติมเี ดียมกี ารใช้เสียงท่เี รา้ ใจและ สอดคลอ้ งกบั เน้ือหาใน การนำเสนอ จะชว่ ยใหร้ ะบบมัลติมีเดียนน้ั เกดิ ความสมบรู ณแ์ บบมากยิ่งข้นึ นอกจากน้ี ยังช่วยสรา้ งความน่าสนใจและนา่ ตดิ ตามในเรอ่ื งราวต่างๆ ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ทัง้ นี้เน่ืองจากเสยี งมีอิทธิพลต่อผู้ใช้ มากกว่าขอ้ ความหรือภาพนงิ่ ดงั น้ัน เสยี งจึงเป็นองคป์ ระกอบทจี่ ำเป็นสำหรับมัลตมิ เี ดียซง่ึ สามารถนำเข้าเสียง ผา่ นทางไมโครโฟน แผ่นซีดีดีวดี ี เทป และวิทยุ เป็นตน้ ภาพท่ี 5 อุปกรณส์ ่อื มลั ติมเี ดยี 5.วดี ีโอ (Video) เป็นองค์ประกอบของมลั ตมิ ีเดียทม่ี คี วามสำคญั เป็นอย่างมาก เนื่องจากวิดีโอในระบบ ดจิ ติ อล สามารถ นำเสนอขอ้ ความหรือรูปภาพ (ภาพน่ิงหรือภาพเคลอ่ื นไหว) ประกอบกบั เสียงได้สมบูรณ์ มากกว่าองคป์ ระกอบชนิดอ่ืนๆทม่ี า : http://porschkub.exteen.com/20110818/entry
บทความที่เก่ียวขอ้ ง Youtube (ยูทปู ) คืออะไร ภาพที่ 6 โลโก youtube Youtube คือเวบ็ ไซตท์ ี่ใหบ้ ริการแลกเปลีย่ นภาพวิดีโอระหว่างผูใ้ ช้ได้ฟรี โดยนำเทคโนโลยี ของ Adobe Flash Playerมาใชใ้ นการแสดงภาพวดิ ีโอ โดยผู้ใช้สามารถเข้าดวู ีดโี อตา่ งๆ พรอ้ มทั้งเป็นผู้ อปั โหลดวดี โี อ ผา่ น Youtube ไดฟ้ รี เม่ือสมัครสมาชกิ แล้วผู้ ใชจ้ ะสามารถใสภ่ าพวิดีโอเขา้ ไป แบง่ ปนั ภาพ วิดีโอให้คนอื่นดูดว้ ย แต่หากไมไ่ ดส้ มคั รสมาชกิ ก็สามารถเขา้ ไปเปดิ ดภู าพวิดีโอที่ผใู้ ช้คนอน่ื ๆ ใส่ไว้ใน Youtube ได้ แต่ไมส่ ามารถเปน็ ผู้อัปโหลดวดี ีโอได้ วิดีโอที่สามารถอพั โหลดลงยูทูบได้ ตอ้ งมีความยาวไมเ่ กนิ 15 นาที ยกเว้นวิดโี อจากพาร์ทเนอร์ของ ยูทูบท่ีได้รับอนุญาตจากยทู ูบขนาดของไฟลไ์ มเ่ กิน 2 GB ยทู ูปสามารถรบั file วิดีโอทอ่ี พั โหลดเขา้ มาใน นามสกุลตา่ ง ๆ ได้แก่ .AVI , .MOV, .MP4, .FLV, .DivX รวมทั้งรูปแบบ MPEG , VOB และ .WMV นอกจากน้ยี ังรองรบั ไฟลส์ กุล 3GP ท่ีอพั โหลดเข้ามาทางโทรศัพท์มอื ถืออกี ด้วย ในการรับชมวดี โี อตา่ งๆผ่านยทู ูปนัน้ ผู้ใช้งานสามารถเลอื กชมวิดโี อในโหมดคุณภาพต่างๆ กนั ไดแ้ ก่ standard quality (SQ), high quality (HQ) หรือ high definition (HD) ตามความชอบและตามความ เหมาะสม ของความเรว็ ในการดาวนโ์ หลด โดยการรบั ชมวดิ โี อจากเวบ็ ไซต์ เดมิ ผูช้ มต้องติดตัง้ Adobe Flash Player ลงในเว็บเบราเซอร์จึงจะสามารถดูได้ แต่ในปัจจบุ ัน ยทู บู ไดเ้ ปิดให้บริการเวบ็ เวอร์ชั่นใหม่ ให้สามารถ ชมวดิ ีโอได้ผา่ นเว็บเบราเซอร์ใดๆ ทรี่ องรับมาตรฐาน HTML5 ซงึ่ ทำใหผ้ ูใ้ ชง้ านไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งตดิ ตง้ั Flash Player อกี ต่อไป ปัจจบุ นั ใช้ เทคโนโลยี HTML5 ในการแสดงผลแทน Flash แล้ว
ภาพท่ี 7 ตัวอยา่ ง เวบ็ ไซต์ Youtube โครงการ RPO ประวัติความเป็นมาของ YouTube (ยทู ปู ) YouTube ยูทปู หรือสำเนยี งอเมรกิ นั จะออกว่า ยทู วิ บ์ เป็น เวบ็ ไซตเ์ ผยแพร่วิดโี อโดยมีสำนกั งานอยทู่ แ่ี ซนบรูโน แคลิฟอรเ์ นยี สหรัฐอเมริกา ยูทูปมีผู้ก่อต้ังจากอดีต พนกั งาน เพียงแค่ 3 คนในบรษิ ทั เพย์เพล คอื แชด เฮอรล์ ยี ์ สตีฟ เชน และยาวดี คาริม ในเดือนกุมภาพนั ธ์ 2548 ในเดือนพฤศจกิ ายน 2549 ยูทปู ถูกกูเกิลซ้ือไปในราคา 1.65 พนั ลา้ นเหรียญสหรฐั ยูทูปเป็นหนึง่ ใน บริษทั ย่อยของกูเกิล เวบ็ ไซตย์ งั สามารถใหผ้ ู้ใช้งานสามารถอัปโหลด ดู หรอื แบง่ ปันวดิ โี อได้ YouTube Kids (ยทู ูป คดิ ส)์ แอปพลิเคชนั สำหรบั เดก็ ภาพท่ี 8 YouTube Kids (ยูทูป คิดส์) ปจั จุบนั Youtube เปน็ ท่นี ิยมสำหรับผู้ใชท้ ุกวยั ซงึ่ ยทู ูปใหบ้ รกิ ารความสขุ กบั ผใู้ ช้ในรูปแบบของวิดีโอ โดยไมจ่ ำกัดผูใ้ ชง้ าน อาจจะมวี ิดีโอบางส่วนท่ีมคี วามรุนแรงหรือไม่เหมาะสมกจ็ ะมกี ารกรองวิดโี อกอ่ นเข้าชมได้ ท้ังนีท้ างกูเกลิ จึงเลง็ เหน็ ปญั หาและได้พฒั นาแอปพลเิ คชนั ยูทูปทเ่ี หมาสำหรับเด็กเลก็ 4 ขวบขึ้นไปโดยใช้ช่อื วา่ \"YouTube Kids\" โดยแอปฯน้จี ะรวบรวมสาระการเรยี นรู้ตา่ งทเี่ หมาะสำหรบั เด็กในวยั น้ี ทำให้หมดกงั วล เรอื่ งความรนุ แรงจากวิดโี อท่ัวไปได้ YouTube Kids สามารถดาวห์โหลดได้ทงั้ Google Play (กเู กลิ เพลย)์ และ App Store การออกแบบแอปฯของกูเกลิ สำหรบั เดก็ วยั 4 ขวบถูกสร้างมาเพอ่ื รองรบั การใชง้ านในวยั นี้โดยเฉพาะ ไมว่ ่าจะเปน็ ลกั ษณะการใช้นิ้วเลก็ ของเด็กเพื่อใชง้ านบนหนา้ จอ รวมถงึ ไอคอนขนาดใหญ่ทสี่ ามารถสรา้ งการ
เรยี นรแู้ ละการจดจำได้เปน็ อยา่ งดี สำหรบั เด็กแล้วแน่นอนว่ายงั ไมส่ ามารถพมิ พเ์ พื่อคน้ หาวดิ โี อไดเ้ องซ่ึงแอปฯ น้ีก็จะแสดง วิดีโอลา่ สุดหรือวดิ โี อทีเ่ กีย่ วข้องให้เห็นเพ่อื ใหเ้ ดก็ สามารถใช้เล่นและชมวิดโี อได้อยา่ งต่อเนอ่ื ง ท้งั นี้ผปู้ กครองยังสามารถควบคมุ การใชง้ านของเดก็ ไดด้ ้วยการตั้งค่า ▪ ตัวจบั เวลา กำหนดเวลา เพ่อื แจ้งเตอื นก่อนหมดเวลาใชง้ าน การตัง้ คา่ เสียง กำหนดเสยี งเพื่อการใชง้ านท่ีมคี ุณภาพเชน่ การปดิ เสียงเอฟเฟกต์เ การปิดเสยี งดนตรเี ปน็ ต้น การตงั้ ค่าการคน้ หา กำหนดวิดีโอที่ต้องการใหเ้ ด็กชม โดยจะไมแ่ สดงวดิ ีโอนอกเหนือจากนี้ ดงั นั้น YouTube Kids จงึ ถกู ออกแบบให้เด็กๆ ใชง้ ่าย สีสนั สดใส ปุม่ ใหญ่ ภาพใหญ่ แตก่ ็ยัง รองรบั การค้นหาคลิปดว้ ยเสียงพูด ส่วนเนือ้ หาวิดีโอจะเนน้ ไปทีเ่ น้ือหาสำหรบั เด็ก โดยแบง่ เปน็ 4 หมวด คอื Shows, Music, Learning, Explore New Feature YouTube Studio แนะนำความสามารถ ของ YouTube Studio สามารถจดั การกับชอ่ งวดิ โี อบนยูทูปของตวั เองง่ายๆดว้ ยเครือ่ งมอื ของ YouTube Studio ภาพท่ี 9 YouTube Studio YouTube (ยูทูป) คือผู้ให้บรกิ ารความสุขใหก้ บั ผู้ชมในรปู แบบของวิดโิ อซึ่งวิดโี อเหล่านจ้ี ะถูกสรา้ งสรรค์จาก Creator YouTube หรือบคุ คลท่วั ไปที่สร้าง Chanel (ชาแนล) เปน็ ของตัวเองเพ่ือให้คนอน่ื ไดช้ มวดิ โี อ เม่ือ ชาแนลไดร้ ับความนิยมและมีแฟนๆตดิ ตามจำนวนมากทำใหก้ ารจัดการและบรกิ ารแฟนของช่องอย่างทั่วถงึ อาจจะทำไดย้ ากแตส่ ำหรับ YouTube ได้พัฒนาเครอื่ งมือสำหรับจดั การชอ่ งวิดีโอไดอ้ ย่างงา่ ยได้ เรียกว่า YouTube Studio ซึ่งขณะน้อี ยู่ในช่วงทดสอบการใช้งาน YouTube Studio : studio.youtube.comความสามารถของ New YouTube Studio จดั การชอ่ งด้วยลกั ษณะและเครือ่ งมือ ใหม่ สามารถแก้ไขรายละเอยี ดของแต่ละวดิ โี อได้อยา่ งง่ายดายจากหนา้ จัดการ Videos ภาพที่ 10 แกไ้ ขรายละเอียดของแตล่ ะวิดีโอ
สามารถสลับการใชง้ านวดิ โี อได้ง่ายๆโดยเลอื ก Public Private หรอื Unlisted ไดท้ ่ีแถบ Visibility สามารถ สลับการใช้งานวิดีโอไดง้ า่ ยๆ สามารถจัดเรียงหรือเลื่อนวดิ ีโอท่ีไดร้ บั ความนิยมมากๆ เพื่อการจัดการที่ง่ายข้นึ ภาพท่ี 11 สามารถจัดเรียงหรอื เลอ่ื นวดิ โี อท่ไี ด้ หน้าแสดงวเิ คราะห์ขอ้ มูลรูปแบบใหม่ Analysis ส่วนของยอดวิว ติดตาม ในแต่ละช่วงเวลาหนา้ แสดงกราฟ แหล่งทม่ี าของผเู้ ขา้ ชมได้ เฉลยี่ เปอร์เซ็น ภาพที่ 12 แสดงกราฟแหลง่ ทีม่ าของผู้เข้าชมได้ หน้า interactive content รปู แบบใหม่ แสดงอตั ราการคลิก vdo ปิดทา้ ย Sent Card clicks ( เปน็ feature เกา่ vdo ใหมๆ่ ไมม่ ีใหใ้ ชแ้ ลว้ ) แสดงสถติ ขิ อง playlist เชน่ ยอดวิว จำนวนยอดววิ จดั อนั ดับเพล ลสิ แสดงในรูปแบบกราฟ
ภาพที่ 13 สถิตขิ อง playlist เชน่ ยอดววิ สามารถเลอื กช่วงเวลาในการแสดงกราฟเพือ่ จดั อันดบั และวเิ คราะห์เพลเลิสไดส้ ามารถเลอื กช่วงเวลาในการ แสดงกราฟ หนา้ แสดง Comments กับระบบจัดการทแ่ี สนงา่ ย สามารถตามทกุ คำถามจากแฟนๆได้ทนั ที ภาพท่ี 14 หน้าแสดงวิเคราะห์ขอ้ มูลรูปแบบใหม่ นอกจากน้ยี ังมเี ครื่องมอื อ่ืนๆพันฒนามาใชใ้ น YouTube Studio อีกมายมาย
บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและงานบทความทีเ่ กยี่ วข้อง ในการจดั ทำรายงานโครงการ RPO นักอ่านผ่านออนไลน์ ครงั้ น้ี ผู้จัดทำโครงการไดท้ ำการค้นควา้ เน้อื หาเอกสารการศึกษาและงานบทความที่เกย่ี วขอ้ ง ดงั นี้ 1. ยทุ ธศาสตรแ์ ละจุดเนน้ การดำเนินงาน สำนกั งาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 2. แนวทาง/กลยุทธก์ ารดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ของ กศน.อำเภอ เมืองชลบรุ ี กกกกก 3. กรอบการจดั กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น 4. บทความทีเ่ กยี่ วขอ้ ง 1. ยุทธศาสตร์และจุดเนน้ การดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน.ประจำปีงบประมาณ 2562 วสิ ยั ทศั น์ กกกกกกกกคนไทยได้รบั โอกาสการศกึ ษาและการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ อยา่ งมคี ณุ ภาพ สามารถดำรงชีวิตที่ เหมาะสมกับชว่ งวัย สอดคล้องกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมที กั ษะทจี่ ำเปน็ ในโลกศตวรรษท่ี 21 พนั ธกจิ กกกกกกกก1. จัดและสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ เพ่ือยกระดับ การศึกษา พฒั นาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลมุ่ เปา้ หมายให้เหมาะสมทกุ ช่วงวัย และพร้อมรบั การ เปล่ียนแปลงบรบิ ททางสังคม และสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนร้ตู ลอดชีวิต กกกกกกกก2. สง่ เสริม สนบั สนุน และประสานภาคีเครือขา่ ย ในการมสี ่วนรว่ มจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั และการเรียนรตู้ ลอดชีวิต รวมท้ังการดำเนนิ กิจกรรมของศนู ยก์ ารเรยี นและแหล่ง การเรยี นรอู้ นื่ ในรปู แบบตา่ งๆ กกกกกกกก3. สง่ เสริมและพฒั นาการนำเทคโนโลยที างการศกึ ษา และเทคโนโลยีดิจทิ ัลมาใชใ้ ห้เกดิ ประสิทธภิ าพในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหก้ บั ประชาชนอยา่ งทั่วถงึ กกกกกกกก4. พฒั นาหลักสูตร รปู แบบการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ สอ่ื และนวตั กรรม การวดั และประเมินผล ในทุกรปู แบบให้สอดคลอ้ งกับบรบิ ทในปจั จุบนั กกกกกกกก5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจัดการให้มปี ระสิทธิภาพ เพ่ือมงุ่ จดั การศึกษาและการ เรยี นรทู้ ีม่ คี ุณภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล เปา้ ประสงค์ กกกกกกกก1. ประชาชนผู้ดอ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนทวั่ ไปได้รบั โอกาส ทางการศกึ ษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน การศกึ ษาต่อเนื่องและการศกึ ษา ตามอัธยาศยั ทมี่ ีคณุ ภาพ อยา่ งเทา่ เทยี มและทัว่ ถึง เปน็ ไปตามสภาพ ปัญหา และความต้องการของแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย กกกกกกกก2. ประชาชนไดร้ ับการยกระดบั การศึกษา สรา้ งเสริมและปลกู ฝงั คุณธรรม จริยธรรม และความ เปน็ พลเมอื งอันนำไปสู่การยกระดับคณุ ภาพชีวติ และเสริมสรา้ งความเข้มแข็งให้ชมุ ชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความ มั่นคงและยง่ั ยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ และสงิ่ แวดล้อม
กกกกกกกก3. ประชาชนได้รบั โอกาสในการเรียนรู้และมเี จตคติทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม สามารถคิด วเิ คราะห์ และประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวนั รวมท้ังแก้ปญั หาและพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ได้อย่าง สร้างสรรค์ กกกกกกกก4. ประชาชนไดร้ บั การสร้างและส่งเสริมให้มนี ิสยั รกั การอ่านเพอ่ื การแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง กกกกกกกก5. ชมุ ชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน รว่ มจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดำเนนิ งานการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ังการขบั เคลอ่ื นกจิ กรรมการเรียนรูข้ องชุมชน กกกกกกกก6. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาพฒั นา เทคโนโลยีทางการศกึ ษา เทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาใชใ้ นการ ยกระดับคณุ ภาพในการจดั การเรยี นรู้และเพมิ่ โอกาสการเรียนร้ใู ห้กบั ประชาชน กกกกกกกก7. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาพัฒนาสือ่ และการจดั กระบวนการเรียนรูเ้ พ่ือแก้ปัญหาและพัฒนา คณุ ภาพชวี ิต ทีต่ อบสนองกบั การเปล่ียนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สงั คม การเมอื ง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และส่งิ แวดลอ้ ม รวมทง้ั ตามความต้องการของประชาชน และชมุ ชนในรูปแบบทห่ี ลากหลาย กกกกกกกก8. บุคลากรของหนว่ ยงานและสถานศึกษาไดร้ บั การพัฒนาเพื่อเพิม่ สมรรถนะในการปฏบิ ัติงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ กกกกกกกก9. หนว่ ยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ตวั ชีว้ ัด กกกกกกกก1. จำนวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐานทีไ่ ด้รบั การสนับสนนุ คา่ ใช้จ่าย ตามสิทธิทีก่ ำหนดไว้ กกกกกกกก2. จำนวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการกิจกรรม การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศัยท่ีสอดคล้องกับสภาพ ปญั หา และความตอ้ งการ กกกกกกกก3. จำนวนผู้รับบริการในพ้ืนที่เป้าหมายได้รับการส่งเสริมด้านการรู้หนังสือและการพัฒนาทักษะ ชวี ิต กกกกกกกก4. รอ้ ยละการอา่ นของคนไทยเพิ่มข้นึ กกกกกกกก5. จำนวนนกั เรียนนกั ศกึ ษาทีไ่ ดร้ ับบริการติวเขม้ เต็มความรู้ กกกกกกกก6. จำนวนนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไปท่ีเข้าถึงบริการเรยี นรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ ใน รูปแบบต่าง ๆ กกกกกกกก7. จำนวนประชาชนทไ่ี ดร้ ับการอบรมใหม้ คี วามรู้ ในอาชีพการเกษตรท่ีเหมาะสมกับสภาพบรบิ ท และ ความต้องการของพนื้ ที่/ชุมชน กกกกกกกก8. จำนวนแหล่งเรียนรู้ในระดับตำบลที่มีความพร้อมในการให้บริการการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั กกกกกกกก9. จำนวนทำเนยี บศูนยเ์ รยี นรู้เกษตรพอเพียงของตำบล และจำนวนกล่มุ เกษตรชุมชนดเี ดน่ กกกกกกกก10. จำนวนประชาชนได้รับการอบรมตามหลักสูตรภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารด้านอาชพี (ระยะ ส้ัน) สำหรับประชาชนในศนู ย์อาเซยี นศึกษา กศน. กกกกกกกก11. มีการพัฒนาอุปกรณ์การผลิตและการเผยแพร่ข่าวโทรทัศน์เพื่อการศึกษาสำหรับศูนย์ข่าว โทรทัศนเ์ พอ่ื การศึกษา 1 ระบบ กกกกกกกก12. จำนวนบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการผลิตรายการโทรทัศน์ได้รับการอบรมให้มีความรู้และทักษะใน การปฏบิ ตั งิ านเพ่ือรองรับการปฏิบตั งิ านในสถานีวิทยุโทรทัศนร์ ะบบดิจทิ ัล กกกกกกกก13. จำนวนนักเรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนทวั่ ไปทเี่ ข้าถึงบริการความรูน้ อกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ผา่ นชอ่ งทางสอื่ เทคโนโลยที างการศกึ ษา และเทคโนโลยกี ารสอ่ื สาร
กกกกกกกก14. จำนวนรายการโทรทัศน์/CD/แอพพลเิ คชั่น ในการให้ความร้ดู ้านการเกษตร กกกกกกกก15. จำนวน/ประเภทของสื่อท่ีมีการจัดทำ/พัฒนาและนำไปใช้เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน/ ผรู้ บั บรกิ ารการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กกกกกกกก16. ร้อยละของหน่วยงาน และสถานศึกษา กศน. ท่ีมีการใช้ระบบเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดทำ ฐานข้อมูลชมุ ชนและการบริหารจัดการ เพ่ือสนับสนุนการดำเนินงานการศกึ ษานอกระบบ และการศึกษาตาม อัธยาศยั ขององค์การ กกกกกกกก17. จำนวนระบบฐานขอ้ มลู กลางด้านการศึกษาของประเทศทไี่ ดร้ ับการพัฒนาให้ทันสมัยและเป็น ปัจจบุ ันกกกกกกกก กกกกกกกก18. จำนวนผู้ผา่ นการอบรมตามหลักสูตรท่กี ำหนดของโครงการสร้างเครอื ข่ายดิจิทัลชุมชนระดับตำบล กกกกกกกก19. รอ้ ยละของตำบล/แขวง มีปริมาณขยะลดลง กกกกกกกก20. จำนวนบุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพื่อเพ่ิมสมรรถนะในการ ปฏิบัติงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กกกกกกกก21. ร้อยละของสถานศึกษาในสังกัดท่ีมีระบบประกันคุณภาพภายในและมีการจัดทำรายงานการประเมิน ตนเอง กกกกกกกก22. จำนวนองค์กรภาคสว่ นต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ ทร่ี ่วมเป็นภาคีเครอื ข่ายในการดำเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ กกกกกกกก1. รอ้ ยละที่เพิ่มข้ึนของคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ โรงเรียน (N-NET) กกกกกกกก2. รอ้ ยละของกำลงั แรงงานท่ีสำเร็จการศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ หรือเทียบเท่า ได้รับการศกึ ษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายหรือเทียบเท่า กกกกกกกก3. ร้อยละของนกั เรียน/นักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนในวชิ าที่ไดร้ ับบริการติวเขม้ เติมเต็มความรู้ เพ่มิ สงู ขึ้น กกกกกกกก4. รอ้ ยละผู้จบหลกั สูตร/กจิ กรรมการศึกษานอกระบบท่ีสามารถนำความรู้ความเข้าใจไปใชไ้ ด้ตาม จดุ มุ่งหมายของหลักสูตร/กิจกรรมท่ีกำหนด กกกกกกกก5. ร้อยละของผู้เข้ารว่ มกิจกรรมที่สามารถอ่านออกเขียนได้และคิดเลขเปน็ เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของ กจิ กรรม กกกกกกกก6. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ลงทะเบียนเรยี นที่มีรายได้เพ่มิ ข้นึ จากการพัฒนาอาชีพตาม โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชน กกกกกกกก7. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเฉพาะกจิ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้รบั การพัฒนาศักยภาพ ทักษะอาชพี สามารถมีงานทำหรือนำไปประกอบอาชพี ได้ กกกกกกกก8. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ผี ่านการอบรมตามหลักสูตรภาษาองั กฤษเพือ่ การสื่อสารด้าน อาชพี (ระยะสั้น) มีความรูใ้ นการส่ือสารภาษาองั กฤษ และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชวี ิตได้ กกกกกกกก9. จำนวนครู กศน. ต้นแบบการสอนภาองั กฤษเพ่ือการส่ือสารท่ีสามารถเปน็ วิทยากรแกนนำได้ กกกกกกกก10. รอ้ ยละของครู กศน. ทั่วประเทศ ท่ีสามารถจัดกระบวนการเรยี นร้ภู าษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสารได้ อย่างสอดคล้องกับบริบทของผู้เรยี น กกกกกกกก11. รอ้ ยละของผเู้ ขา้ รับการอบรมหลักสูตรการดูแลผู้สูงอายุกระทรวงศกึ ษาธิการ ผ่านเกณฑ์การอบรม ตามหลักสูตรที่กำหนด
กกกกกกกก12. ร้อยละของหนว่ ยงานและสถานศกึ ษา กศน. ที่สามารถดำเนนิ งานโครงการ/กิจกรรมตามบทบาท ภารกจิ ท่ีรับผดิ ชอบได้สำเร็จตามเป้าหมายทก่ี ำหนดไวอ้ ยา่ งโปรง่ ใส ตรวจสอบได้ โดยใช้ทรพั ยากรอย่างคมุ้ ค่า/ตาม แผนที่กำหนดไว้ กกกกกกกก13. ร้อยละของคะแนนการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสของการดำเนนิ งานของหน่วยงาน นโยบายเร่งด่วนเพอื่ รว่ มขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ 1. ยุทธศาสตร์ด้านความมัน่ คง กกกกกกกก1. สง่ เสริมการจัดการเรียนร้ตู ามพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษาของ รัชกาลที่ 10 1.1 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความเป็นพลเมืองดี เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและ หลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ์ รวมท้ังสงั คมพหุวฒั นธรรม 1.2 สง่ เสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีปลกู ฝงั คุณธรรม สร้างวนิ ัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ์ ความยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติ รวมท้ังการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอ่ืนๆ ตลอดจนสนบั สนุนให้มีการจัดกจิ กรรมเพื่อปลกู ฝังคณุ ธรรม จริยธรรมใหก้ ับบคุ ลากรในองคก์ ร กกกกกกกก2. พัฒนาการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ในเขตพืน้ ท่ีพิเศษ 2.1 เขตพฒั นาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ และพืน้ ท่ชี ายแดน กก 2.1.1 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มี ความสอดคล้องกบั บริบทของสังคม วัฒนธรรม และพืน้ ที่ เพ่ือสนับสนุนการแก้ไขปญั หาและพฒั นาพืน้ ที่ กกก2.1.2 เร่งจัดทำแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยท่ีชัดเจนสำหรับหน่วยงานและ สถานศึกษา รวมท้ังบุคลากรที่ปฏิบัติงานในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษ โดยบูรณาการแผนและปฏิบัติงานร่วมกับ หนว่ ยงานความม่ันคงในพืน้ ที่ กกก2.1.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ในสถาบันศึกษาปอเนาะ ในรูปแบบต่างๆ ท่ีหลากหลายตรงกับความต้องการของผู้เรียน อาทิ การเพ่ิมพูนประสบการณ์ การเปิดโลกทัศน์ การยึดมั่นในหลักคุณธรรมและสถาบันหลกั ของชาติ กกก2.1.4 สนับสนุนให้มีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับทุกประเภทให้มีสมรรถนะท่ีสูงขึ้น เพ่ือให้ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 2.2 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ และพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก โดยส่งเสริมการ จัดการศึกษาเพ่ือยกระดับการศึกษาและพัฒนาศักยภาพประชาชน สร้างงานและพัฒนาอาชีพที่เป็นไป ตามบริบทและความตอ้ งการของประชาชนในพ้ืนที่ 2. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการพัฒนากำลงั คน การวิจัย และนวัตกรรมเพื่อสรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน ของประเทศ กกกกกกกก1. ขับเคล่ือน กศน. สู่ “Smart ONIE” ในการจัดการศึกษาและการเรยี นรูท้ เี่ สริมสรา้ งศกั ยภาพ ของประชาชนใหส้ อดคลอ้ งกับการพฒั นาประเทศ 1.1 พัฒนาความรู้ความสามารถ ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของครูและบุคลากร และขยายผล ไปยังการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของประชาชนในรูปแบบต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม เช่น Boot Camp หลักสูตร ภาษาอังกฤษ การจัดหลกั สูตรภาษาเพื่ออาชีพ 1.2 พัฒนาทักษะการใช้ Social Media เพื่อการจัดการเรียนการสอน ของครูและบุคลากร ทางการศึกษา
1.3 พัฒ นาระบบเชื่อมโยงฐานข้อมูลด้านการศึกษา กับระบบฐานข้อมูลกลางของ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เพือ่ การบรหิ ารจัดการและบรู ณาการข้อมลู ของประชาชนอย่างเป็นระบบ 1.4 พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อช่วยในการบริหารจัดการอย่างเต็มรูปแบบ ทั้งระบบ E- office ระบบการจดั ทำแผน ระบบการรายงานผลการดำเนินงาน กกกกกกกก2. พฒั นากำลงั คนใหเ้ ป็น “Smart Digital Persons (SDPs)” ท่ีมีทักษะดา้ นดิจิทัลเพ่ือรองรับการ พัฒนาประเทศ 2.1 พัฒนาความรู้และทักษะด้าน Digital ให้กับครูและบุคลากร กศน.ในการใช้เทคโนโลยีเพ่ือ การจัดการเรยี นการสอน 2.2 ส่งเสริมการจัดการเรยี นรู้ด้าน Digital เพื่อให้ประชาชน มีความรู้พื้นฐานด้าน Digital และ ความรู้เรื่องกฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ สำหรับการใช้ประโยชน์ ในชวี ิตประจำวัน รวมทง้ั การพัฒนาและการเข้าสู่อาชพี 2.3 สร้างความรคู้ วามเข้าใจและทักษะพื้นฐานใหก้ ับประชาชน เกี่ยวกับการทำธุรกิจและการค้า ออนไลน์ (พาณิชยอ์ เิ ล็กทรอนิกส์) เพ่อื ร่วมขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจดจิ ิทัล 3. ยุทธศาสตรด์ า้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศกั ยภาพคนใหม้ ีคณุ ภาพ กกกกกกกก1. เตรียมความพรอ้ มการเข้าสสู่ ังคมผู้สงู อายอุ ยา่ งมคี ุณภาพ (Smart Aging Society) 1.1 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้กับประชาชนเพื่อสร้างตระหนักถึงการเตรียมพร้อมเข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุ (Ageing Society) มีความเข้าใจในพัฒนาการของช่วงวัย รวมทั้งเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการดูแล รบั ผดิ ชอบผสู้ ูงอายุในครอบครวั และชมุ ชน 1.2 พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรู้สำหรับประชาชนในการเตรียมความพร้อม เขา้ ส่วู ยั สูงอายทุ ี่เหมาะสมและมีคุณภาพ 1.3 จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชวี ิต ให้สามารถดแู ลตนเองท้ังสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิต และรจู้ กั ใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยี 1.4 สร้างความตระหนักถึงคุณค่าและศักด์ิศรีของผู้สงู อายุ เปิดโอกาสให้มกี ารเผยแพร่ภูมิปัญญาของ ผู้สูงอายุ และใหม้ ีสว่ นรว่ มในกิจกรรมด้านตา่ งๆ ในชมุ ชน เช่น ดา้ นอาชีพ กีฬา ศาสนาและวฒั นธรรม กกกกกกกก2. ส่งเสรมิ การจดั การเรยี นรดู้ ้านเกษตรกรรม (Smart Farmer : เกษตรกรปราดเปร่ือง) ส่งเสริม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมในการจดั กระบวนการเรียนรู้ด้านเกษตรกรรมที่เหมาะกับบรบิ ทของ พ้ืนท่ีและความต้องการของชุมชน รวมท้งั การเพมิ่ มูลค่าสินค้าทางการเกษตร และสร้างชอ่ งทางการจำหน่ายสินค้า ผ่านชอ่ งทางตา่ งๆ โดยตระหนกั ถงึ คุณภาพของผลผลติ ความปลอดภัยต่อระบบนิเวศน์ ชมุ ชน และผู้บรโิ ภค กกกกกกกก3. ส่งเสริมให้มีการจัดการเรียนการสอนแบบ “สะเตม็ ศกึ ษา” (STEM Education) สำหรับ นกั ศกึ ษาและประชาชน โดยบรู ณาการความรดู้ ้านวทิ ยาศาสตร์ ควบคู่กบั เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และ คณติ ศาสตร์ เพอื่ ประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั พัฒนาทักษะชวี ิตสูก่ ารประกอบอาชีพ กกกกกกกก4. เพ่มิ อตั ราการอ่านของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่างๆ เชน่ อาสาสมัครสง่ เสริมการอ่าน หอ้ งสมุดประชาชน บ้านหนังสอื ชมุ ชน ห้องสมดุ เคล่อื นที่สำหรับชาวตลาด ตาม พระราชดำริของสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพ่ือใหป้ ระชาชนมีความสามารถในระดบั อ่าน คล่อง เขา้ ใจความ คิดวิเคราะห์พื้นฐาน และสามารถรบั รู้ขอ้ มูลข่าวสารท่ีถูกต้องและทันเหตกุ ารณ์ รวมท้ังนำความรู้ ทไ่ี ด้รบั ไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบตั ิจรงิ กกกกกกกก5. ศนู ย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน สู่ “วิสาหกจิ ชุมชน : ชมุ ชนพ่ึงตนเอง ทำได้ ขายเปน็ ”
5.1 ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความต้องการของ ตลาด รวมท้ังสร้างเครือข่ายการรวมกลุ่มในลักษณะวิสาหกิจชุมชน สร้างรายได้ให้กับชุมชน ให้ชุมชนพึ่งพา ตนเองได้ 5.2 ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้า การทำช่องทางเผยแพร่และ จำหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ของวิสาหกจิ ชมุ ชนใหเ้ ป็นระบบครบวงจร กกกกกกกก6. จดั กระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางเกษตรธรรมชาตสิ กู่ ารพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมอย่างยั่งยนื 6.1 พฒั นาบุคลากรและแกนนำเกษตรกรในการเผยแพร่และจดั กระบวนการเรยี นรู้ตามแนวทาง เกษตรธรรมชาติสู่การพฒั นาอาชพี เกษตรกรรม 6.2 จดั ตง้ั ศนู ย์การเรยี นรตู้ ้นแบบระดับตำบลด้านเกษตรธรรมชาติส่กู ารพฒั นาอาชีพเกษตรกรรม เพอื่ ถา่ ยทอดความร้ดู ้านเกษตรธรรมชาตสิ ่กู ารพฒั นาอาชีพเกษตรกรรมให้กับชมุ ชน 6.3 ส่งเสริมให้มีการบูรณาการระหว่าง ศฝช. และ กศน.อำเภอ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามแนวทางเกษตรธรรมชาติสกู่ ารพัฒนาอาชพี เกษตรกรรมให้กับประชาชน 4. ยุทธศาสตร์ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา กกกกกกกก1. ส่งเสริมการนำระบบคูปองการศึกษา มาใชเ้ พื่อสร้างโอกาสในการเข้าถึงบรกิ ารการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั ทีส่ อดคล้องกับความต้องการของประชาชนผูร้ ับบรกิ าร กกกกกกกก2. สร้างกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบ E-learning MOOC ท่ีใช้ระบบเทคโนโลยีเข้ามาบริหาร จัดการเรยี นรู้ เพอื่ เป็นการสรา้ งและขยายโอกาสในการเรยี นร้ใู หก้ ับกลุ่มเปา้ หมายไดส้ ะดวก รวดเร็ว ตรงตาม ความต้องการของประชาชนผู้รับบริการ กกกกกกกก3. เพมิ่ อัตราการรู้หนงั สอื และยกระดับการรูห้ นงั สือของประชาชน 3.1 เร่งจดั การศกึ ษาเพอ่ื เพ่มิ อัตราการรู้หนงั สอื และคงสภาพการรู้หนงั สือ ให้ประชาชนสามารถ อ่านออก เขียนได้ และคดิ เลขเปน็ โดยใช้ส่อื และกระบวนการทีเ่ หมาะสมกับสภาพพ้นื ทีแ่ ละกลุม่ เป้าหมาย 3.2 ยกระดับการรู้หนังสือของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒ นาทักษะการรู้หนังสือ ในรปู แบบต่างๆ รวมทั้งทกั ษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่อื เป็นเครอื่ งมอื ในการเรียนรูต้ ลอดชวี ติ ของประชาชน กกกกกกกก4. ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจำการให้จบการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน สามารถนำความร้ทู ่ไี ดร้ ับไปพัฒนาตนเองได้อย่างตอ่ เนอ่ื ง กกกกกกกก5. พลิกโฉม กศน. ตำบล สู่ “กศน.ตำบล 4 G” 5.1 พัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ : Good Teacher ใหเ้ ปน็ ตัวกลางในการเชือ่ มโยงความรู้กับผู้รับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิตบรกิ าร มีความรอบรู้และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม เป็นผ้จู ัดกิจกรรมการเรียนรู้และบริหารจัดการความรู้ที่ดี รวมทั้งเป็นผู้ปฏบิ ตั ิงานอย่างมคี วามสุข 5.2 พัฒนา กศน.ตำบล ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง : Good Place Best Check-In มีความพร้อมในการให้บริการการศึกษาและการเรียนรู้ มีสิ่งอำนวยความ สะดวก เป็นแหล่งข้อมูลสาธารณะที่ง่ายต่อการเข้าถึง และสะดวกต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างสร้างสรรค์ ดงึ ดดู ความสนใจ และมีความปลอดภยั สำหรับผรู้ ับบริการ 5.3 ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใน กศน.ตำบล : Good Activities ให้มีความหลากหลาย นา่ สนใจ ตอบสนองความต้องการของชุมชน เพ่ือพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชน รวมทั้งเปิดโอกาส ใหช้ ุมชนเขา้ มาจดั กจิ กรรมเพ่อื เชอื่ มโยงความสมั พนั ธ์ของคนในชมุ ชน
5.4 เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือขา่ ยทั้งภาครฐั ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการมีส่วนร่วมของชุมชน : Good Partnership เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความร่วมมือในการ สง่ เสรมิ สนับสนุน และจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ใหก้ บั ประชาชนอยา่ งมีคุณภาพ 5. ยุทธศาสตรด์ ้านส่งเสริมและจัดการศึกษาเพอื่ เสรมิ สร้างคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อม กกกกกกก 1. สง่ เสรมิ ให้มีการให้ความรกู้ ับประชาชนเก่ยี วกับการป้องกันผลกระทบและปรับตวั ตอ่ การเปลีย่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศและภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติ กกกกกกกก2. สร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างสังคมสีเขียว การกำจัดขยะและมลพิษในเขต ชุมชน กกกกกกกก3. ส่งเสรมิ ให้หนว่ ยงานและสถานศึกษาใช้พลงั งานท่ีเปน็ มิตรกับสงิ่ แวดลอ้ ม รวมท้ังลดการใช้ ทรพั ยากรท่ีสง่ ผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อม 6. ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการ กกกกกกกก1. พัฒนาระบบฐานขอ้ มลู สารสนเทศด้านการศกึ ษาเพือ่ การบรหิ ารจัดการอยา่ งเปน็ ระบบ กกกกกกกก2. ส่งเสริมการใช้ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E-office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการ ลา ระบบสารบรรณอิเลก็ ทรอนิกส์ ระบบการขอใช้รถราชการ ระบบการขอใช้หอ้ งประชมุ เป็นต้น กกกกกกกก3. สง่ เสรมิ การพัฒนาบุคลากรทุกระดบั ใหม้ คี วามรูแ้ ละทักษะตามมาตรฐานตำแหนง่ ให้ตรงกับ สายงานหรอื ความชำนาญ ภารกจิ ตอ่ เน่ือง กกกกกกกก1. ด้านการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน กกก1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยดำเนินการให้ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนค่าจัดซ้ือตำราเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และ ค่าเล่าเรียนอย่างทั่วถงึ และเพียงพอเพอื่ เพิม่ โอกาสในการรับการศกึ ษาทมี่ คี ุณภาพโดยไม่เสียคา่ ใช้จ่าย กกก2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และ ขาดโอกาสทางการศึกษา ทั้งระบบการให้บริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวัดและประเมินผลการเรียน ผ่านการเรยี นแบบเรียนรูด้ ้วยตนเอง การพบกล่มุ การเรียนแบบช้ันเรียน และการจดั การศกึ ษาทางไกล กกก3) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ที่มีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กำหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของ กล่มุ เปา้ หมายไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ กกก4) ส่งเสริมให้ผู้เรียนต้องเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต เพ่ือดำเนินกิจกรรม เสริมสร้างความสามัคคี ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด บำเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเน่ือง และส่งเสริม การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เช่น กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และ ยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา การจดั ตั้งชมรม/ชุมนุม และเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนนำกิจกรรมการบำเพ็ญประโยชน์อนื่ ๆ นอกหลกั สตู ร มาใช้เพ่มิ ช่วั โมงกิจกรรมให้ผ้เู รียนจบตามหลักสูตรได้ กกก5) จัดการศึกษาเพื่อเพ่ิมอัตราการรู้หนังสือให้คนไทยให้สามารถอ่านออกเขียนได้ โดยใช้ หลักสูตรการรู้หนังสือไทย พุทธศักราช 2557 ของสำนักงาน กศน. และส่ือที่เหมาะสมกับสภาพและพื้นที่ของ กลมุ่ เป้าหมาย 1.2 การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง
กกก1) จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำอย่างยั่งยืน โดยให้ความสำคัญกับการจัดการศึกษา อาชพี เพื่อการมงี านทำ และอาชพี ท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรยี นและศักยภาพของแต่ละพ้นื ท่ี กกก2) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยจัดกิจกรรมการศึกษา ในรูปแบบต่างๆ อาทิ ค่ายพัฒนาทักษะชีวิต การจัดต้ังชมรม/ชุมนุม การส่งเสริมความสามารถพิเศษต่าง ๆ ท่ี มุ่ งเน้ น ให้ ทุ ก กลุ่ ม เป้ าห มายมี ความ รู้ ความ สาม ารถใน ก ารบ ริ ห ารจั ดการชี วิ ตขอ งตน เองให้ อ ยู่ ใน สั งคม ไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม รวมทงั้ สามารถใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ตอ่ ตนเอง ครอบครัว และชุมชน กกก3) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบบูรณาการในรูปแบบของการฝึกอบรม การเรียนทางไกล การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัดกิจกรรมจิตอาสา การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของ ชุมชนแต่ละพ้ืนที่ โดยเน้นการดำเนินตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การสร้างจิตสำนึกความเป็น ประชาธปิ ไตย ความเปน็ พลเมอื งดี การบำเพญ็ ประโยชน์ การอนุรกั ษพ์ ลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม กกก4) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เพื่อสร้างจิตสำนึกและวินัยในชุมชน เช่น การส่งเสริมคุณธรรม และจริยธรรมในชุมชน การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของชุมชน การจัดกิจกรรมจิตอาสา ศนู ย์เรียนร้หู ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบล กกก5) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตสำหรับคนพิการอย่างมีคุณภาพสอดคล้องกับความ ต้องการจำเป็นพิเศษของแต่ละบุคคล และมีทักษะการดำรงชีวิตตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได้ เต็มศักยภาพอย่างมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์บนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมท้ังสร้างความ ตระหนกั ถงึ คุณคา่ และศกั ดิ์ศรีของผู้ด้อยโอกาสให้สามารถอยใู่ นสงั คมได้อย่างมีศักดิ์ศรีความเปน็ มนุษย์ 1.3 การศกึ ษาตามอัธยาศัย กกก1) ส่งเสริมให้มีการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในระดับตำบล เพ่ือการถ่ายทอดองค์ความรู้ และจัด กิจกรรมเพ่ือเผยแพร่องค์ความรู้ในชมุ ชนได้อย่างทว่ั ถงึ กกก2) จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้เพ่ือปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน และพัฒนาความสามารถ ในการอา่ นและศักยภาพการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย กกก3) ส่งเสริมให้มีการสร้างบรรยากาศ และสิ่งแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการอ่านให้เกิดข้ึนในสังคมไทย โดยสนับสนนุ การพัฒนาแหล่งการเรียนร้ใู ห้เกิดขึ้นอย่างกวา้ งขวางและทว่ั ถงึ เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุกแห่ง ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่าย ส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการเคล่ือนที่พร้อมอุปกรณ์เพื่อส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ท่ีหลากหลายออก ให้บริการประชาชนในพื้นท่ีต่าง ๆ อย่างทั่วถึง สม่ำเสมอ รวมท้ังเสริมสร้างความพร้อมในด้านสื่ออุปกรณ์เพ่ือ สนับสนนุ การอ่าน และการจดั กจิ กรรมเพอื่ สง่ เสริมการอ่านอยา่ งหลากหลาย กกก 4) จัดสร้างและพัฒนาศนู ย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหลง่ เรยี นรู้วิทยาศาสตรต์ ลอด ชวี ิตของประชาชนและเป็นแหล่งท่องเท่ียวประจำท้องถิ่น โดยจัดสร้างและพัฒนานิทรรศการ พัฒนาสื่อที่สรา้ ง แรงบนั ดาลใจสูง และจัดกจิ กรรมการศกึ ษาทเ่ี นน้ การเสริมสร้างความรู้ สอดแทรกวธิ ีการคิดแบบวิทยาศาสตร์ การ ฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ โดยบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคกู่ ับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ อย่างสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง บริบทของของชมุ ชน ประเทศ รวมทง้ั การเปลีย่ นแปลงระดับภูมิภาคและระดับโลก เพือ่ ให้ประชาชนมีความรู้ มี ความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ มีทักษะที่จำเป็นในโลกศตวรรษที่ ๒๑ มีความสามารถในการปรับตวั รองรับ การผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถนำความรู้และทักษะไป
ประยกุ ต์ใช้ในการดำเนนิ ชวี ติ การพัฒนาอาชีพ การรกั ษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติทาง ธรรมชาตกิ กกกกก 2. ด้านหลักสูตร สือ่ รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล งานบรกิ ารทาง วชิ าการ และการประกันคุณภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมท้ังหลักสูตรท้องถ่ินที่สอดคล้องกับ สภาพบริบทของพน้ื ท่ี และความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและชุมชน 2.2 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัยด้วยระบบห้องเรียนและการควบคุม การสอบออนไลน์ 2.3 พัฒนาระบบการประเมินเพ่ือเทยี บระดบั การศึกษา และการเทียบโอนความรแู้ ละประสบการณ์ ใหม้ ีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตอ้ งการของกล่มุ เป้าหมายได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ 2.4 ส่งเสริมการพัฒนาส่ือแบบเรียน สื่ออิเล็กทรอนิกส์และส่ืออื่นๆ ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ของผู้เรียนกล่มุ เป้าหมายทวั่ ไปและกลุ่มเป้าหมายพิเศษ 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตรใน ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให้ได้มาตรฐาน โดยการนำแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Exam) มาใช้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 2.6 ส่งเสริมและสนบั สนนุ การศึกษาวจิ ัย พัฒนาหลักสูตร รปู แบบการจดั กระบวนการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือให้มีการนำไปสู่การปฏิบัติอย่างกว้างขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับบริบทอย่าง ต่อเน่อื ง 2.7 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพ่ือพร้อมรับการประเมิน คุณภาพภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของระบบการประกัน คุณภาพ และสามารถดำเนินการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างต่อเน่ืองโดยใช้การประเมินภายใน ด้วยตนเอง และจัดให้มีระบบสถานศึกษาพ่ีเล้ียงเข้าไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สำหรับสถานศึกษาที่ยังไม่ได้เข้ารับ การประเมนิ คุณภาพภายนอก ใหพ้ ัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาใหไ้ ด้คุณภาพตามมาตรฐานท่ีกำหนด กกกกกกกก3. ด้านเทคโนโลยีเพอ่ื การศึกษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาให้เชื่อมโยงและตอบสนองต่อ การจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาเพ่ือกระจายโอกาสทางการศึกษา สำหรับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ ให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ท่ีหลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองให้ รู้เท่าทันสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสื่อสาร เช่น รายการพัฒนาอาชีพเพ่ือการมีงานทำ รายการติวเข้ม เติมเต็มความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยุโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และทางอนิ เทอรเ์ น็ต 3.2 พัฒนาช่องทางการเผยแพร่การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ผา่ นระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารแบบออนไลน์ เพ่ือส่งเสริมให้ครู กศน. นำเทคโนโลยีสารสนเทศและ การส่อื สารมาใช้ในการสร้างกระบวนการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษา และสถานีโทรทัศน์เพ่ือการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และ การออกอากาศให้กล่มุ เป้าหมายสามารถใชเ้ ป็นชอ่ งทางการเรียนรู้ที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวติ โดยขยาย เครือข่ายการรบั ฟังให้สามารถรบั ฟังได้ทกุ ที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ และเพิ่มช่องทางให้สามารถรับชม
รายการโทรทัศน์ได้ทั้งระบบ Ku - Band , C - Band และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมท่ีจะรองรับการพัฒนาเป็นสถานี วทิ ยุโทรทัศนเ์ พอ่ื การศกึ ษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการให้บริการส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาให้ได้หลายช่องทางทั้งทางอินเทอร์เน็ต และรูปแบบอื่น ๆ เช่น Application บนโทรศัพท์เคล่ือนที่ และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP3 เป็นต้น เพ่อื ใหก้ ลุ่มเป้าหมายสามารถเลอื กใช้บริการเพอ่ื เข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรยี นร้ไู ด้ตามความต้องการ 3.5 สำรวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอย่างต่อเน่ือง และนำผลมาใช้ ในการพัฒนางานให้มีความถูกต้อง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน ไดอ้ ย่างแท้จริง กกกกกกกก4. ด้านโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดำริ หรือโครงการอันเกี่ยวเน่อื งจากราชวงศ์ 4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ หรือโครงการอัน เกี่ยวเน่ืองจากราชวงศ์ 4.2 จัดทำฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน. ท่ีสนองงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ หรือโครงการอันเก่ียวเน่ืองจากราชวงศ์ ท่ีสามารถนำไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและ การพัฒนางานไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ เพือ่ ให้เกดิ ความเข้มแขง็ ในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 4.4 พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” ให้มีความพร้อมในการจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยตามบทบาทหน้าท่ที ่ีกำหนดไว้อย่างมีประสิทธภิ าพ 4.5 จัดและส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพื้นท่ีสูง ถนิ่ ทรุ กนั ดาร และพนื้ ที่ชายขอบ กกกกกกกก5. ดา้ นการศกึ ษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ้นื ทเี่ ขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ และพืน้ ทีบ่ ริเวณชายแดน 5.1 พฒั นาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ กกก1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ท่ีตอบสนองปัญหา และความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายรวมทงั้ อตั ลักษณ์และความเป็นพหุวัฒนธรรมของพ้นื ที่ กกก2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานอย่างเข้มข้นและต่อเนื่อง เพ่ือให้ผูเ้ รียนสามารถนำความรู้ที่ไดร้ ับไปใช้ประโยชน์ได้จรงิ กกก3) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดให้มีมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยแก่บุคลากรและ นักศกึ ษา กศน. ตลอดจนผู้มาใช้บรกิ ารอย่างท่วั ถงึ 5.2 พฒั นาการจัดการศึกษาแบบบูรณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ กกก1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการจัดทำแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์และ บรบิ ทของแต่ละจังหวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ กกก2) จัดทำหลักสูตรการศึกษาตามบริบทของพ้ืนที่ โดยเน้นสาขาท่ีเป็นความต้องการของตลาด ให้ เกดิ การพัฒนาอาชีพไดต้ รงตามความตอ้ งการของพื้นท่ี 5.3 จัดการศึกษาเพื่อความม่ันคงชายแดนของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน (ศฝช.) กกก1) พัฒนาศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน ให้เป็นศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ต้นแบบด้านเกษตรกรรม เป็นศูนย์สาธิตการประกอบอาชีพ ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนว พระราชดำริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง สำหรบั ประชาชนตามแนวชายแดนด้วยวิธกี ารเรยี นรู้ทห่ี ลากหลาย
กกก2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพ โดยใช้วิธีการหลากหลาย ใช้รูปแบบเชิงรุกเพื่อการเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจัดอบรมแกนนำด้านอาชีพ ที่เนน้ เร่อื งเกษตรธรรมชาติที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนชายแดน ให้แกป่ ระชาชนตามแนวชายแดน กกกกกกกก6. ด้านบุคลากร ระบบการบรหิ ารจัดการ และการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน 6.1 การพัฒนาบุคลากร กกก1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง ทั้งก่อน และระหว่างการดำรงตำแหน่งเพ่ือให้มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการ การดำเนินงานของหน่วยงานและสถานศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังส่งเสริมให้บุคลากรในสังกัดพัฒนา ตนเองเพ่ือเล่อื นตำแหนง่ หรอื เล่ือนวิทยฐานะโดยเนน้ การประเมินวิทยฐานะเชิงประจักษ์ กกก2) พัฒนาหัวหน้า กศน. ตำบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสูงข้ึนในการบริหารจดั การ กศน. ตำบล/แขวง และการปฏิบัติงานตามบทบาทภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการเป็นนักจัดการความรู้และผู้อำนวย ความสะดวกในการเรียนรู้เพอื่ ให้ผ้เู รียนเกิดการเรียนรู้ทมี่ ีประสิทธิภาพอย่างแท้จริง กกก3) พัฒนาครู กศน. และผู้ที่เกี่ยวข้องให้สามารถจัดรูปแบบการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทำแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และการวจิ ัยเบอ้ื งตน้ กกก4) ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ กศน. ตำบล/แขวง เพื่อการมีส่วนร่วมใน การบรหิ ารการดำเนินงานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน. ตำบล/แขวง อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ กกก5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ที่รับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถและมีความเป็นมืออาชพี ในการจัดบริการสง่ เสริมการเรียนรู้ตลอดชวี ติ ของประชาชน กกก6) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ให้สามารถทำหน้าท่ีเป็นผู้จัด ส่งเสริมและสนับสนุนการจัด การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ กกก7) เสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือข่ายท้ังในและต่างประเทศ ในทุกระดับเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานร่วมกัน โดยจัดให้มีกิจกรรมการพัฒนาสมรรถนะ และเสริมสร้าง ความสัมพันธร์ ะหวา่ งบุคลากร และภาคเี ครอื ข่ายในรปู แบบท่ีหลากหลายอย่างต่อเน่ือง 6.2 การพฒั นาโครงสร้างพนื้ ฐานและอัตรากำลัง กกก1) จัดทำแผนการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและดำเนินการปรับปรุงสถานท่ี และวัสดุอุปกรณ์ ให้มีความพร้อมในการจัดการศึกษา กกก2) บริหารอัตรากำลังที่มีอยู่ท้ังในส่วนที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ให้เกิด ประสิทธภิ าพสงู สุดในการปฏิบตั งิ าน กกก3) แสวงหาภาคีเครือข่ายในท้องถ่ินเพื่อการมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมท้ังระดมทรัพยากรเพ่ือนำมาใช้ในการปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐาน ใหม้ คี วามพรอ้ มสำหรบั ดำเนนิ กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ของประชาชน 6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ กกก1) เรง่ ผลกั ดันใหม้ ีการประกาศใชก้ ฎหมายว่าดว้ ยการศกึ ษาตลอดชวี ิต กกก2) เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกำกับ ควบคุม และ เรง่ รดั การเบกิ จา่ ยงบประมาณใหเ้ ป็นตามเป้าหมายท่ีกำหนดไว้ กกก3) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันท่ัวประเทศ อย่างเป็นระบบเพื่อให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนำไปใช้เป็นเครื่องมือสำคัญในการบริหาร การ
วางแผน การปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล และการนำผลมาพัฒนาการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง ตามวงจร คณุ ภาพเดมมงิ่ (PDCA) รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างมีประสิทธิภาพ กกก4) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และ เช่ือมโยงกันท่ัวประเทศ สามารถสืบค้นและสอบทานได้ทันความต้องการเพ่ือประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับ ผเู้ รียนและการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ กกก5) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมทั้งการศึกษาวิจัย เพื่อสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดำเนินงานที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและ ชุมชนพรอ้ มทง้ั พัฒนาขดี ความสามารถเชิงการแข่งขันของหนว่ ยงานและสถานศึกษา กกก6) สร้างความร่วมมือของทุกภาคส่วนทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในการพัฒนาและส่งเสริม การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรยี นรู้ตลอดชีวติ 6.4 การกำกบั นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผล กกก1) สร้างกลไกการกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดำเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้เช่ือมโยงกบั หนว่ ยงาน สถานศึกษา และภาคเี ครอื ข่ายทง้ั ระบบ กกก2) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาที่เก่ียวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกำกับ ติดตามและ รายงานผลการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ ให้สามารถตอบสนองการดำเนินงานตามนโยบายในแต่ละเรื่อง ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ กกก3) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และส่ืออ่ืน ๆ ท่ีเหมาะสม เพื่อการ กำกบั นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอย่างมีประสิทธิภาพ กกก4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีของหน่วยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี ของสำนักงาน กศน. ให้ดำเนนิ ไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ เป็นไปตามเกณฑ์ วธิ ีการ และระยะเวลาทกี่ ำหนด กกก5) ให้มีการเช่ือมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ท้ังหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ต้ังแต่ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อำเภอ/เขต และตำบล/แขวง เพื่อความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล และการพัฒนางานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 2. แนวทาง/กลยุทธ์การดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของ กศน. อำเภอเมืองชลบรุ ี ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองชลบรุ ีได้กำหนดทิศทางการดำเนินงาน ตามแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบตั ิการประจำปี โดยมีรายละเอียด ดังน้ี ทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา ปรชั ญา “คิดเป็น ทำเปน็ เน้น ICT” วสิ ัยทัศน์ “จัดการศกึ ษาตลอดชีวติ ผกู มติ รกับเครือขา่ ย กระจายความรู้สูช่ มุ ชน ทกุ ท่ีทุกเวลาดว้ ย ICT มี อาชีพและแข่งขันในประชาคมอาเซยี นอย่างยง่ั ยืน” อัตลักษณ์ “ก้าวไปในยุคดิจิทัล”
เอกลกั ษณ์ “องคก์ รออนไลน์” พนั ธกิจ 1. จดั และส่งเสรมิ ให้ผู้เรียน มคี วามรกู้ ารศึกษาข้ันพนื้ ฐานอย่างมคี ณุ ภาพ 2. จดั การศึกษาอาชีพให้ผเู้ รยี นมีอาชีพทำได้ ขายเปน็ และมีทกั ษะชีวติ ทีเ่ หมาะสมทุกช่วงวยั 3. จดั และสง่ เสรมิ ให้ประชาชนนำเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพอ่ื พัฒนาตนเองและสรา้ งชอ่ งทางการจำหน่าย สินคา้ 4. จัดและสง่ เสริมการศึกษาตามอัธยาศัยทมี่ ุ่งใหผ้ ู้รับบรกิ ารมนี สิ ัยรักการอา่ น และพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ ในชุมชน 5. จดั และสง่ เสริมสนับสนุน พฒั นาแหลง่ เรยี นรู้ สือ่ และภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ 6. จัดและสง่ เสรมิ การศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอื่ พัฒนาสังคมและชุมชนให้มี ความเข้มแข็งอยา่ งยัง่ ยนื 7. จดั และส่งเสรมิ ประชาชนให้เป็นพลเมอื งดตี ามวิถีประชาธิปไตย 8. ส่งเสริม สนบั สนุน ภาคเี ครือข่าย ให้มสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย เพอ่ื ใหเ้ กิดการเรียนรูต้ ลอดชีวติ 9. พัฒนารปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ให้สอดคล้องกบั พ้นื ทีร่ ะเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค ตะวนั ออก (EEC) และความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย 10. พัฒนาบคุ ลากรให้มีสมรรถนะในการปฏิบตั ิงานตามบทบาทหนา้ ที่อย่างมีประสทิ ธภิ าพและ ตอ่ เนอื่ งโดยเน้นการนำเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมาใชใ้ นการบริหารจดั การ 11. สถานศกึ ษามรี ะบบการบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมมาภบิ าล 12. ปฏิบัตงิ านอืน่ ๆ ทไี่ ด้รบั มอบหมาย เป้าประสงค์ และตวั ชว้ี ดั ความสำเร็จ
เปา้ ประสงค์ ตวั ชี้วัดความสำเรจ็ ประชาชนได้รับโอกาสทางการศกึ ษาในรปู แบบ รอ้ ยละของประชากรกลมุ่ ตา่ งๆ (กลุ่มประชากรวัย ของการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม แรงงานปกติทั่วไป กลมุ่ ประชากรวัยแรงงานท่ีเป็นผู้ อธั ยาศัยที่มีคุณภาพอย่างทัว่ ถึงและเปน็ ธรรม ยากไร้ ผูด้ อ้ ยโอกาส ผพู้ กิ าร และกลมุ่ ผสู้ ูงอาย)ุ ที่ ได้รับบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศัยอยา่ งทัว่ ถงึ ครอบคลุมและเปน็ ธรรม ผ้เู รียนทเ่ี ขา้ รบั การฝึกอาชีพมีสมรรถนะในการ รอ้ ยละของผู้เรยี นท่ีเข้ารบั การศกึ ษาอาชีพเพอ่ื การมี ประกอบอาชีพ สามารถประกอบอาชีพท่ีสร้าง งานทำท่มี ีสมรรถนะในการประกอบอาชพี ท่เี พ่มิ ขนึ้ รายไดใ้ หก้ ับตนเองและครอบครัวได้ องค์กรภาคส่วนตา่ งๆร่วมเปน็ ภาคีเครือข่ายใน จำนวนของภาคเี ครอื ข่ายในการดำเนินงานการศึกษา การดำเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพิม่ มากข้ึน การศึกษาตามอัธยาศัยอย่างกว้างขวาง สถานศกึ ษานำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการเพ่มิ รอ้ ยละของของผู้เรยี นท่ีมีความพงึ พอใจต่อการใช้ ประสทิ ธภิ าพการจัดการศึกษานอกระบบและ เทคโนโลยดี ิจทิ ัลของสถานศึกษา การศกึ ษาตามอัธยาศัยอยา่ งทว่ั ถงึ บุคลากรของสถานศึกษาไดร้ บั การพฒั นาเพือ่ เพมิ่ ร้อยละของบคุ ลากรของสถานศกึ ษาที่ไดร้ ับการพฒั นา สมรรถนะในการปฏิบตั งิ านการศกึ ษานอกระบบ เพือ่ เพ่ิมสมรรถนะในการปฏบิ ตั ิงานการศกึ ษานอก และการศกึ ษาตามอัธยาศยั อยา่ งท่ัวถึง ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยโดยเน้นการนำ เทคโนโลยดี ิจิทัลมาใชใ้ นการบริหารจัดการ สถานศกึ ษามีการพัฒนาระบบการบริหาร รอ้ ยละของสถานศกึ ษามีการพฒั นาระบบการบรหิ าร จดั การเพือ่ เพิ่มประสิทธิภาพโดยเน้นการนำ จดั การเพอื่ เพม่ิ ประสิทธิภาพโดยเนน้ การนำเทคโนโลยี เทคโนโลยดี ิจิทัลในการดำเนินงานการศกึ ษา ดจิ ทิ ัลในการดำเนินงานการศกึ ษานอกระบบและ นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั การศึกษาตามอธั ยาศยั บคุ ลากรของหน่วยงานปฏิบตั ิงานตามทไ่ี ดร้ บั รอ้ ยละของบุคลากรของสถานศึกษาปฏิบตั งิ านไดเ้ ตม็ มอบหมายอย่างมีประสิทธภิ าพ ประสทิ ธภิ าพ กลยุทธ์ กลยทุ ธ์ที่ 1 สง่ เสรมิ และพฒั นาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ใหเ้ ปน็ ไป ตามนโยบายและมาตรฐานการศกึ ษาอย่างตอ่ เน่ือง กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสรมิ ให้ผรู้ ับบริการไดร้ ับการพฒั นาคุณภาพชีวติ โดยใชก้ ระบวนการคิดเป็นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กลยุทธ์ที่ 3 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหภ้ าคีเครอื ขา่ ยมีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศัย เพอ่ื ให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต กลยทุ ธ์ที่ 4 พัฒนาหลักสูตรและรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ใหส้ อดคลอ้ งกบั พน้ื ท่ีเขตพฒั นา พเิ ศษภาคตะวันออก (EEC) และความตอ้ งการของกล่มุ เป้าหมาย โดยการมสี ว่ นรว่ มของภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน และแหลง่ เรียนรทู้ ั้งภาครฐั และเอกชน
กลยุทธท์ ่ี 5 สง่ เสริมใหม้ ีการประชาสัมพันธ์ ในรูปแบบทหี่ ลากหลาย กลยุทธท์ ่ี 6 พัฒนาระบบการนเิ ทศภายในสถานศึกษาโดยใช้กระบวนการมสี ว่ นร่วมจากทุกภาคสว่ น กลยทุ ธท์ ่ี 7 พฒั นาระบบคุณภาพการศึกษาโดยใช้วงจรการพฒั นาคณุ ภาพ (PDCA) เป็นหลกั ในการ จัดการศกึ ษา กลยทุ ธ์ที่ 8 พัฒนาบคุ ลากรของสถานศึกษาให้มีความสามารถใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพอื่ การจดั กระบวนการเรียนรู้ การบริหารจดั การ และส่งเสริมการทำงานเป็นทมี เขม็ มงุ่ สู่ความสำเร็จ 1. มี กศน.ตำบลเป็นหลักแหลง่ 2. มีคอมฯ/อุปกรณ์ครบทุก กศน.ตำบล 3. ใหท้ กุ คนมคี วามรู้ ICT 4. มีระบบจัดเก็บ/รายงานผ่านออนไลน์ 5. ภายใน1-2 ปตี ้องเปน็ 1 ใน กศน.จงั หวดั 6. ภายใน 3 ปตี ้องเป็น 1-5 ของสำนกั งาน กศน. การบริหารนำ ICT สู่การปฏิบตั ิ 1. การจัดหาคอมฯ/อุปกรณ์ 2. ข้นั การพฒั นา 3. การประเมินผล/รายงาน 1. การจัดหาคอมฯ/อุปกรณ์ 1.1 การเปิดตัว กศน.ตำบล โดย 1) เชญิ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.),สมาชกิ วฒุ ิสภา (ส.ว.) เป็นต้น 2) นำนกั ศึกษา กศน. หลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ปจั จุบันมีทัง้ สิน้ 4,621 คน 3) เชญิ ภาคีเครอื ขา่ ย อาทิเช่น โรงเรียน, อบต., เทศบาล, อบจ. , อำเภอ เปน็ ตน้ 4) เสนอโครงการพฒั นา กศน.ตำบล ให้เป็นแหลง่ เรยี นรู้ด้านดิจิทัล 1.2 เชิญส.ส./ส.ว. เข้าร่วมทุกกิจกรรม 1) โครงการเข้าค่ายต่าง ๆของนกั ศึกษา กศน. 2) โครงการวนั วชิ าการ ของนักศกึ ษา กศน. 3) โครงการ อืน่ ๆ 2. ขนั้ การพฒั นา 2.1 พฒั นาระบบ 1) จะพัฒนาระบบการจัดเก็บ/รายงานต่างๆผ่านออนไลน์ 2.2 พัฒนาคน 1) ครู กศน./จนท.ทุกคน 2) นกั ศึกษา กศน.หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ทั้ง 2 กลุ่มเป้าหมาย ต้องมีความรู้ ด้าน ICT และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ได้ สำหรับในส่วนของนกั ศึกษา กศน. หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 กศน.อำเภอเมืองชลบุรี จะต้องประกาศเปน็ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ พรอ้ มท้ังใช้งบอุดหนนุ (กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน) ในการ ขับเคล่ือน โดยจดั โครงการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน ดา้ น ICT พร้อมทง้ั จัดทำสรุปเปน็ รูปเลม่ ( 5 บท)
3.การประเมนิ ผล/รายงาน 3.1 รายงานผ่านออนไลน์ โดยผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต http://118.172.227.194:7003/choncity/ และจัดทำ Application รายงานผ่านทางสมาร์ทโฟน 3.2 รายงานสรุปผลเป็นรูปเล่ม (5 บท) จัดทำสรุปผลโครงการ/กิจกรรม เปน็ รูปเล่ม (5บท) เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพโดยต้นสงั กัด และ ภายนอก | แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษา(เฉพาะปี 2562) เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กจิ กรรม เป้าหมาย ตวั ช้วี ัด เกณฑ์ความสำเรจ็ 8,000 คน ความสำเร็จ (ร้อยละ) 1. กลุ่มเปา้ หมาย กลยุทธท์ ่ี 1 1. โครงการยกระดบั 8,000 คน ไดร้ บั โอกาสทาง สง่ เสรมิ จัดการศกึ ษานอก 1. กลุม่ เป้าหมาย 1. ร้อยละของ การศึกษาข้นั และพัฒนา ระบบระดับการศึกษา 27 คน ไดร้ บั โอกาสทาง กล่มุ เปา้ หมายได้รับ พืน้ ฐาน คณุ ภาพ ขน้ั พ้ืนฐานใหม้ ี 1,020 คน การศึกษาแตล่ ะ โอกาสทางการศึกษา การศึกษาต่อเนื่อง การศึกษา คุณภาพ ประเภทของ กศน. แตล่ ะประเภทของ และการศึกษา นอกระบบ 2. โครงการพัฒนา 2. ผู้จบหลกั สตู ร กศน. ตามอธั ยาศัยทมี่ ี และ คณุ ภาพผูเ้ รียน กศน. การศกึ ษาข้นั 2. รอ้ ยละของผจู้ บ คุณภาพให้เปน็ ไป การศึกษา ตามหลักสตู ร พนื้ ฐานแตล่ ะระดับ หลักสูตรการศึกษาข้นั ตามความตอ้ งการ ตาม การศกึ ษานอกระบบ มีผลสัมฤทธิ์ พื้นฐานแต่ละระดับมี ทางการเรยี นเฉลย่ี ผลสมั ฤทธทิ์ างการ และสอดคล้องกับ อัธยาศัย ให้ ระดบั การศกึ ษาขัน้ สภาพปญั หาของ เปน็ ไปตาม พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช > 2.00 เรียนเฉลยี่ > 2.00 กลมุ่ เปา้ หมาย นโยบาย 2551 3. กลมุ่ เป้าหมาย 3. รอ้ ยละของ และ 3. โครงการส่งเสริม รว่ มกิจกรรมพัฒนา กลมุ่ เปา้ หมายร่วม มาตรฐาน การร้หู นงั สอื สำหรบั คุณภาพผเู้ รียน กิจกรรมพัฒนา การศกึ ษา ประชาชนอำเภอเมือง 4. กลมุ่ เป้าหมาย คณุ ภาพผูเ้ รียน อย่าง ชลบรุ ี เขา้ ร่วมกจิ กรรม 4.ร้อยละของ ตอ่ เนอื่ ง 4. โครงการจดั ส่งเสริมการรู้ กลุ่มเปา้ หมายเขา้ รว่ ม การศกึ ษาเพือ่ พัฒนา หนังสือ กิจกรรมส่งเสรมิ การรู้ อาชีพ (ศนู ย์ฝกึ อาชพี 5. กลมุ่ เป้าหมาย หนังสอื ทกุ ประเภท 5. รอ้ ยละของ ชมุ ชน) สามารถนำความรู้ กลุ่มเปา้ หมายทกุ ไปใช้ในการพฒั นา ประเภทสามารถนำ อาชพี หรือคุณภาพ ความรู้ไปใช้ในการ ชีวิตได้ พัฒนาอาชีพหรอื 6. กลุ่มเป้าหมายมี คณุ ภาพชีวติ ได้ คุณลกั ษณะท่พี ึง 6. ร้อยละของ ประสงค์ตาม กล่มุ เปา้ หมายมี จดุ มงุ่ หมายของ คณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ หลักสตู ร ประสงค์ตาม 7. กล่มุ เป้าหมายมี จุดมุ่งหมายของ ความพึงพอใจต่อ หลกั สูตร การรว่ มกิจกรรม 7. รอ้ ยละของ
การเรียนรู้ทกุ กล่มุ เป้าหมายมคี วาม ประเภท พงึ พอใจตอ่ การรว่ ม กจิ กรรมการเรยี นรทู้ กุ ประเภท เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรม เปา้ หมาย ตวั ช้ีวัด เกณฑค์ วามสำเร็จ 285 คน ความสำเรจ็ (รอ้ ยละ) 5.กลุ่มเป้าหมาย กลยุทธ์ท่ี 2 1. โครงการเรียนรู้ปรัชญา ไดร้ บั การส่งเสริม ส่งเสรมิ ให้ ของเศรษฐกิจพอเพียงและ 1. กลุ่มเป้าหมาย 1. รอ้ ยละ 80 ของ และสนบั สนนุ การ ผรู้ บั บริการ เกษตรทฤษฎีใหม่ ไดร้ ับการสง่ เสริม กลมุ่ เปา้ หมายไดร้ ับ พัฒนาคุณภาพ ได้รบั การ 2.โครงการเสรมิ สรา้ ง การเรียนรู้ การส่งเสริมการ ชีวติ ตามหลัก พัฒนา คุณภาพชวี ิตท่ีเป็นมิตรกบั ทางด้านหลัก เรียนรทู้ างดา้ นหลกั ปรชั ญาของ คณุ ภาพ ส่ิงแวดล้อม ปรชั ญาของ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ เศรษฐกจิ พอเพียง ชีวติ โดยใช้ 3.โครงการเกษตรยุคใหม่ เศรษฐกจิ พอเพียง พอเพยี ง เพื่อพฒั นาสังคม กระบวนกา ตามวถิ ีความพอเพียง และชมุ ชนใหม้ ี รคดิ เป็น 4.โครงการอบรมเชงิ 2. กลมุ่ เป้าหมาย 2. ร้อยละ 80 ของ ความเขม้ แข็ง ตามหลกั ปฏิบตั กิ ารดา้ นเศรษฐกิจ นำความรไู้ ปใชใ้ น กลมุ่ เปา้ หมายนำ อยา่ งยงั่ ยืน ปรชั ญาของ พอเพียง การพฒั นาอาชีพ ความรู้ไปใช้ในการ เศรษฐกิจ 5.โครงการปรัชญาของ และพัฒนา พฒั นาอาชีพและ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพยี ง นำวถิ ี คุณภาพชวี ิตได้ พฒั นาคุณภาพชีวิตได้ พอเพียงสชู่ ุมชน 3. กลุ่มเป้าหมาย 3. ร้อยละ 90 ของ 6.โครงการอบรมและเรียนรู้ มีความพงึ พอใจใน กลุม่ เปา้ หมายมคี วาม ตามรอยพระยคุ ลบาทด้วย ระดบั ดขี น้ึ ไป พึงพอใจในระดับดขี ึ้น หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ ไป พอเพยี ง 7.โครงการเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี งและการพัฒนาท่ี ยง่ั ยนื \"วิถีไทย วิถีพอเพียง\" เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กิจกรรม เปา้ หมาย ตวั ช้ีวัด เกณฑ์ความสำเร็จ ความสำเรจ็ (ร้อยละ) 3.กลุม่ เป้าหมาย กลยทุ ธท์ ่ี 3 1. โครงการส่งเสริม ได้รับการสรา้ ง ส่งเสรมิ การอ่านเพือ่ พฒั นา 11,500คน 1. กลมุ่ เป้าหมาย 1. ร้อยละ 80 ของ และส่งเสริมให้ สนับสนนุ ให้ บา้ นหนงั สือชุมชน เป้าหมายภาคเี ครอื ขา่ ย เปน็ ผู้รกั การอา่ น ภาคี 2. โครงการห้องสมุด ภาคเี ครอื ขา่ ยมี มีส่วนร่วมในการจดั และใฝร่ ้ใู ฝ่เรียน เครอื ขา่ ยมี เคลอื่ นท่ีสำหรับชาว อยา่ งต่อเนื่อง ส่วนรว่ มใน ตลาด สว่ นร่วมในการจัด การศึกษานอกระบบ ตลอดชวี ิต การจัด 3.โครงการเมอื งนัก และการจัดการศึกษา การศึกษา อา่ น การศึกษานอก ตามอัธยาศยั 2. มีบ้านหนังสอื ชมุ ชน ระบบและการจัด ทีเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ การศกึ ษาตาม อธั ยาศยั 2. มีบา้ นหนงั สอื
นอกระบบ 4.โครงการอา่ นสรา้ ง ชมุ ชนทเี่ ป็นไปตาม ครบทกุ ตำบลอย่าง และ งานผ่าน เกณฑ์ครบทุก น้อยตำบลละ 1 แห่ง การศกึ ษา ตำบลอยา่ งนอ้ ย 3. มมี มุ หนงั สือเพ่อื ตาม QRCode ตำบลละ 1 แหง่ ชมุ ชนอย่างน้อยตำบล อัธยาศัย 3. มีมุมหนงั สอื เพ่อื ละ 1 แห่ง เพื่อใหเ้ กดิ ชุมชนอยา่ งน้อย 4. รอ้ ยละ 80 ของ การเรยี นรู้ ตำบลละ 1 แหง่ กล่มุ เป้าหมายมีความ ตลอดชวี ติ 4. กลมุ่ เป้าหมายมี พงึ พอใจในระดับดีข้นึ ความพึงพอใจใน ไป ระดับดีขนึ้ ไป เป้าประสงค์ กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ตวั ชี้วัด เกณฑค์ วามสำเร็จ ความสำเร็จ (รอ้ ยละ) 9.สถานศกึ ษา กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาสอ่ื แหลง่ พฒั นา 1. โครงการ English 800 คน 1.กล่มุ เปา้ หมาย 1. ร้อยละ 75 ของ เรยี นรูแ้ ละภมู ิ หลกั สูตรและ กลมุ่ เป้าหมายไดร้ ับ ปัญญาท้องถน่ิ รปู แบบการ นา่ รู้ คู่ Service ไดร้ บั การพัฒนา การพฒั นาชีวติ ให้ ด้วยการจดั จัดกิจกรรม สอดคล้องกบั พน้ื ที่เขต กระบวนการ การเรยี นรู้ โรงแรม ชีวติ ใหส้ อดคลอ้ ง พฒั นาพิเศษภาค เรียนร้ทู ่ี ให้สอดคล้อง ตะวนั ออก (EEC) ตอบสนองกบั การ กับพืน้ ท่เี ขต 2.โครงการ Smart กับพน้ื ท่เี ขตพฒั นา 2. ร้อยละ 80 ของ เปลย่ี นแปลง พัฒนาพิเศษ กลมุ่ เป้าหมายมีความ บริบทด้าน ภาค ONIE เพือ่ สรา้ ง พิเศษภาค พึงพอใจในระดับดีข้ึน เศรษฐกิจ สงั คม ตะวนั ออก ไป การเมอื ง ใน (EEC) และ Smart farmers ตะวันออก (EEC) รปู แบบท่ี ความต้องการ 1. รอ้ ยละ 100 ของ หลากหลาย ของ 3.โครงการ 4. กลุม่ เปา้ หมายมี กศน.อำเภอและ กศน. กล่มุ เป้าหมาย Digtalteracy (เพือ่ ความพงึ พอใจใน ตำบลมีการอพั เดท โดยการมสี ว่ น สร้างสงั คมออนไลน์) ระดบั ดีขึ้นไป ข้อมูลการ ร่วมของภมู ิ ประชาสัมพนั ธ์กิจกรรม ปญั ญาท้องถิน่ 4.โครงการการคา้ ทางเวบ็ ไซดเ์ ปน็ ประจำ และแหล่ง ทกุ เดือน เรยี นรทู้ ง้ั ออนไลน์ สูส่ ังคม ภาครฐั และ เอกชน Digital กลยทุ ธ์ที่ 5 ส่งเสริมใหม้ ี 5.โครงการเพิม่ การ ประชาสัมพนั ประสทิ ธภิ าพการ ธ์ ในรูปแบบท่ี หลากหลาย บรหิ ารจัดการขยะ 17 ตำบล 1. กศน.อำเภอ มูลฝอย 1. โครงการพฒั นา และกศน.ตำบลมี ระบบประชาสมั พนั ธ์ การอพั เดทข้อมลู ของสถานศึกษา การประชาสมั พันธ์ กิจกรรมทางเว็บ ไซดเ์ ปน็ ประจำทุก เดือน
เปา้ ประสงค์ กลยทุ ธ์ โครงการ/กจิ กรรม เปา้ หมาย ตวั ช้ีวัด เกณฑ์ความสำเรจ็ ความสำเรจ็ (รอ้ ยละ) 7.ชมุ ชนและ กลยทุ ธ์ที่ 6 1. โครงการพัฒนา 17 ตำบล 1. สถานศึกษามี 1. รอ้ ยละ 100 ของ ภาคเี ครือข่าย พฒั นาระบบ บุคลากรการนิเทศ คูม่ ือระบบการ สถานศึกษามีคมู่ อื ร่วมจัด การนเิ ทศ ภายในสถานศึกษา นเิ ทศภายใน ระบบการนิเทศภายใน ส่งเสรมิ และ ภายใน กศน.อำเภอเมืองชลบุรี 2. ผู้นิเทศมีการ 2. ร้อยละ 80 ของผู้ สนับสนนุ การ สถานศกึ ษา นิเทศการจัด นิเทศมีการนเิ ทศการ ดำเนินงาน โดยใช้ กิจกรรมและ จดั กิจกรรมและ การศกึ ษานอก กระบวนการมี รายงานผลเปน็ รายงานผลเปน็ ประจำ ระบบและ สว่ นรว่ มจาก ประจำทกุ เดอื น ทุกเดอื น การศกึ ษาตาม ทุกภาคสว่ น อธั ยาศัย 10.สถานศึกษา กลยทุ ธท์ ่ี 7 1. โครงการบรหิ าร 39 คน 1. สถานศกึ ษามี 1. สถานศึกษามีค่มู อื มีระบบการ พฒั นาระบบ ความเสี่ยงของ คู่มือการบรหิ าร การบริหารความเสยี่ ง บรหิ ารจดั การ คณุ ภาพ สถานศกึ ษา กศน. ความเสีย่ ง 2. รายงานสถานะ ตามหลกั การศึกษาโดย อำเภอเมอื งชลบรุ ี 2. รายงานสถานะ ทางการเงินเปน็ ประจำ ธรรมาภบิ าล ใช้วงจรการ 2. โครงการพฒั นา ทางการเงินเปน็ ทุกเดอื น พฒั นาคณุ ภาพ ระบบประกนั คุณภาพ ประจำทกุ เดอื น (PDCA) เป็น การศกึ ษา กศน.อำเภอ หลกั ในการจดั เมืองชลบรุ ี การศึกษา 8. บุคลากร กลยุทธ์ที่ 8 1.โครงการพฒั นา 39 คน 1.บคุ ลากรของ 1. ร้อยละ 80 ของ ของ พัฒนาบคุ ลากร บุคลากรดา้ น สถานศึกษาทุกคน บคุ ลากรของ สถานศึกษา ของ วชิ าการ:Google Form ไดร้ บั การพัฒนา สถานศกึ ษาทุกคน ได้รับการ สถานศกึ ษาให้ 2.โครงการพฒั นา เพือ่ เพม่ิ สมรรถนะ ไดร้ ับการพฒั นาเพ่ือ พฒั นาเพ่อื เพ่ิม มี บคุ ลากรดา้ นวิชาการ: ในการปฏบิ ตั ิงาน เพมิ่ สมรรถนะในการ สมรรถนะใน ความสามารถ การจดั ทำสอื่ การเรียน ตามบทบาทหน้าท่ี ปฏบิ ัตงิ านตามบทบาท การปฏิบตั งิ าน ใชเ้ ทคโนโลยี การสอน Clip Video อย่างมี หนา้ ทีอ่ ย่างมี ตามบทบาท ดจิ ิทัลเพือ่ การ 3.โครงการบรหิ าร ประสทิ ธิภาพและ ประสทิ ธภิ าพและ หนา้ ท่ีอยา่ งมี จัด จัดการขอ้ มูลขา่ วสาร ตอ่ เนือ่ ง ต่อเน่อื ง ประสิทธิภาพ กระบวนการ กศน.ฝ่ากระแส Social 2.บคุ ลากรของ 2. รอ้ ยละ 80 ของ และต่อเนือ่ ง เรยี นรู้ การ Network สถานศึกษา บคุ ลากรของ บริหารจดั การ และสง่ เสริม 4.โครงการประชุม สามารถนำความรู้ สถานศกึ ษาสามารถนำ การทำงานเป็น บุคลากรเพอ่ื เพิ่ม ทมี ประสทิ ธภิ าพในการ ไปใชใ้ นการ ความรูไ้ ปใช้ในการ ปฏิบัติงาน 5.โครงการประชุมเชิง พัฒนาการ พัฒนาการปฏบิ ัตงิ าน ปฏิบัตกิ ารการจัด กระบวนการเรียนการ ปฏบิ ัตงิ านตาม ตามบทบาทหน้าที่ สอนและการจัดทำ สรุปผลโครงการ(5บท) บทบาทหน้าที่อย่าง อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ มีประสิทธภิ าพ 3. รอ้ ยละ 90 ของ 3. บคุ ลากรของ บุคลากรของ สถานศึกษามีความ สถานศึกษามีความพึง พึงพอใจในระดบั ดี พอใจในระดบั ดีขน้ึ ไป ขึ้นไป
3. กรอบ/แนวทางการจดั กจิ กรรม) กรอบการจัดกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น ตามนโยบายการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน สำนกั งาน กศน. (เอกสารแนบทา้ ยหนังสอื สำนกั งาน กศน. ด่วนที่สุด ที่ ศธ ๐๒๑๐.๐๔/ว ๓๗๘๐ ลงวันท่ี ๒ กรกฎาคม ๒๕๖๑) 1. หลกั การ รัฐบาลได้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) โดยมวี ตั ถุประสงค์เพือ่ แก้ไขจดุ ออ่ น และเสริมจุดแขง็ ให้เอ้ือต่อการพัฒนาประเทศให้บรรลุเป้าหมาย การสรา้ งรักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ ใน การทีจ่ ะให้ประเทศไทยมีความม่ันคงในทกุ ด้าน คนในชาติมีคุณภาพชีวิตท่ีดแี ละมนั่ คง และประเทศสามารถ พัฒนาไปไดอ้ ย่างยั่งยนื จำนวน ๖ ยุทธศาสตร์ได้แก่ (๑) ยทุ ธศาสตร์ด้านความมนั่ คง (๒) ยุทธศาสตรด์ า้ น การ สรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั (๓) ยุทธศาสตร์การพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ (๔) ยทุ ธศาสตร์ ด้านการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม (๕) ยุทธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งการเติบโตบน คุณภาพชวี ติ (๖) ยุทธศาสตร์ดา้ นการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ ซ่งึ สอดคล้อง จุดเนน้ ในการพัฒนา คณุ ภาพคนในสังคมไทยทุกช่วงวยั ใหเ้ ปน็ คนดี มีสุขภาวะท่ีดี มคี ุณ ธรรม จริยธรรม มี ระเบยี บวินัย มีจติ สำนกึ ทด่ี ีต่อสงั คมสว่ นรวม มีทักษะความรู้และความสามารถปรบั ตวั เท่าทนั กบั การ เปลย่ี นแปลงรอบตัว ที่รวดเร็ว แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ได้กำหนดวตั ถุประสงค์ในการจัด การศกึ ษา ๔ ประการ ได้แก่ (๑) เพ่อื พฒั นาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาทม่ี คี ุณภาพและมี ประสิทธิภาพ (๒) เพื่อพัฒนาคนไทยให้ เปน็ พลเมืองดี มีคณุ ลกั ษณะทกั ษะและสมรรถนะที่สอดคลอ้ งกบั บทบัญญัตขิ องรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติและยุทธศาสตรช์ าติ (๓) เพอื่ พฒั นาสังคมไทยใหเ้ ป็นสังคมแหง่ การเรยี นรู้และมี คณุ ธรรม จรยิ ธรรม รูร้ กั สามคั คี และร่วมมือผนึกกำลงั มุ่งสกู่ ารพัฒนาประเทศอยา่ งย่งั ยนื ตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และ (๔) เพ่ือนำประเทศไทยกา้ ว ข้ามกบั ดกั ประเทศทีม่ ีรายได้ปานกลาง และความเหล่ือมล้ำ ภายในประเทศลดลง จึงกำหนดยุทธศาสตรใ์ นการ พฒั นาการศึกษาภายใต้ ๖ ยุทธศาสตร์หลักทสี่ อดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี เพอื่ ให้แผนการศึกษา แห่งชาติบรรลเุ ป้าหมายตามจดุ มุ่งหมาย วสิ ยั ทัศน์ และแนวคิดการจัด การศกึ ษา ดังน้ี (๑) ยุทธศาสตรก์ ารจัด การศึกษาเพอ่ื ความม่นั คงของสงั คมและประเทศชาติ(๒) ยุทธศาสตร์ การผลติ และพัฒนากำลงั คน การวิจยั และนวัตกรรม เพ่อื สรา้ งขดี ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (๓) ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาศักยภาพคน ทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ (๔) ยทุ ธศาสตร์การสรา้ ง โอกาสความเสมอภาพ และความเท่า เทียมทางการศกึ ษา (๕) ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาเพ่ือสร้างเสริมสุขภาพ ชวี ิตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดลอ้ ม (๖) ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้ประกาศใช้ หลักสตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ทม่ี ุง่ จัดการศกึ ษาเพ่ือตอบสนอง อุดมการณ์การจดั การศึกษาตลอดชวี ิตและการสร้างสังคมไทย ให้เปน็ สงั คมแห่งการเรยี นรู้ตามปรัชญา “คิด เปน็ ” เพือ่ สร้างคณุ ภาพชีวติ และสงั คม มกี ารบูรณาการอยา่ งสมดลุ ระหว่างปญั ญาธรรม ศลี ธรรม และ วฒั นธรรม ม่งุ สรา้ งพน้ื ฐานการเปน็ สมาชิกที่ดขี องครอบครวั ชมุ ชน สังคม และ พัฒนาความสามารถเพ่อื การท างานทม่ี ีคณุ ภาพ โดยให้ภาคเี ครือข่ายมีสว่ นร่วมจดั การศึกษาให้ตรงตามความ ต้องการของผูเ้ รยี น และ สามารถตรวจสอบไดว้ ่า การศกึ ษานอกระบบเปน็ กระบวนการของการพัฒนาชวี ติ และ สงั คม สามารถพ่ึงพา ตนเองได้ และรเู้ ทา่ ทันการเปลย่ี นแปลง เปน็ หลักสตู รที่มคี วามเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพ ปญั หา ความ ต้องการของบุคคลท่ีอยนู่ อกระบบโรงเรยี น ซึง่ เป็นผูม้ คี วามรปู้ ระสบการณ์จากการทำงาน และการประกอบ
อาชพี โดยการกำหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ การจดั การเรยี นรู้ การวัดและ ประเมนิ ผล ให้ ความ สำคญั กับการพฒั นากลมุ่ เป้าหมายดา้ นจิตใจ ให้มีคุณธรรมควบคู่ไปกบั การพัฒนาการเรียนรู้ สร้างภูมิค้มุ กัน สามารถจัดการกับองคค์ วามรู้ ท้งั ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินและเทคโนโลยีเพ่ือให้ผู้เรียนสามารถปรบั ตัวอยู่ในสังคมท่มี ี การเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา สรา้ งภมู ิคมุ้ กนั ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รวมทง้ั คำนงึ ถึง ธรรมชาติ การเรยี นรูข้ องผทู้ ่ีอยนู่ อกระบบ และสอดคลอ้ งกบั สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง การปกครอง ความ เจรญิ ก้าวหน้า ของเทคโนโลยีและการสอ่ื สาร สำนกั งาน กศน. จึงกำหนดกรอบการจดั กจิ กรรมเพื่อพฒั นา คุณภาพผู้เรยี นท่ีสอดคลอ้ งกบั จุดม่งุ หมาย ของหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ซึง่ เปน็ กิจกรรมทีใ่ ห้สถานศึกษา จัดเพ่มิ เติมจากการเรียนปกติให้กับผู้เรยี น เพ่ือพฒั นา ผู้เรยี นให้มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีสตปิ ัญญา มีคณุ ภาพชีวิต ที่ดีมีศกั ยภาพในการศกึ ษาต่อ การประกอบอาชีพ และการเรยี นรูอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื งซง่ึ เป็นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สอดคลอ้ งกบั ทกั ษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ ๒๑ ตามจดุ มุง่ หมายของกระทรวงศกึ ษาธิการ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติและ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปขี ้นึ 2. กรอบการจัดกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น เพื่อให้สถานศกึ ษาได้จดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นไปในแนวทางเดยี วกันอย่างมี ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล คุ้มคา่ เกิดประโยชนส์ ูงสุดต่อผู้เรียน ดังน้ี 2.1 กจิ กรรมพฒั นาวิชาการ เปน็ การจดั กิจกรรมเพือ่ พฒั นาให้ผู้เรยี นมีพื้นฐานความรู้เพยี งพอกบั การศกึ ษาในแต่ละระดับ และพัฒนาผ้เู รียนใหม้ คี วามรูค้ วามสามารถทางด้านวิชาการเพิม่ มากขึ้นในรายวิชา ตามหลักสูตรการศกึ ษานอก ระบบระดบั การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตรว์ ทิ ยาศาสตร์ หรือวชิ าอ่ืน ๆ ตามความต้องการของนกั ศึกษา กศน. ซ่ึงวิทยากรหรอื ผสู้ อนควรเป็นผู้ท่มี ีความร้หู รือประสบการณ์ใน การสอนวชิ านั้น ๆ โดยตรง อาจจะเปน็ บุคคลภายนอกหรือครู กศน. ได้ตามความเหมาะสม สว่ นจำนวนนักศกึ ษา กศน. ที่รว่ มกิจกรรมใหอ้ ยใู่ นดุลยพินจิ ของผบู้ ริหาร สถานศึกษา 2.2 กจิ กรรมพัฒนาทักษะชีวติ เป็นการจัดกจิ กรรมเสรมิ เพ่ิมเตมิ จากการเรยี นปกตใิ นสาระทกั ษะการ ดำเนินชวี ิต หลักสตู รการศกึ ษา นอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เนือ่ งจากสงั คม ปัจจบุ ันมกี ารเปลีย่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ท้ังด้านเศรษฐกจิ สงั คม ข่าวสารข้อมูล และเทคโนโลยี มีการแข่งขัน และความขัดแยง้ มากขนึ้ จงึ มคี วามจำเปน็ ท่ีสถานศึกษาตอ้ งจัดกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะชวี ิตให้กบั ผู้เรยี น เพ่อื ให้มี ความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติค่านยิ มท่ีถกู ต้อง และมที ักษะหรือความสามารถพ้ืนฐานที่จำเป็นในการเผชิญ ปัญหาทเ่ี กิดข้ึนในชีวิต อาทิเชน่ ปัญหายาเสพตดิ การตัง้ ครรภไ์ มพ่ งึ ประสงค์ เพศสัมพนั ธ์ทะเลาะววิ าท ครอบครวั แตกแยก ความรนุ แรง ความเครียด ภยั พิบตั ิ เป็นต้น รวมทัง้ มคี ุณสมบัติทพี่ ึงประสงคใ์ นการอยู่ ร่วมกับผอู้ ืน่ ในสังคมได้อย่างมีความสุข และสามารถนำความรู้ จากการเข้ารว่ มกจิ กรรมไปปรับใช้ใน ชีวติ ประจำวันไดอ้ ย่างเหมาะสม 2.3 กิจกรรมทีแ่ สดงออกถึงความจงรักภักดตี ่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ เป็นการจดั กิจกรรมเพือ่ พฒั นาและส่งเสรมิ สนับสนุนให้ผเู้ รียน มีความรคู้ วามเข้าใจ มีทศั นคติทดี่ ี มีความรกั และภาคภมู ิใจ ในชาตไิ ทย และแสดงออกถงึ ความจงรกั ภกั ดีตอ่ สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ ตลอดจนทะนุบำรุง และปฏิบตั ิตามหลักธรรมทางศาสนาท่ีนับถือ การส่งเสริมโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ การเทิดทูนและ ปกปอ้ งสถาบันพระมหากษตั รยิ แ์ ละพระบรมวงศานุวงศ์
2.4 กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นการจดั กิจกรรมเพ่อื พัฒนาผเู้ รยี นให้ มีความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยสามารถนำไปประยุกตใ์ หเ้ กิดผลในทางปฏบิ ตั ิ ในการดำรงชีวิตประจำวันทั้งต่อตนเอง ครอบครัวชมุ ชน สังคม และประเทศชาติ 2.5 กจิ กรรมลูกเสอื และกิจกรรมอาสายุวกาชาด เป็นกจิ กรรมเพ่ือพฒั นาและสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ ผ้เู รียนเปน็ ผู้ที่มรี ะเบยี บวนิ ัย มีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีจิตอาสา มีความเสยี สละในการชว่ ยเหลอื ผู้อื่น บำเพ็ญ ประโยชน์ตอ่ สังคมและชมุ ชน โดยดำเนินการจัดกิจกรรม ลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอาสายุวกาชาด หรืออาจ ดำเนนิ การรว่ มกับสำนักงานลูกเสอื แห่งชาติ สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ กรรมนักเรยี น กระทรวงศกึ ษาธิการ สำนักงานยุว-กาชาด สภากาชาดไทย เปน็ ต้น 2.6 กจิ กรรมกีฬาและสง่ เสรมิ สุขภาพ เป็นการจดั กจิ กรรมเพื่อพัฒนาผ้เู รียนไดม้ โี อกาสออกก าลังกาย และเลน่ กฬี าเพื่อสุขภาพ พลานามัย ที่ดีสรา้ งนสิ ัยความมีน้ำใจเปน็ นกั กฬี าและใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์ เปน็ การสรา้ งความรกั ความสามคั คี ในหมู่ คณะ ให้ รูจ้ กั รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภยั และเปน็ การสรา้ งสมั พันธภาพอันดี ระหว่างนกั ศึกษ า กศน . 2.7 กจิ กรรมเพ่อื พฒั นาความรู้ความสามารถดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เป็นกิจกรรมเพ่อื พฒั นา ผู้เรียนให้มคี วามรู้และทกั ษะใน ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เช่น การจัดอบรมความรู้ในดา้ นต่างๆ ท่ี เกี่ยวกบั ICT เป็นตน้ 2.8 กจิ กรรมเพอ่ื พฒั นาความรู้สู่ประชาคมโลก เปน็ การจัดกจิ กรรมเพ่ือพฒั นาความรู้ใหก้ บั ผู้เรยี น ใน ด้านการศกึ ษา เศรษฐกิจ สงั คมและวัฒนธรรม ความม่นั คง และการเมือง เพ่ือเข้าสู่ประชาคมโลก เช่น การ เปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งประชากรไปสู่สังคมสูงวยั ทกั ษะของประชากรในศตวรรษท่ี ๒๑ ท่ีทั่วโลกต่างต้องเผชิญ กับความทา้ ทายและมงุ่ พัฒนาประเทศไปสกู่ ารพัฒนา เศรษฐกจิ และสงั คมยุค ๔.๐ เป็นต้น 2.9 กิจกรรมจิตอาสา กศน. “เราทำความดีด้วยหัวใจ” เปน็ กิจกรรมทห่ี นว่ ยงาน/สถานศึกษาในสังกัด สำนกั งาน กศน. จดั ขึ้น หรือร่วมกับหนว่ ยงานอ่ืน ๆ และร่วมกับประชาชนทุกหมู่เหล่าทมี่ ีจิตอาสาบำเพ็ญ สาธารณประโยชนใ์ นพน้ื ที่ตา่ งๆเพ่ือบรรเทาความ เดอื ดรอ้ น และแกไ้ ขปัญหาให้แก่ประชาชน ไมว่ า่ จะเป็น ปัญหาน้ำท่วมในเขตชมุ ชน ปญั หาการจราจรและอื่น ๆ เพอื่ สบื สานพระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ท่ีทรงห่วงใยปญั หา นำ้ ท่วมและปัญหาการจราจรในเขตพนื้ ท่ี กรงุ เทพมหานครและจังหวดั ตา่ ง ๆ และสอดคลอ้ งกับพระบรมราโชบาย ของสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว รชั กาลท่ี ๑๐ เป็นการพัฒนาสภาพแวดล้อมและความเป็นอยใู่ นชุมชนใหม้ สี ภาพทด่ี ีข้นึ 2.10 กิจกรรมส่งเสริมการอา่ น และพฒั นาทักษะการเรียนรู้ เปน็ กจิ กรรมทส่ี ่งเสรมิ ให้ผ้เู รียนมที ักษะการ อา่ น การเรยี นรู้ เสริมสรา้ งนสิ ัยรักการอ่าน และการเรียนรู้ เพือ่ นำไปใชใ้ นการพฒั นาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสงั คม อันจะนำไปสูส่ ังคมแหง่ การเรียนรู้ตลอดชวี ติ 2.11 กิจกรรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้เพอื่ พฒั นาทกั ษะอาชพี เปน็ กจิ กรรมทีส่ ง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนไดศ้ ึกษา เรยี นรู้ ฝึกทักษะและฝึกปฏบิ ัติด้านอาชีพท่ตี นเองสนใจ เพอ่ื เปน็ ทางเลอื ก และวางแผนการประกอบอาชีพ และ การศกึ ษาต่อในอนาคต 2.12 กิจกรรมสง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม เปน็ กิจกรรมท่สี ง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนได้เรยี นรู้ ดว้ ยการปลกู ฝัง คุณธรรม จริยธรรม วฒั นธรรมขนบธรรมเนียม ประเพณี และเอกลกั ษณข์ องชาติ ใหเ้ กดิ ความรกั และความ ภาคภูมิใจ สืบสานวฒั นธรรมและประเพณที ้องถิ่น อยู่ร่วมกนั ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ 2.13 กิจกรรมการเรยี นรู้การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข และ กฎหมายทีเ่ กย่ี วข้องในชีวติ ประจำวัน เปน็ กิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถกู ต้องเกีย่ วกบั การปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุขและกฎหมายทเี่ กีย่ วข้องใน
ชวี ติ ประจำวนั เชน่ กฎหมายรฐั ธรรมนูญ กฎหมายการเลอื กตง้ั สทิ ธหิ น้าทีพ่ ลเมอื ง กฎหมายทีเ่ กย่ี วข้องกบั การค้มุ ครองผู้บรโิ ภค เป็นต้น 2.14 กิจกรรมเสรมิ สร้างความสามารถพิเศษ เปน็ กจิ กรรมเพื่อพัฒนาผ้เู รียนท่มี ีความสามารถพเิ ศษ หรือ มพี รสวรรค์ในด้านต่าง ๆ ใหม้ โี อกาสและ กล้าแสดงออกถึงทกั ษะ ความรู้ ความสามารถ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และจินตนาการ ในแนวทางทถ่ี ูกตอ้ ง เหมาะสม และพฒั นาความสามารถพเิ ศษหรือพรสวรรค์ไปใช้ประโยชน์ ตอ่ การดดำรงชวี ิตของตนเอง เปน็ การ สง่ เสรมิ สนบั สนุนการศกึ ษาตลอดชีวติ โดยการจดั ตง้ั ชมรมต่าง ๆ เช่น ชมรม TO BE NUMBER ONE การจัดต้ัง ศูนยเ์ พ่ือนใจวยั รนุ่ เป็นต้น 3. รปู แบบของกิจกรรม 3.1 แบบการจัดคา่ ยวิชาการ ค่ายกิจกรรม ทง้ั ไป – กลบั และค้างคืน 3.2 แบบชน้ั เรียน โดยครู กศน. หรอื วทิ ยากรทม่ี คี วามรู้หรือประสบการณใ์ นการสอนวชิ านน้ั ๆ เปน็ ผู้จัด กจิ กรรมหรือรว่ มกบั เครอื ข่าย 3.3 แบบศึกษาดูงาน 3.4 อ่นื ๆ ตามความเหมาะสม (โดยใหพ้ ิจารณารปู แบบของกจิ กรรมขอ้ ท่ี 3.1 – 3.3 ก่อน แล้วจงึ ดำเนินการ ในขอ้ 3.4) หมายเหตุ : ในกรณีทพ่ี านักศกึ ษาออกนอกสถานท่ีให้ปฏิบัตติ ามระเบียบกระทรวงศึกษาธกิ าร ว่า ดว้ ยการพา นักเรียนและนกั ศึกษาไปนอกสถานศกึ ษา พ.ศ.2548 4. งบประมาณ การเบิกจ่ายให้เปน็ ไปตามระเบยี บของทางราชการทเี่ ก่ียวข้อง โดยยึดหลักความถกู ต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ 5. เง่ือนไขของการดำเนนิ งาน 5.1 ผู้รับบรกิ ารต้องเป็นนกั ศึกษา กศน. ท่ีลงทะเบยี นเรียนในหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับ การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ในภาคเรียนนัน้ ๆ 5.2 สถานศึกษาจัดทำแผนการจัดกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น ตามกรอบการจดั กิจกรรมเพอื่ พัฒนา คุณภาพผู้เรยี น 5.3 สถานศกึ ษาจัดสง่ แผนการจดั กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน เพอื่ ขอความเหน็ ชอบจากสำนกั งาน กศน. จังหวัด /กทม. 5.4 สถานศกึ ษาดำเนินการตามแผนการจัดกิจกรรมเพ่อื พัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น ตรวจสอบ ประเมนิ ผล การจดั กิจกรรม พรอ้ มเบกิ จ่ายเงินตามระเบยี บที่กำหนดใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายในแต่ละภาคเรียน และรายงานผลให้ สำนักงาน กศน. จังหวดั /กทม. ทราบ 5.5 สำนกั งาน กศน. จังหวัด/กทม. นเิ ทศติดตาม การจัดกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นของสถานศึกษา 5.6 ให้ใช้“กรอบการจัดกิจกรรมเพ่อื พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น ตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สำนกั งาน กศน.”ตง้ั แตภ่ าคเรียนท่ี 2/2561 เป็นต้นไป หมายเหตุ : กจิ กรรมเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียนทใี่ ช้เงนิ งบประมาณในการจัดกิจกรรมไม่นับเป็น ช่วั โมงกิจกรรมพฒั นา คณุ ภาพชีวติ (กพช.) ตามหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
4. บทความท่เี กีย่ วข้อง หลากหลายไอเดยี ทำช่องยูทปู ยงั ไงใหม้ ผี ตู้ ดิ ตามเยอะ ในปจั จบุ นั การหารายไดไ้ ม่ได้ถกู จำกัดอยู่บนแพลตฟอรม์ ใดแพลตฟอร์มหน่ึงแลว้ โดยเฉพาะยู ทูปที่มีผู้สามารถสร้างรายได้ถึงหลักล้านจากการสร้าง ช่องยูทูป หรือ Channel Youtube แล้วอย่าง Ryan หนนู อ้ ยวยั 7 ขวบ ทส่ี ามารถสร้างรายได้จากการสรา้ ง Channel ทชี่ ่ือว่า Ryan ToysReview ไดถ้ ึง 720 ลา้ น บาท จากการทำวิดีโอรีววิ แกะกลอ่ งของเล่น หรือทำอาหารงา่ ยๆ (ข้อมูลปี 2018) ด้วยเหตุผลเหล่านี้จึงไม่ต้องแปลกใจที่ใครๆ จะหันมาสนใจการสร้างรายได้จาก ยูทูป มากขึ้น และวันน้ี Am2b Marketing ก็ไม่พลาดที่จะรวบรวมไอเดียดีๆ เก่ียวกับสรา้ ง Youtube Channel ที่ผู้คนส่วน ใหญ่มักให้ความสนใจเข้าชม และมคี นท่ีประสบความสำเร็จจากการทำ Youtube Channel แบบน้ีมาแล้ว ไป ดกู นั เลย 1. Channel Youtube ที่แสดงบทเรียน การสอน การแก้ไขปัญหาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการซ่อมคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรม หรืออะไรก็ตามท่ีจะให้ผู้ชมสามารถเรียนรู้ได้เพียงแค่รับชม และทำตามวิดีโอท่ีถูกจัดทำ ข้ึนมา การทำวิดีโอประเภทน้ีคุณไม่จำเป็นจะต้องมีความเชี่ยวชาญในด้านของเทคโนโลยี ขอเพียงแค่มีความ เขา้ ใจ หรือเทคนคิ ดีๆ ในการแก้ไขปญั หาก็เพียงพอแล้ว 2. ช่องสำหรับให้คำแนะนำการใช้ชีวิต ช่วยผู้ชมของคุณออกจากปัญหาท่ัวไป ไม่ว่าเป็นเรื่องราวของสุขภาพ การเรียน ความสัมพันธ์ การเงิน ยิ่งหากคณุ มีความเช่ยี วชาญด้านใดดา้ นหนงึ่ ก็ย่ิงน่าสนใจ นอกจากนี้คุณก็ยัง สามารถขอให้ผชู้ มแสดงความคดิ เห็นในสิ่งท่พี วกเขาตอ้ งการคำแนะนำสำหรับวิดโี อในอนาคตของคณุ 3. การทำ Channel สำหรับแนะนำวิธีการ เทคนิคออกกำลังกาย การทำวิดีโอในลักษณะน้ีย่อมได้รับความ สนใจอยไู่ ม่น้อย เพราะการออกกำลงั กายโดยจ้างโคชสว่ นตัวมีคา่ ใช้จา่ ยมากพอสมควร 4. การสร้าง Channel Youtube แบบ Vlog (Video + log) จะเป็นการสร้างวิดีโอในรูปแบบท่ีเกี่ยวกับการ ถา่ ยทอดเร่อื งราวของตวั เอง ท่ที ำในชีวิตประจำวัน กิจกรรมทที่ ำบอ่ ยๆ หรือกิจกรรมท่ีตวั เองช่ืนชอบก็ได้ ซ่ึงจะ คล้ายกับการเขยี นไดอาร่ี แต่ต่างกนั ท่ีถกู นำเสนอในรปู แบบของวดิ โี อนนั่ เอง 5. Channel Youtube ท่ีถ่ายทอดวิดีโอในรูปแบบของการท้าทายความสามารถ ซ่ึงส่วนใหญ่ก็มักจะเป็นส่ิงท่ี คนปกติจะไม่ค่อยทำกัน อาจเป็นการท้าทายในเรื่องของความอดทนในเรื่องต่างๆ เพ่ือสร้างอารมณ์ร่วมกับผู้ เขา้ ชม ใหเ้ กิดความสนุก และรว่ มลุ้นไปดว้ ยในการดูวดิ โี อ 6. การทำช่องวิดโี อในรูปแบบของการรีวิว โดยการพดู ถงึ ความรู้สึกของตัวเอง เมือ่ ได้ดู ได้ฟงั หรือได้ใช้งานจริง โดยวิดีโอรปู แบบนี้มักถกู ใช้ในการรวี ิว หรือบอกเลา่ ความรูส้ กึ ของตัวเองหลังจากได้ดหู นัง ฟังเพลง หรอื จะเป็น การพดู ถงึ ความรสู้ กึ หลงั การใช้งานโทรศัพทม์ ือถือก็ไดเ้ ชน่ กัน 7. มีอะไรอยู่ในโทรศัพท์ของฉัน? การทำวิดีโอแบบนี้จะเป็นการบอกเล่าเร่ืองราวเกี่ยวกับโทรศัพท์ท่ีใช้งานอยู่ วา่ มีอะไรท่ีอยู่ในโทรศัพท์ ด้วยการพูดถึงส่วนต่างๆ ไมว่ ่าจะเปน็ ยี่ห้อ สี ลักษณะเครือ่ ง ลักษณะของเคส หรือ แอพพลิเคช่นั ทมี่ ีบนมอื ถอื ว่าใช้สำหรบั ทำอะไร แตไ่ มใ่ ชก้ ารทำวดิ ีโอในรูปแบบโฆษณา 8. การทำ Channel Youtube ด้วยวิดีโอตลกขำขัน เป็นการทำวิดีโอเพื่อลดความเครียด จากการใช้ชีวิตใน ประจำวัน โดยลักษณะของการทำวิดีโอก็อาจเป็นการแกล้งกัน อำกัน เล่นมุกที่ทำให้เกิดเสียงหัวเราะ การเล่า เร่อื งโจก๊ เรือ่ งเฮฮาที่ไดเ้ จอมาในการใชช้ ีวติ ประจำวัน หรือเรื่องทแี่ ตง่ ข้นึ มาเพอ่ื ใหร้ สู้ ึกขำขนั ก็ไดท้ ้งั นัน้ 9. การทำวดิ ีโอบน Youtube ที่จะทำหลังจากซ้ือสินคา้ ภายในรา้ นค้า หรือหา้ งสรรพสนิ ค้า และนำมาเปิดเพื่อ บรรยายวา่ สิ่งท่ีคุณซ้ือมาวันนี้คืออะไร ใช้ทำอะไร มีลักษณะแบบไหน มีความน่าสนใจมากน้อยอย่างไร และ ทำไมถึงซือ้ สนิ คา้ นม้ี า
ภาพท่ี 15 การรับชม youtube ผ่าน สมารท์ โฟน 10. หากคุณเป็นหนึ่งคนที่ร้องเพลงเพราะ การทำช่องสำหรับถ่ายทอดวิดีโอการร้องเพลงของคุณเอง นับว่า ไม่ใช่เร่อื งยากอะไร และยังทำให้คณุ มีชอื่ เสียงได้ง่ายๆ อีกด้วย ไม่ว่าจะเป็นการรอ้ งเพลงโดยการ Cover หรือ การแตง่ เพลงเปน็ ของตัวเอง แล้วนำมาเผยแพรบ่ น Channel Youtube กไ็ ด้เหมอื นกนั 11. การสร้างวิดีโอขึ้นเพ่ือแนะนำการท่องเที่ยว เย่ียมชมบ้านเกิดของคุณ หรืออีกหลายๆ สถานท่ีที่น่าสนใจ เพือ่ ใหค้ นที่ไม่เคยไป ไดช้ มและไดเ้ หน็ ในสิง่ ที่ไม่เคยเห็นเกีย่ วกบั สถานที่นนั้ ๆ 12. การรีวิวสินค้าจากการได้ทดลองใช้งานจริงจากตัวของคุณเอง ส่ิงที่คุณต้องทำสำหรับการทำวิดีโอนี้ก็คือ การหาหัวข้อหรือชื่อของผลิตภัณฑ์ที่กำลังเป็นท่ีนิยมเพ่ือนำมารีวิว เพราะในปัจจุบันการหาข้อมูลของ ผลิตภณั ฑ์ กส็ ามารถหาได้จากการเขา้ ชม Channel Youtube ไดแ้ ล้วเชน่ กนั 13. การสร้างวิดีโอที่จะถ่ายทอดปฏิกิริยา หรือความรู้สึกของใครสักคน ที่เกิดข้ึนจากการรับชมอะไรสักอย่าง อาจเป็นการดูหนัง ฟังเพลง โดยในวิดีโอจำเป็นจะต้องแสดงสิ่งท่ีกำลังรับชม และผู้ที่กำลังรับชมควบคู่กันไป เพือ่ ให้ผู้ท่เี ขา้ มาชมวดิ ีโอสามารถเขา้ ใจได้ว่ากำลังดูอะไร ทำไมคนในคลิปวิดีโอถงึ แสดงปฏกิ ิริยา หรือความรสู้ ึก แบบนอี้ อกมา 14. การรีววิ เกม จะเปน็ วิดีโอทพี่ ูดถึงรายละเอียดของเกม ไม่ว่าจะเป็นราคา สถานทจี่ ดั จำหน่าย ความรู้สึกเมื่อ ได้ทดลองเล่นเกมเพ่ือถ่ายทอดข้อมูลให้กับผเู้ ขา้ ชม ซ่ึงถือได้ว่าเป็นวิดีโอท่ีใช้ดูเพ่ือประกอบการตัดสินใจว่าจะ ซื้อเกมนห้ี รือไมก่ ว็ า่ ได้ 15. การทำวิดีโอในรปู แบบของการถา่ ยทอดวธิ ีการทำอาหารจากสตู รของครอบครวั ซ่ึงอาจเป็นสตู รลับท่สี ืบต่อ กนั มาในครอบครัว หรอื เป็นวิธีการทำอาหารในแบบของครอบครัวท่ีไม่เหมือนใครถงึ แม้จะเป็นเมนูเดียวกันก็ ตาม 16. การทำวิดีโอในรูปแบบของการบอกเล่าเร่ืองราวของประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจภายในประเทศ หรือ ตา่ งประเทศกไ็ ด้ เพื่อให้ความรู้แกค่ นทว่ั ไป 17. การสร้างวิดีโอเพอื่ อธบิ ายถึงวธิ กี ารดูแลสตั ว์เล้ียง ซ่ึงคณุ อาจเริ่มการสรา้ งวิดีโอจากสัตวเ์ ลยี้ งตัวโปรดทีค่ ุณ ชื่นชอบก็ได้ โดยสิ่งที่คุณต้องพูดถึงในการทำวิดีโอน้ีก็จะเป็นวิธีการดูแลข้ันพื้นฐาน การสังเกตพฤติกรรมของ สัตวเ์ ล้ยี ง หรอื ทุกส่งิ ท่ีคุณร้เู กีย่ วกับสตั ว์เลย้ี งชนดิ น้ี เพ่อื แนะนำให้คนทไี่ มม่ คี วามรใู้ นการเลย้ี งสตั ว์เข้ามาชม 18. ทำวิดีโอโดยการอธิบายถึงที่อยู่อาศยั ของสัตว์ เหมอื นกับการทำสารคดีทั่วไป แต่สามารถทำในรูปแบบขอ งอนิเมชนั่ เพื่อเป็นสอ่ื การเรียนรสู้ ำหรบั เดก็ ก็น่าสนใจไมน่ อ้ ยเช่นกัน 19. การสรา้ งวิดีโอในรูปแบบของการพูดถึงข่าวให้น่าสนใจมากยง่ิ ข้ึน ไม่ว่าจะเป็นข่าวบนั เทิง ข่าวการเมือง ซึ่ง ในการบรรยายอาจสอดแทรกความรู้สึกของคุณลงไปด้วยก็ได้ ส่วนการเลือกหัวข้อข่าวเพื่อนำมาทำวิดีโอนั้น หากทำได้ก็ควรเลือกขา่ วทกี่ ำลงั เป็นกระแส หรอื ข่าวทม่ี ผี ้คู นสนใจมาเป็นหัวข้อในการทำคลิปวิดีโอ 20. การทำวิดีโอการรีวิว หรือการพูดถึงคุณสมบัติ ความสามารถของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ว่าสามารถทำ อะไรได้บ้าง พรอ้ มกบั การสาธิตวธิ ีการใช้ประกอบการบรรยายไปดว้ ยกไ็ ด้ โดยการเลือกอปุ กรณท์ จ่ี ะมารีวิวควร เลือกอปุ กรณท์ ีอ่ อกมาใหม่ หรอื เปน็ ที่นิยม เพราะเพ่มิ ความน่าสนใจให้กบั วิดโี อมากขึน้
เป็นอย่างไรกันบ้างกับไอเดียในการสร้างช่อง ยูทูป ให้มียอดผู้ติดตามสูงสุด ท่ีคุณได้อ่านไป ขอบอกไว้เลยว่า บางไอเดียนั้น สามารถนำไปใช้ หรือต่อยอดให้เกิดการติดตามจากผู้ชมท่ีสนใจช่องของคุณ ได้อย่างมากมาย แน่นอน
บทที่ 3 วธิ ีการดำเนินงาน ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมอื งชลบรุ ี ได้เห็นความสำคัญของการ เรียนรูด้ ้าน ICT ของสถานศกึ ษาและการสง่ เสรมิ การอ่าน จึงได้ให้หอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวดั ชลบรุ ี จดั ทำ โครงการดังกล่าว ใหก้ บั นักศึกษา กศน.อำเภอเมอื งชลบรุ ี มีขนั้ ตอนดังน้ี 1.ประชุมบคุ ลากรกรรมการ กศน.อำเภอเมอื งชลบุรี 2.จดั ตั้งคณะทำงาน 3.ประสานงานกบั ผู้เรียน/วิทยากรผ้สู อน 4.ดำเนนิ งานตามแผน 5.วดั ผล/ประเมินผล/สรปุ ผลและรายงาน 1. ประชมุ บคุ ลากรกรรมการ กศน.อำเภอเมืองชลบุรีและห้องสมุดประชาชนจังหวดั ชลบุรี กศน. อำเภอเมืองชลบุรีและหอ้ งสมุดประชาชนจังหวดั ชลบรุ ี ได้วางแผนประชุมบคุ ลากรกรรมการ กศน เพอื่ หาแนวทางในการดำเนินงานและกำหนดวัตถปุ ระสงค์รว่ มกนั 2. จดั ต้งั คณะทำงาน จดั ทำคำสัง่ แตง่ ต้ังคณะทำงานโครงการ เพือ่ มอบหมอบหมายหน้าที่ในการทำงานใหช้ ัดเจน เช่น 2.1 คณะกรรมการที่ปรกึ ษา/อำนวยการ มีหนา้ ทอ่ี ำนวยความสะดวก และใหค้ ำปรึกษาแกไ้ ขปัญหา ที่เกดิ ข้นึ 2.2 คณะกรรมการฝา่ ยประชาสมั พันธ์ มหี นา้ ทป่ี ระชาสมั พันธร์ บั สมคั รผู้เข้าร่วมโครงการ 2.3 คณะกรรมการฝา่ ยรบั ลงทะเบยี นและประเมนิ ผลหน้าทจี่ ัดทำหลักฐานการลงทะเบียนผู้เขา้ ร่วม โครงการ และรวบรวมการประเมนิ ผล และรายงานผลการดำเนนิ การ 3. ประสานงานกบั ผู้เรยี น/วทิ ยากรผูส้ อน ประสานงานกับผ้เู รยี นและวทิ ยากร เชน่ ประสานเร่อื งสถานทใ่ี ชท้ ำการเรยี นการสอน ประสานงาน กบั วิทยากรผู้สอน เร่อื งเนอ้ื หา หลักสูตรการเรยี นการสอน รูปแบบการเรยี นการสอน วัน เวลา สถานที่ 4. ดำเนินการตามแผนงานโครงการ โครงการนกั อ่านผ่านออนไลน์ RPO Reading project online 5. สรปุ ผลและรายงาน จากการดำเนนิ งานโครงการนกั อ่านผา่ นออนไลน์ RPO Reading project online ณ กศน.อำเภอเมอื งชลบรุ ี ครง้ั ท่ี 1 เดอื นพฤษภาคม –มิถนุ ายน 2562 ครงั้ ท่ี 2 เดือนสงิ หาคม - กันยายน 2562 มผี ู้เขา้ รว่ มอบรมจำนวน 814 คน โดยมีคณะครูผมู้ คี วามรดู้ ้านสอื่ ดิจิทัลเป็นวิทยากร จะได้นำแนวทางไปใช้ ข้อมูลพิจารณาหลักสูตร เน้ือหาตลอดจนเทคนคิ วิธีการจัดการกระบวนการเรียนรู้ตา่ งๆ เพ่ือใหต้ อบสนองความ ตอ้ งการของผู้เขา้ อบรมไดร้ บั ประโยชนน์ ำไปใชไ้ ดจ้ ริงตามศักยภาพของแต่ละคน ใหม้ ีคณุ ภาพชวี ิตที่ดีตอ่ ไป ได้ ดำเนนิ การตามขน้ั ตอนและไดร้ วบรวมขอ้ มูลจากแบบสำรวจสถิติที่ใช้ในการวเิ คราะห์ คอื โดยกำหนดคา่ ลำดับ ความสำคัญของการประเมินผลออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้
มากทส่ี ดุ ใหค้ ะแนน 5 มาก ใหค้ ะแนน 4 ปานกลาง ใหค้ ะแนน 3 น้อย ใหค้ ะแนน 2 น้อยทสี่ ุด ใหค้ ะแนน 1 ในการแปลผล ผู้จัดทำได้ใช้เกณฑก์ ารพิจารณาจากคะแนนเฉลีย่ ตามแนวคดิ ของ บุญชม ศรสี ะอาด และบุญสง่ นิวแกว้ (2535, หนา้ 22-25) 4.51-5.00 หมายความวา่ ดีมาก 3.51-4.50 หมายความว่า ดี 2.51-3.50 หมายความว่า ปานกลาง 1.51-2.50 หมายความวา่ นอ้ ย 1.00-1.50 หมายความวา่ ตอ้ งปรบั ปรงุ นักศึกษา จะตอ้ งกรอกขอ้ มูลตามแบบสอบถาม เพื่อนำไปใชใ้ นการประเมินผลของการจัดกิจกรรม ดังกล่าว และจะได้นำไปเป็นข้อมูล ปรบั ปรงุ และพฒั นา ตลอดจนใช้ในการจัดทำแผนการดำเนินการในปตี ่อไป
บทท่ี 4 ผลการดำเนินงานและการวเิ คราะหข์ ้อมลู ในการจดั โครงการนกั อา่ นผา่ นออนไลน์ RPO Reading project online ครัง้ ที่ 1 เดอื นพฤษภาคม –มถิ นุ ายน 2562 ครง้ั ที่ 2 เดือน สิงหาคม - กันยายน 2562 กศน.อำเภอเมอื งชลบรุ ี จังหวดั ชลบรุ ี ผเู้ ข้าร่วม โครงการ จำนวน ..814...คน ซึ่งไดส้ รปุ ผลจากแบบสอบถามและนำเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ซึง่ ไดส้ รุปผล จากแบบสอบถามและนำเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมลู จากผเู้ ข้ารว่ มโครงการฯ จำนวน.....162..........ชุด ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลส่วนตวั ผู้ตอบแบบถามของผูเ้ ข้าร่วมโครงการนกั อ่านผา่ นออนไลน์ RPO Reading project online ไดน้ ำมาจำแนกตามเพศ อายุ และอาชพี ผู้จดั ทำได้นำเสนอจำแนกตามข้อมูล ดงั ปรากฏตามตารางท่ี 1 ดงั น้ี ตารางท่ี 1 แสดงคา่ ร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามเพศ เพศ ชาย หญงิ ความคิดเหน็ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมโครงการนักอา่ นผ่าน .......65.. .....40.12......... .........97......... .....59.87......... ออนไลน์ RPO Reading project online จากตารางท่ี 1 แสดงว่า ผตู้ อบแบบสอบถามของผเู้ ข้ารว่ มโครงการนักอ่านผ่านออนไลน์ RPO Reading project online .เป็นชาย...65... คน คิดเป็นร้อยละ ....41.12.... เปน็ หญิง .....97.... คดิ เป็นร้อยละ .....59.87... ตารางที่ 2 แสดงคา่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอายุ อายุ ต่ำกว่า 15 ปี 15-29 ปี 30-39 ปี 40-49 ปี 50-59 ปี 60 ปีข้นึ ไป จำ รอ้ ย จำ ร้อยละ จำ ร้อยละ จำ ร้อย จำ รอ้ ย จำ ร้อย นวน ละ นวน นวน นวน ละ นวน ละ นวน ละ ความคดิ เหน็ ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการนัก - - 134 82.72 28 17.28 อ่านผ่านออนไลน์ RPO Reading project online จากตารางท่ี 2 แสดงวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถามของผู้เขา้ ร่วมผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมโครงการ.....โครงการนัก อ่านผ่านออนไลน์ RPO Reading project online..... ในชว่ งอาย.ุ .. 15-29......ปี มีจำนวนสูงสุด ......134..... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ......87.72...... ในชว่ งอาย.ุ ...... 30-39..ปี.. มีจำนวน ....28......คน คิดเปน็ ร้อยละ ..17.28... ตามลำดบั
ตารางที่ 3 แสดงค่ารอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามอาชพี อาชพี รับจ้าง ค้าขาย รบั ราชการ เกษตรกรรม อ่ืนๆ ความคิดเห็น จำ รอ้ ยละ จำ ร้อย จำ รอ้ ย จำ ร้อย จำ รอ้ ยละ นวน นวน ละ นวน ละ นวน ละ นวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 107 66.04 16 9.87 - - - - 39 24.07 โครงการนักอ่านผา่ น ออนไลน์ RPO Reading project online จากตารางที่ 3 แสดงวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามของผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการนกั อ่านผา่ นออนไลน์ RPO Reading project online........ มีอาชีพ.....รบั จา้ ง..... จำนวน....107......คน คิดเป็นรอ้ ยละ ......66.04........อาชีพ......คา้ ขาย.....จำนวน.......16......คน คิดเป็นร้อยละ ....9.87........อาชีพ........อ่นื ๆ... จำนวน......39.......คน คิดเป็นร้อยละ .....24.07 ..... ตามลำดับ ตารางท่ี 4 แสดงค่ารอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจำแนกตามระดับการศึกษา การศึกษา ประถมฯ ม.ต้น ม.ปลาย สงู กว่า ม.ปลาย ความคดิ เหน็ จำ รอ้ ยละ จำ รอ้ ยละ จำ รอ้ ยละ จำ รอ้ ย นวน นวน นวน นวน ละ ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมโครงการนักอ่าน - - 56 34.57 106 65.43 - - ผา่ นออนไลน์ RPO Reading project online........ จากตารางที่ 4 แสดงวา่ ผูต้ อบแบบสอบถามของผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมโครงการนักอ่านผ่านออนไลน์ RPO Reading project online........มีการศึกษาระดับประถมศึกษา จำนวน ....-......... คน คิดเป็นร้อยละ .......-.........ระดับม.ต้น จำนวน.......56...... คน คิดเป็นรอ้ ยละ......34.57......ระดับ ม.ปลาย จำนวน.........105... คน คดิ เปน็ ร้อยละ.....65.43......และระดับสูงกว่าม.ปลาย จำนวน.....-.......... คน คิดเป็นร้อยละ...........-........
ตอนที่ 2 ข้อมลู เกี่ยวกบั ความคดิ เหน็ ของผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการนักอา่ นผ่านออนไลน์ RPO Reading project online........ดังปรากฏในตารางที่ 5 ตารางท่ี 5 ผลการประเมนิ ความพึงพอใจในโครงการนักอา่ นผา่ นออนไลน์ RPO Reading project N = .....162......... รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ x̄ S.D. อนั ดับ ระดับ ท่ี ผลการ ประเมิน 1. เน้อื หาตรงตามความตอ้ งการ 4.29 0.78 9 ดี 2. เนื้อหาเพยี งพอต่อความต้องการ 4.41 0.54 4 ดี 3. เนื้อหาปจั จุบนั ทันสมัย 4.34 0.47 8 ดี 4. เน้อื หามีประโยชน์ตอ่ การนำไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชีวิต 4.28 0.76 10 ดี 5. การเตรยี มความพรอ้ มก่อนจัดกิจกรรม 3.53 0.58 16 ดี 6. การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ 4.26 0.85 11 ดี 7. การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 4.37 0.52 6 ดี 8. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เป้าหมาย 4.37 0.66 7 ดี 9. วธิ กี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ 4.48 0.55 3 ดี 10. วิทยากรมคี วามรูค้ วามสามารถในเรือ่ งทถี่ ่ายทอด 4.14 0.54 15 ดี 11. วทิ ยากรมเี ทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม 4.23 0.77 12 ดี 12. วิทยากรเปดิ โอกาสใหม้ ีสว่ นร่วมและซกั ถาม 4.40 0.53 5 ดี 13. สถานท่ี วัสดุ อปุ กรณแ์ ละสง่ิ อำนวยความสะดวก 4.22 0. 44 13 ดี 14. การส่อื สาร การสร้างบรรยากาศเพือ่ ให้เกิดการเรียนรู้ 4.52 0.50 2 ดมี าก 15. การบริการ การช่วยเหลือและการแกป้ ัญหา 4.19 0.42 14 ดี 16. ความพึงพอใจในภาพรวมของผ้รู บั การอบรม 4.59 0.52 1 ดมี าก รวม 4.29 0.13 ดี จากตาราง 5 พบว่า โดยเฉล่ยี แล้วผู้เข้ารับการอบรมในโครงการ โครงการนกั อ่านผา่ นออนไลน์ RPO Reading project .มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ....ด.ี ...(x=̄ ...4.29.....) เมื่อวิเคราะห์เปน็ รายข้อพบวา่ ลำดับที่ 1 ...ความพึงพอใจในภาพรวมของผูร้ ับการอบรม..... (x̄=....4.59...) ลำดบั ที่ 2 ...การสอ่ื สาร การสรา้ ง บรรยากาศเพอ่ื ให้เกิดการเรียนรู้.... (x=̄ ....4.52...)ลำดบั ที่ 3 ...วิธีการวัดผล/ประเมินผลเหมาะสมกับ วตั ถปุ ระสงค(์ x̄=...4.48......) ลำดับที่ 4 ..เน้อื หามีประโยชนต์ ่อการนำไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพชีวติ .. (x=̄ .... 4.41....)ลำดับท่ี 5 ....วิทยากรเปดิ โอกาสให้มสี ่วนรว่ มและซกั ถาม....... (x=̄ ....4.40.....) ลำดบั ที่ 6 ....การจัด กิจกรรมเหมาะสมกับเวลา.......... (x̄=.....4.37....) ลำดับที่ 7 ..การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย... (x=̄ ....4.37...)ลำดับที่ 8 ....เนอ้ื หาปัจจบุ ันทนั สมัย..... (x̄=....4.34.....) ลำดับท่ี 9 ....เน้ือหาตรงตามความ ตอ้ งการ.................(x̄=...4.29......) ลำดบั ที่ 10 ..เนื้อหามีประโยชนต์ อ่ การนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชวี ิต.... (x̄=....4.28.....)ลำดบั ที่ 11 ...การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์..... (x=̄ .....4.26....) ลำดับท่ี 12 .. วิทยากรมเี ทคนิคการถ่ายทอดใช้สอ่ื เหมาะสม.... (x̄=...4.23......) ลำดบั ท่ี 13 ...สถานท่ี วัสดุ อุปกรณแ์ ละสิง่ อำนวยความสะดวก.....(x̄=..4.22...) ลำดบั ท่ี 14 ...วิทยากรมคี วามรูค้ วามสามารถในเรือ่ งทีถ่ า่ ยทอด........
(x=̄ ...4.19......) ลำดบั ที่ 15 ....วิทยากรมีความร้คู วามสามารถในเรือ่ งที่ถ่ายทอด.... (x̄=.....4.14....)ลำดบั ท่ี 16 .....การเตรยี มความพร้อมกอ่ นจดั กจิ กรรม...... (x=̄ ....3.53.....) ตามลำดับ
บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ โครงการนักอา่ นผ่านออนไลน์ RPO Reading project ซ่งึ มีวตั ถุประสงค์.เพ่ือใหน้ กั ศกึ ษา กศน. ได้มี การส่งเสรมิ การอา่ น และเพิ่มอตั ราการอา่ น และให้นักศกึ ษา กศน.อำเภอเมืองชลบรุ ี ใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลและ สื่อออนไลนใ์ นการแสดงออกในเชิงสรา้ งสรรค์ จดั คร้ังที่ 1 เดือนพฤษภาคม –มิถุนายน 2562 และครัง้ ที่ 2 เดอื นสงิ หาคม - กันยายน 2562 ณ.อำเภอเมอื งชลบรุ ี จงั หวดั ชลบุรีผู้เข้ารว่ มโครงการ จำนวนทงั้ หมด ..814.. คน เลอื กจากจำนวนประชากร กล่มุ ตัวอยา่ ง 162 คน (ขนาดประชากรของกลมุ่ ตัวอยา่ งเครซแ่ี ละมอร์แกน) ใน การทำทง้ั น้ี ขอสรุปและอภปิ รายผลและข้อเสนอแนะดังน้ี 1. สรุปผล 1.1 ผูต้ อบแบบสอบถามของโครงการ..นักอา่ นผา่ นออนไลน์ RPO Reading project.....จำนวน ทง้ั หมด......162....คน Reading project online .เปน็ ชาย...65... คน คดิ เปน็ ร้อยละ ....41.12.... เป็นหญิง .....97.... คิดเป็นร้อยละ .....59.87... ซ่ึงมชี ่วงอาย.ุ .. 15-29......ปี มีจำนวนสูงสุด ......134.....คน คิดเป็นร้อย ละ ......87.72...... ในชว่ งอายุ....... 30-39..ปี.. มีจำนวน ....28......คน คิดเป็นร้อยละ ..17.28...ตามลำดบั .. และมีอาชพี .....รบั จ้าง..... จำนวน....107......คน คิดเป็นร้อยละ ......66.04........อาชีพ......คา้ ขาย.....จำนวน .......16......คน คดิ เป็นร้อยละ ....9.87........อาชพี .....อ่นื ๆ...จำนวน......39.......คน คิดเป็นร้อยละ .....24.07... ตามลำดับ 1.2 ข้อมลู เกย่ี วกับความคดิ เห็นของผู้เขา้ รบั การอบรมในโครงการนักอา่ นผา่ นออนไลน์ RPO Reading project.....มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ.....ด.ี ..โดยเฉลยี่ แล้วผู้เข้ารบั การอบรมในโครงการ โครงการ นักอา่ นผ่านออนไลน์ RPO Reading project .มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ....ดี....(x=̄ ...4.29.....) เมือ่ วเิ คราะหเ์ ป็นรายข้อพบว่า ลำดบั ท่ี 1 ...ความพึงพอใจในภาพรวมของผู้รบั การอบรม..... (x̄=....4.59...) ลำดับท่ี 2 ...การสื่อสาร การสรา้ งบรรยากาศเพือ่ ใหเ้ กดิ การเรยี นร้.ู ... (x=̄ ....4.52...) ลำดับท่ี 3 ...วิธีการวัดผล/ ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์(x̄=...4.48......) ลำดับท่ี 4 ..เนอ้ื หามปี ระโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการ พฒั นาคุณภาพชวี ติ .. (x̄=....4.41....) ลำดบั ท่ี 5 ....วิทยากรเปิดโอกาสใหม้ ีส่วนรว่ มและซักถาม....... (x̄=.... 4.40.....) ลำดบั ที่ 6 ....การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับเวลา.......... (x=̄ .....4.37....) ลำดับท่ี 7 ..การจัดกจิ กรรม เหมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย... (x=̄ ....4.37...)ลำดับท่ี 8 ....เน้อื หาปัจจุบันทนั สมัย..... (x̄=....4.34.....) ลำดับที่ 9 ....เน้ือหาตรงตามความตอ้ งการ...(x̄=...4.29......) ลำดบั ที่ 10 ..เนอ้ื หามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพัฒนา คุณภาพชีวิต. (x=̄ ..4.28.....)ลำดับที่ 11 ...การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์..... (x=̄ .....4.26....) ลำดบั ที่ 12 ..วิทยากรมเี ทคนิคการถ่ายทอดใช้สือ่ เหมาะสม.... (x=̄ ...4.23......) ลำดับที่ 13 ...สถานท่ี วัสดุ อปุ กรณ์และส่งิ อำนวยความสะดวก.....(x̄=..4.22...) ลำดับท่ี 14 ...วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรอื่ งท่ี ถา่ ยทอด... (x̄=...4.19......) ลำดับท่ี 15 ....วทิ ยากรมีความร้คู วามสามารถในเร่ืองที่ถ่ายทอด.... (x=̄ .....4.14....) ลำดับที่ 16 .....การเตรียมความพร้อมก่อนจดั กิจกรรม...... (x̄=....3.53.....) ตามลำดบั
Search