๒ เมษายน วันคล้ายวนั พระราชราชสมภพ สมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ดว้ ยเกลา้ ดว้ ยกระหม่อมขอเดชะขา้ พระพุทธเจา้ หอ้ งสมดุ ประชาชนจังหวดั ชลบุรี
พระราชประวตั ิ สมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระองคท์ ี่ ๓ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันเสาร์ที่ ๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๙๘ ณ พระที่น่ังอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ได้รับพระราชทานพระนามว่า สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้า สิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย์ ด้วยเหตุที่ทรงบาเพ็ญพระราชกิจจานุกิจนานัปการอัน เป็นประโยชน์แก่แผ่นดินและราษฎร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงมีพระบรมราชโองการโปรด เกล้าโปรดกระหม่อมให้สถาปนาพระราชอิสริยยศ และพระราชอิสริยศักดิ์ เป็น สมเด็จพระเทพ รตั นราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคณุ ากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี ในการพระราชพิธี เฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๒๐ และจากพระวิริยะอุตสาหะในการทรงศึกษา หาความรู้และบาเพ็ญพระราชกิจนานัปการ พระเกียรติคุณ เป็นที่ประจักษ์ชัดแจ้ง ทั้งใน ราชอาณาจักร และนานาชาติ จึงทรงรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ แห่งราชอาณาจักร ไทย และทรงรบั การทูลเกล้า ฯ ถวายเครือ่ งราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ
พระราชประวตั ิ ดา้ นการศึกษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเริ่มต้นการศึกษาระดับอนุบาล เมื่อพุทธศักราช ๒๕๐๑ ณ โรงเรยี นจิตรลดา ในเขตพระราชฐาน พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสิต โดยทรงศึกษา ต่อเนื่องไปจนถึง ระดับมัธยมศึกษา ตลอดระยะเวลาทีท่ รงศึกษา ทรงสนพระทัยใส่ในการเรียน โปรดการอา่ น และการศึกษาวรรณคดี ทั้ง ของไทยและต่างประเทศ ทรงเริ่มแต่งคาประพันธ์ต่าง ๆ ท้ังร้อยแก้ว และร้อยกรอง ต้ังแต่ยังทรง ศึกษาในช้ัน ประถมศึกษา โปรดการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน ทั้งด้านกีฬา ดนตรี บันเทิง และกิจกรรมเพื่อ สาธารณประโยชน์
พระราชประวัติ ดา้ นการศึกษา หลังจากทรงสาเร็จการศึกษา ประโยคมธั ยมศึกษาตอนปลาย ในแผนกศิลปะ จากโรงเรียนจิตรลดา เมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๖ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสอบเข้าศึกษาต่อ ในระดับอุดมศึกษา ณ คณะอักษร ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แม้จะมีพระราชภารกิจ โดยเสด็จพระราชดาเนิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเดจ็ พระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ไปเยีย่ มราษฎรในภูมิภาคต่าง ๆ แต่ก็ทรงมีพระวิริยะอุตสาหะ ในการเรียน อย่างยิ่ง และยังทรงร่วม กิจกรรมของคณะ และของมหาวิทยาลัย เช่นเดียวกับนิสิตทั่วไป ในปีการศึกษา ๒๕๑๙ ทรงสาเร็จการศึกษา และทรงเข้ารับพระราชทานปริญญา อักษรศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง เหรียญทอง สาขาวิชาประวตั ิศาสตร์
พระราชประวตั ิ ดา้ นการศึกษา ในพทุ ธศักราช ๒๕๒๐ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสมคั รเข้าศกึ ษาต่อ ระดบั มหาบัณฑิต ณ มหาวิทยาลัยศิลปากร และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พร้อมกันทั้งสองแห่ง ทรงสาเร็จการศึกษาศิลปศาสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาจารึกภาษาตะวันออก จากมหาวิทยาลัยศิลปากร ในปีการศึกษา ๒๕๒๒ หลังจากน้ัน ทรงสาเร็จ การศึกษา อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาบาลี – สันสกฤต จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปีการศึกษา ๒๕๒๔ ต่อมา ด้วยความสนพระทัยงานด้านการพัฒนา โดยอาศัยหลักวิชาการศึกษา หรือการเรียนรู้เป็นแกน จึงทรง สมัครเข้าศึกษาต่อ ในระดับดุษฎีบัณฑิต ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ทรงสาเร็จการศึกษา และรับพระราชทาน ปรญิ ญา การศึกษาดษุ ฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษาศาสตร์ในปีการศึกษา ๒๕๒๙
พระราชประวตั ิ ดา้ นการศกึ ษา หลักคิดในการใชก้ ารศึกษาเป็นปจั จยั หลกั ในการสรา้ ง และพัฒนาความรู้ ความคิดของประชาชน และเป็นเครื่องมือ ในการพัฒนาชุมชน และสังคม ที่ทรงได้รับจากการศึกษา ในระดับดุษฎีบัณฑิต ผนวกกับประสบการณ์ ที่ทรงเรียนรู้ จากการโดยเสด็จพระราชดาเนิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงเป็นพ้ืนฐานความรู้ที่แข็งแกร่ง ในการทรงงานพัฒนา ของพระองค์เอง ในเวลาต่อมา จวบจนปจั จุบนั นอกเหนือจากการศึกษาในระบบ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยาม บรมราชกมุ ารี ยงั สนพระทัยศึกษาเพิ่มเติม ดูงาน ประชุมสัมมนา และฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อเพิ่มพูนทักษะ ความรู้ ในวิชาการด้านอ่ืน ๆ อีกหลายด้าน เช่น ภูมิศาสตร์กายภาพ อุทกศาสตร์ พฤกษศาสตร์ การจัดการทรัพยากรดิน และ น้า รีโมตเซนซิง่ ระบบภมู ิสารสนเทศ แผนที่ โภชนาการ เป็นต้น ด้วยมีพระราชประสงค์ ที่จะนาความรู้ที่ได้จากวิชาการ เหล่านี้ ไปประยุกต์ใช้ในการทรงงานพฒั นาชุมชน และยกระดับชีวติ ความเป็นอยู่ของราษฎร
พระราชประวัติ ด้านการรบั ราชการ หลังจากทรงสาเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาแล้ว ในพุทธศักราช ๒๕๒๓ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเข้ารับราชการเป็นอาจารย์กองวิชากฎหมายและ สังคมศาสตร์ ส่วนการศึกษา โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ทรงสอนวิชาประวัติศาสตร์ไทยและ สังคมวิทยา ต่อมาในพุทธศักราช ๒๕๓๐ ได้มีการตั้งกองวิชาประวัติศาสตร์ข้ึนใหม่ โดยสมเด็จ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี พระยศพนั เอก ทรงดารงตาแหน่งหัวหน้ากอง (ซึ่งต่อมา ได้มีการขยายตาแหน่งเป็นผู้อานวยการกองในพุทธศักราช ๒๕๓๒ พร้อมกับกองอื่น ๆ) ทรงเป็น ผู้อานวยการกองวิชาประวัติศาสตร์พระองค์แรกจนถึงปัจจุบัน มีพระราชภารกิจ ทั้งการบริหาร การสอน และงานวิชาการอื่น ๆ ต่อมา ทรงได้รบั พระราชทานพระยศ พลเอก ในพุทธศักราช ๒๕๓๙ และทรงได้รับโปรดเกล้า ฯ แต่งต้ังเป็นศาสตราจารย์ (อัตราจอมพล) ในพุทธศักราช ๒๕๔๓ นอกจากนี้ ยังได้ทรงรับเชิญเป็นอาจารย์พิเศษบรรยายวิชาการ ณ สถาบันการศึกษาต่าง ๆ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัย ศิลปากร
พระราชประวตั ิ ด้านการรับราชการ
พระราชประวตั ิ ดา้ นพระราชกจิ นอกเหนือจากพระราชภารกิจในหน้าที่ราชการ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงปฏิบัติพระ ราชกรณียกิจด้านต่าง ๆครอบคลุมงานสาคญั ๆ อันเป็นประโยชน์หลกั ของบ้านเมือง เกือบทุกด้าน และทรงได้รบั ความไว้ วางพระราชหฤทยั ให้ทรงปฏิบตั ิ พระราชกรณียกิจที่ทรงสืบสาน ต่อจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระ นางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ตามที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ มอบหมาย โดยเฉพาะการทรงงาน ด้านการบริหาร องค์การ และมูลนิธิ เพอ่ื สาธารณกุศล ทรงดารงตาแหน่งประธานกรรมการมลู นิธิชยั พฒั นา ประธานมลู นิธิรางวลั สมเด็จ เจ้าฟ้ามหิดล อปุ นายิกาผู้อานวยการสภากาชาดไทย รวมท้ังการเสด็จพระราชดาเนินแทนพระองค์ และการปฏิบัติพระ ราชกรณียกิจแทนพระองค์ ในโอกาสต่าง ๆ เช่น การพระราชทานพระราชวโรกาสให้คณะบุคคลต่าง ๆ เฝ้า ฯ การพระราชทานปริญญาบตั ร การถวายผ้าพระกฐนิ เป็นต้น
พระราชประวตั ิ ดา้ นพระราชกจิ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีทรงจัดต้ังโครงการต่าง ๆ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและ เยาวชนผยู้ ากไร้ในชนบท โดยเฉพาะการส่งเสริมสุขภาพอนามัย และแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ทรงเห็นว่าเด็กจะ เรียนหนังสือไม่ได้ ถ้าท้องหิว หรือเจ็บป่วย จึงทรงริเริ่มโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ในโรงเรียนตารวจตระเวน ชายแดน ตั้งแต่พุทธศักราช ๒๕๒๓ ทรงเห็นความสาคัญของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงพระราชทานพระราชทรัพย์ให้ ก่อสร้างโรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร ศูนย์การเรียนชุมชนสาหรับชาวไทยภูเขา ห้องเรียนเคลื่อนที่ ท้ังพระราชทานพระราช ทรัพย์เป็นค่าตอบแทนครูผู้สอน และทรงจัดหาอุปกรณ์การเรียนการสอนพระราชทาน เพื่อให้เยาวชนมีโอกาสได้รับ การศึกษาที่เหมาะสม จะได้ มีความสามารถในการพึ่งตนเอง และเป็นที่พึ่งของครอบครัวได้ในอนาคต ทรงติดตามการ ดาเนินงาน โครงการตามพระราชดาริอย่างใกล้ชิด และเสด็จพระราชดาเนินเยี่ยมราษฎรในโครงการ ด้วยพระองค์เอง เสมอ
พระราชประวัติ ดา้ นพระราชกิจ จากการที่มีประชาชนและหน่วยงานต่าง ๆ ได้ทูลเกล้า ฯ ถวายเงินเพ่ือโดยเสด็จพระราชกุศล หรือสมทบทุน ดาเนินงานโครงการพัฒนาต่าง ๆ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้นาเงินที่มีผู้ทูลเกล้า ฯ ถวายดังกล่าวมา จัดต้ัง เป็นกองทุน ทุนการกุศลสมเด็จพระเทพ ฯ เพื่อให้การสงเคราะห์ช่วยเหลือประชาชนผู้ทุกข์ยากเดือดร้อน หรือเพื่อการ สาธารณประโยชน์อ่ืน ๆ นอกเหนือจากงานพัฒนา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สนพระทัย งานศิลปวัฒนธรรมไทยเป็นอย่างยิ่ง มีพระราชดาริว่า ควรจะมีการถ่ายทอดงานด้านวัฒนธรรมไปสู่เด็กและเยาวชนรุ่น ใหม่ ผ่านกระบวนการจัดการศึกษาอบรม ท้ังการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้คนรุ่นใหม่เหล่านี้ได้เรียนรู้ ตระหนักความสาคัญ รักและผูกพันในศิลปวัฒนธรรมของชาติ สามารถสืบทอดเพื่อ การอนุรักษ์และอาจพัฒนาเป็นอาชีพได้ ทรงสนับสนุนการดาเนินกิจกรรมเพื่ออนุรักษ์และสืบทอดมรดกทาง ศิลปวฒั นธรรมของไทย พระอุตสาหะในการปฏิบัติกิจการอันเป็นประโยชน์แก่บ้านเมืองและประชาชน เป็นที่ประจักษ์ แก่พสกนิกรทว่ั หน้า จึงทรงได้รบั การทลู เกล้า ฯ ถวายรางวัลเกียรติยศ พระเกียรติคุณ ตาแหน่งเกียรติยศ และปริญญา กิตติมศักดิ์ จากสถาบนั หน่วยงานและองค์กร ท้ังในราชอาณาจกั รและต่างประเทศจานวนมาก
ดา้ นพระราชกจิ
พระราชประวตั ิ ด้านพระราชกจิ พระราชจริยาวัตรทีป่ ระชาชนทวั่ ไปได้เห็นประจักษ์ คือ พระเมตตาและความสนพระทัยใส่ในชีวิต ความเปน็ อยขู่ องประชาชน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชปณิธานที่ จะช่วยเหลือผู้ทีท่ กุ ขย์ าก เดือดร้อนโดยไม่เลือกช้ันวรรณะ เผ่าพนั ธ์ุ เชอื้ ชาติ ศาสนา พสกนิกรต่างยก ย่อง และชื่นชมในพระบารมี ดังนั้น เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติที่ทรงมีคุณูปการต่อชาติบ้านเมืองใน ด้านต่าง ๆ มาโดยตลอด จึงมีบุคคล หน่วยงาน สมาคม และองค์กรต่าง ๆ ท้ังในราชอาณาจักรและ ในต่างประเทศ ขอพระราชทานอญั เชิญพระนามาภิไธย และขอพระราชทานนาม ไปเป็นชื่อพรรณพืช และสัตว์ที่ค้นพบใหม่ในโลก รวมท้ังสถานที่ และสิ่งต่าง ๆ เป็นจานวนมาก เพื่อเป็นการเฉลิมพระ เกยี รติและเป็นสิริมงคลสืบไป นอกจากนี้ ยังได้ทรงพระกรุณารับสมาคม สถาบัน และองค์กรต่าง ๆ ที่จดั ตั้งข้นึ ตามแนวพระราชดาริหรือที่มีวัตถุประสงค์ดาเนินการในเรื่องต่าง ๆ ที่ทรงให้การสนับสนุน ซึ่งล้วนเป็นไปเพื่อช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส ผู้ขาดแคลน หรือเพื่อการสาธารณประโยชน์ไว้ในพระ ราชปู ถมั ภ์
ดา้ นพระราชกจิ
พระราชประวตั ิ ด้านงานอดเิ รก ยามที่ทรงว่างจากพระราชกิจ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพักผ่อนพระอิริยาบถโดยทรง มี งานอดิเรกที่สนพระทัย หลายประเภท เช่น ดนตรี งานศิลป์ กีฬา งานสะสม การทัศนศึกษา การอา่ นและสะสมหนังสือ ทรงมีหอสมุดส่วนพระองค์ที่จัดเก็บหนังสือหลากหลายประเภท ท้ังที่ทรงเลือกซื้อด้วยพระองค์เองและที่มีผู้ทูลเกล้า ฯ ถวาย และดังเช่นเปน็ ทีท่ ราบกันทั่วไปว่า ทรงมีพระอัจฉริยภาพในการเรียงร้อยอักษร จึงทรงพระราชนิพนธ์ร้อยแก้วและ ร้อยกรองไว้เป็นจานวนมาก มีทั้งประเภทบทความ เรื่องส้ัน ความเรียง คานา บทกวี บทเพลง เรื่องแปล และ สารคดี เป็นต้น รวมทั้งพระราชนิพนธ์ชุดเสด็จพระราชดาเนินเยือนต่างประเทศ ซึ่งเปรียบเสมือน “บันทึกการเดินทาง” ที่ให้ท้ัง ความรู้และความเพลิดเพลินแก่ผู้อ่าน
พระราชประวัติ ด้านงานอดเิ รก ในปจั จุบนั สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ยังสนพระทัยศึกษาและฝึกฝนเรียนรู้ทักษะภาษาและ วิชาการต่าง ๆ อยู่มิได้ขาด เช่น ภาษาฝร่ังเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาจีน เทคโนโลยีสารสนเทศ ดาราศาสตร์ เทคโนโลยีชีวภาพ เป็นต้น พระปรีชาสามารถด้านภาษา เป็นที่ประจักษ์โดยท่ัวหน้า นอกจากนี้ ยังสนพระทัยเข้าร่วม การประชุม แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น ทรงศึกษาดูงาน และทรงพบปะสนทนากับปราชญ์ด้านต่าง ๆ อยู่เป็นประจา เพื่อทรง รับความรู้ใหม่ ๆ และทันสมยั อยู่เสมอ
พระราชกรณียกจิ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ ทรงใฝ่พระทัยในการทรงงานต่างๆสนองพระเดชพระคุณพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินนี าถมาโดยตลอดนับแต่เมื่อทรงเจริญพระชนมายุเป็นต้นมา ทรงแบ่งเบาพระราช กรณียกิจพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ท้ังด้านการเกษตร การชลประทาน การบาบัดทุกข์บารุงสุขแก่อาณาราษฎรทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจหลายประการอันเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม อาทิ ทรงก่อตั้งมูลนิธิสายใจไทยเพื่อช่วยเหลือทหาร ตารวจ และพลเรือนที่บาดเจ็บพิการจากการปฏิบัติหน้าที่เพื่อ ประเทศชาติ ทรงริเริ่มโครงการเกษตรเพอ่ื อาหารกลางวันแก่นักเรียนในชนบทห่างไกล รวมท้ังทรงส่งเสริมการศึกษาแก่ เด็กด้อยโอกาสในชนบทด้วยพระวิริยะอุตสาหะในการทรงปฏิบัติกิจการอันเป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติและอาณา ประชาราษฎร์เปน็ เอนกประการ กอปรกับพระราชจรยิ าวัตรอนั งดงามเปน็ ที่ประจกั ษ์และชืน่ ชมแก่เหล่าพสกนิกร
พระราชกรณียกิจ ในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๒๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระบรมราชโองการโปรด เกล้าฯสถาปนาพระอิสริยศักดิ์สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดาฯขึ้นเป็น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจกั รี สิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ทรงมีพระราชภารกิจ สาคัญหลายประการ อาทิ ทรงเป็นราชเลขานุการส่วนพระองค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงดารงตาแหน่ง ศาสตราจารย์ผู้อานวยการกองวิชาประวตั ิศาสตรโ์ รงเรียนนายร้อยพระจลุ จอมเกล้า ทรงเปน็ องค์อปุ นายิกาผู้อานวยการ สภากาชาดไทย ทรงดารงตาแหน่งประธานมลู นิธิสายใจไทย และทรงเป็นประธานมูลนิธิ “สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา” ซึ่งอุปการะการศึกษาของนักเรียนและนักศึกษาขาดแคลนทุนทรัพย์ ยังไม่รวมถึงโครงการพระราชดาริที่ทรงริเริ่มเพื่อ ประโยชน์สขุ แห่งประชาชนชาวไทยอกี จานวนมากมาย
พระราชกรณียกจิ พระราชกรณียกิจท่ที รงสืบสานต่อจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ตั้งแต่ครั้งยังทรงพระเยาว์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ได้โดยเสด็จพระราชดาเนิน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ไปทรงเยี่ยมราษฎรในภูมิภาคต่างๆ ทาให้ ทรงทราบสภาพความเป็นอยู่ และปัญหาของราษฎร ทรงได้เห็นแบบอย่างของการทรงงานเสมอมา ประกอบ กับ พระวิริยะอุตสาหะ ในการแสวงหาวิชาความรู้อยู่เป็นนิจ รวมท้ังน้าพระทัยที่ทรงห่วงใยประชาชนทุกหมู่เหล่า เมื่อทรง สาเร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษา และได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ อันเป็นประโยชน์แก่ประเทศชาติ และราษฎรมา โดยตลอด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ จึงทรงไว้วางพระราชหฤทัย มอบหมายพระราชกรณียกิจให้ทรงปฏิบัติสืบต่อมา ดังนี้ งานบรูณะปฏิสังขรณ์พระบรมมหาราชวัง วัดพระศรีรัตน ศาสดาราม และพระที่น่ังวิมานเมฆ โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หวั พิธีพระราชทานปริญญาบัตร โรงเรียนจิตรลดา ศิลปินแห่งชาติ มูลนิธิชัยพัฒนา มูลนิธิอานันทมหิดล มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ มูลนิธิรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์ มูลนิธิสายใจไทย สภากาชาดไทย
พระราชกรณียกจิ แนวพระราชดาริในงานด้านต่างๆ ยังก่อเกิดการนาไปปรบั ใช้ เพื่อพัฒนาชุมชน ทั้งโดยทางตรง และทางออ้ ม พระราชกรณียกิจของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ครอบคลุมงานด้านต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง อาจจาแนกได้ดังนี้ - ด้านราชการทหาร - ด้านการศึกษา - ด้านการพฒั นา - ด้านศิลปวัฒนธรรม - ด้านการต่างประเทศ - ด้านสาธารณกุศล - ด้านสาธารณสขุ และโภชนาการ - ด้านส่งเสรมิ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - ด้านอนรุ กั ษ์สิง่ แวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ
หนังสือพระราชนิพนธ์ สมเด็จพระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
วันรักการอ่าน ๒ เมษายน ความสาคญั วันที่ ๒ เมษายนของทุกปี นับเป็นวันที่สาคัญที่กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดให้ ปี ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑ เป็นทศวรรษแห่งการอา่ นของประเทศและให้การส่งเสรมิ การอา่ นเป็นวาระแห่งชาติเพื่อสร้างสังคมแห่งการ เรียนรู้ตลอดชีวิต โดยกาหนดให้วันที่ ๒ เมษายนของทุกปี ซึ่งเป็นวันคล้ายวันพระราชสมภพของสมเด็จพระเทพ รตั นราชสดุ าฯสยามบรมราชกุมารี เปน็ “วนั รักการอา่ น” และ เมือ่ วันที่ ๒๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๒๘ รัฐบาลได้ประกาศให้วันที่ ๒ เมษายน ของทุกปี อันเป็นวันคล้าย วนั พระราชสมภพของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เปน็ “ วนั อนรุ กั ษ์มรดกไทย ” ด้วยตระหนัก ในพระ ปรีชาสามารถในด้านศิลปวัฒนธรรม และพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงอนุเคราะห์สนับสนุนกิจกรรมอันเนื่อง ด้วยงานวัฒนธรรมของชาติเสมอมา โดยเฉพาะทรงเป็นแบบอย่างในการบาเพ็ญพระราชกรณียกิจ และพระราช จริยาวัตรในด้านการอนุรักษ์มรดกของชาติในสาขาต่าง ๆ เช่น วรรณศิลป์ ประวัติศาสตร์ โบราณคดี ภาษาไทย สถาปัตยกรรม ดนตรีไทยและพุทธศาสนา รวมทั้งได้เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาทในการสร้างสรรค์และธารง รกั ษามรดกของชาติให้ยงั่ ยืนตกทอดต่อไปถึงลกู หลาน
แลว้ เพราะเหตใุ ดพระองค์จงึ รกั การอา่ นหนงั สอื เปน็ ชวี ิตจติ ใจ
พระราชดารัสสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในพิธีเปิดงานสัปดาห์หนงั สือแหง่ ชาติ คร้งั ที่ 46 และ งานสัปดาหห์ นังสือนานาชาติ คร้งั ที่ 16 ณ ศนู ย์การประชมุ แหง่ ชาติสิรกิ ิติ์ วนั พฤหัสบดที ี่ 29 มีนาคม 2561
หนงั สอื พระราชนพิ นธ์ สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี แกว้ จอมแกน่ เป็นวรรณกรรมเยาวชนที่ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นจากประสบการณ์จริงเมื่อคร้ัง พิมพค์ รง้ั แรก พ.ศ.2521 ยงั ทรงพระเยาว์ มีตวั ละครเอกคือแก้วและเหล่าผองเพ่ือน แก้วได้เล่าเรื่องราวของ ตนเองออกเป็นตอนๆ มีตัวละครอ่ืนเข้ามาเสริม “ทัพ” เพื่อสร้างบรรยากาศและ สีสันบ้างเป็นครั้งคราว ถึงแม้ว่าแก้วจะจอมแก่น แต่แก้วก็ไม่ได้ฝากเฉพาะ “วีรกรรม” เอาไว้ให้เท่าน้ัน แต่ยังฝากทั้งข้อคิดและเกร็ดความรู้เอาไว้ให้ผู้อ่านได้ เรียนรู้ด้วย เช่น ตอน \"แม่ครัวหัวป่าก์\" แก้วได้เล่าถึงวิธีการทาขนมไทยๆ เช่นขนม แป้งสิบ ว่า “... แป้งน้ันใช้แป้งข้าวเจ้าปนแป้งมันนิดหน่อยนวดให้เข้ากัน ต้มพอสุก ข้างนอก ข้างในยงั ดิบ แล้วเอามานวดอกี ทีหนึ่งให้เหนียว (ถ้าแป้งยุ่ยไม่อร่อย) ตอน จะปน้ั ต้องแตะแป้งสาลีปลายนิ้วเป็นนวลเพื่อกันแป้งขนมติดมือ คนป้ันจะต้องแบ่ง แป้งขนมที่นวดแล้วปน้ั เป็นก้อนกลมๆ ก่อน แล้วแผ่เป็นแผ่นแบน ตกั ไส้ใส่ตรงกลาง แล้วจึงทบแผ่นแป้งจับรมิ จีบ...\"
หนงั สือพระราชนิพนธ์ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี จงจรเทีย่ ว \"จงจรเที่ยว\" สมุดบันทึก ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ ๑๒ ประเทศ สมเด็จพระเทพ พิมพค์ ร้งั แรก พ.ศ.2553 รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นสมุดบันทึกเอนกประสงค์ สาหรับจด บันทึกเหตุการณ์ประจาวันได้โดยไม่หมดอายุ โดยได้รวบรวมภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่ได้ทรงถ่ายภาพจากการ เสด็จพระราชดาเนินเยือนประเทศต่างๆ รวม ๑๒ ประเทศ เท่าจานวนเดือนใน ๑ ปี ได้แก่ สาธารณรัฐฝร่ังเศส สมาพันธรัฐสวิส ราชอาณาจักรสเปน ราชอาณาจักร กัมพูชา สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ สาธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนาม สหรัฐอเมริกา สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สาธารณรัฐ เวเนซุเอลา สาธารณรัฐประชาชนจีน และสหภาพพม่า โดยทรงพระราชนิพนธ์ ข้อเขียนสั้นๆ ประกอบภาพถ่ายในแต่ละประเทศด้วย จดั พิมพ์โดย มลู นธิ สิ มเด็จพระพนั วสั สาอัยยิกาเจ้า ISBN : 978-616-90585-3-3
หนังสอื พระราชนิพนธ์ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี บุหงาราไป หนังสือพระราชนิพนธ์เล่มนี้เป็นส่วนขยายของหนังสือพระราชนิพนธ์ชุดเสด็จ ฯ เยือน พมิ พค์ รง้ั แรก พ.ศ.2528 ต่างประเทศเรื่องชมช่อมาลตีซ่ึงทรงบันทึกเรื่องราวการเดินทางคราวเสด็จ ฯ เยือน สาธารณรัฐอินโดนีเซียในปี ๒๕๒๗ บุหงาราไปประกอบด้วยเนื้อหาและรูปเกี่ยวกับ ศิลปวัฒนธรรมของอินโดนีเซีย รวมทั้งพระฉายาลักษณ์และของที่ระลึกที่มีผู้ทูลเกล้า ฯ ถวาย ตวั อยา่ งบางส่วนจาก “ดนตรีอินโดนีเซยี ” “…ปีพ่ าพท์ชวานเี้ รียกว่า กาเมลัน (Gamelan) ประกอบด้วยเครือ่ งบรรเลงทีม่ ีลักษณะไม่ แตกต่างกับปี่พาทย์ของไทยเทา่ ใด ต่างกันแต่ว่าปี่พาทย์ชวาใช้สิง่ ทีท่ าด้วยโลหะมาก เสียงจงึ มีกงั วานกระห่มึ ครมึ ครางไปตามแบบอย่างอนั เหมาะสมกับสาเนียงเพลงชวา ทีผ่ ิดกนั มากก็ คอื ระดบั เสียง ปี่พาทย์ชวาน้ันมเี สียงพนื้ โดยท่วั ไปอยู่เพยี ง ๕ เสียงเท่านั้น คอื ทุกๆ ชว่ งคู่ ๘ จะมีแต่เสียงที่ ๑, ๒, ๓ และ ๕, ๖ ไมม่ ีเสียงที่ ๔ และ ๗ แม้เพลงของชวาเอง หากจะต้อง บรรเลงเพลงทีเ่ กิน ๕ เสียงนแี้ ล้ว เขามีเคร่อื งดนตรีอีกช้ินหนึ่งซึง่ เทยี บเสียงแตกต่างออกไป เปน็ ผู้เติมเสียงให้ ดงั นั้น ปี่พาทย์ชวาจึงไมเ่ หมาะสมที่จะใช้บรรเลงเพลงได้โดยทัว่ ไปเหมือน อยา่ งของชาติอ่นื ๆ…\"
หนงั สือพระราชนิพนธ์ สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จแมก่ ับการศึกษา เป็นพระราชนิพนธ์เกี่ยวกับพระราชกรณียกิจด้านการศึกษาของสมเด็จพระนางเจ้า พมิ พ์ครงั้ แรก พ.ศ.2535 สิริกิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นจากประสบการณ์จริงของพระองค์เองและ จากเรื่องที่สมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถทรงเล่าพระราชทานแล้วทรงประทับ พระทัย โรงเรียนจิตรลดาจัดพิมพ์เพ่ือเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชนิ ีนาถ ในมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๕ เนอื้ ความบางส่วนจากตอน “ทรงสอนหนังสือ” “...เพอ่ื นๆ และครูคงจะจาได้ดีว่า ข้าพเจ้าเป็นคนทีเ่ รียนภาษาองั กฤษแย่มากตั้งแต่เดก็ ๆ ไม่ ตั้งใจเรียนและหลบเลีย่ งบ่อยๆ เมื่อถกู จับได้และถกู ทลู ฟอ้ งก็ไมไ่ ด้โดนกริ้ว แต่ก็ต้องเรียน พเิ ศษเพิม่ เติม ท่สี าคญั ที่สุดคอื ทรงสอนเอง ให้อ่านหนงั สือ และจดศพั ท์ทีไ่ ม่ทราบลงในสมดุ ตอนหลังคือเมื่อประมาณ พ.ศ. ๒๕๐๗ พระราชทานสมุดให้จด บางทีกจ็ ดพระราชทานด้วย สมุดเล่มนั้นยงั อยู่จนทกุ วันนี้ ข้าพเจา้ ชอบให้มีการสอบเพราะว่าถ้าท่องคาศัพท์ได้ จะได้รบั พระราชทานเงินคาละบาท...\"
หนงั สอื พระราชนพิ นธ์ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ผเี ส้อื เป็นพระราชนิพนธ์ทรงแปลจากวรรณกรรมภาษาจีนของ หวางเหมิง หวาง พมิ พค์ ร้ังแรก พ.ศ.2537 เหมิงเคยเปน็ หัวหน้ากองบรรณาธิการหนังสือวรรณกรรมประชาชน รองประธานสมาคมนัก ประพันธ์แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐมนตรีกระทรวงวัฒนธรรม และกรรมการกลาง พรรคคอมมิวนิสต์จนี เรื่องราวของผีเสื้อสะท้อนให้เห็นสภาพของสังคมในสาธารณรัฐประชาชนจีนในช่วงการ ปฏิวัติวัฒนธรรม (พ.ศ. ๒๕๐๙ - ๒๕๑๒) ที่เต็มไปด้วยความสับสนและความขัดแย้งของ ผคู้ นและอุดมการณ์ทางการเมือง ดังทีไ่ ด้ทรงพระราชนิพนธ์ไว้ใน “นาเรื่อง” ว่า “ผเู้ ขียนเรือ่ ง “ผเี สอื้ \" พยายามแสดงให้เหน็ ว่า สังคมและมนุษย์มีความสลับซบั ซ้อน การ ปฏิวัติสังคมและการสร้างสรรค์สิง่ ดีงามท้ังหลายเพอ่ื ส่วนรวมน้ัน จึงมิใช่จะสาเรจ็ ผลได้ เพียงเพราะมีความปรารถนา อดุ มคติ หลักการ หรือทฤษฎีทางการเมืองเทา่ น้ัน หากต้องใช้ ปัญญาพนิ ิจตนเอง พจิ ารณาสังคมอย่างละเอียดรอบด้าน จนสามารถเข้าใจตนเองและ เข้าใจสงั คมของตนอยา่ งถ่องแท้ ตรงกับความเปน็ จริง จึงจะสามารถแกไ้ ขปญั หาและ สร้างสรรค์ประโยชน์อันแท้จริงได้สาเร็จ\"
หนังสือพระราชนิพนธ์ สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ขา้ วไทย เป็นพระราชนิพนธ์ที่ทรงจัดทาขึ้นไว้เมื่อครั้งเสด็จ ฯ ไปทรงบรรยาย พิมพค์ รงั้ แรก พ.ศ.2538 เรื่องข้าวไทยที่สถาบัน International Rice Institute เมื่อวันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๗ ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น กระทรวงพาณิชย์จัดพิมพ์เผยแพร่และ จาหน่ายหารายได้ทูลเกล้า ฯ ถวาย โดยเสด็จพระราชกุศลตามพระราชอัธยาศัย เนือ้ หาของบทพระราชนิพนธ์มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ได้แก่ \"...‘ข้าพเจ้ามีโอกาสได้ศึกษาและทดลองทานามาบ้าง และทราบดีวา่ การทานาน้ันมีความยากลาบากเปน็ อุปสรรคอยู่ไม่ใชน่ ้อย จาเป็นต้องอาศยั พนั ธ์ุ ข้าวที่ดีและต้องใช้วชิ าการต่างๆ ด้วย จึงจะได้ผลเปน็ ล่าเปน็ สัน อกี ประการหนึ่งที่ นานั้น เมื่อสิน้ ฤดูทานาแล้ว ควรจะปลูกพืชอื่นๆ บ้าง เพราะจะเพิม่ รายได้ให้อีกไม่ น้อย ทั้งจะช่วยให้ดินรว่ น ช่วยเพิม่ ปุ๋ยกากพืชทาให้ลกั ษณะเนือ้ ดินดีขนึ้ เหมาะ สาหรบั จะทานาในฤดูต่อไป’ ข้อความข้างต้นเป็นพระราชดารสั ซึง่ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดลุ ยเดช พระราชทานแก่กลุ่มผู้นาชาวนา แสดงถึงความสน พระทัยทีท่ รงมีต่อพสกนิกรอันเปน็ ชาวนาชาวไร่โดยตรง....”
หนังสอื พระราชนพิ นธ์ สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เป็นปาฐกถาพระราชทานเนื่องใน “วันสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรม ราชกุมารี คร้ังที่ ๑๖ ประจาปี พ.ศ. ๒๕๔๕\" ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ ในวัน ศกุ ร์ที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๕ วันสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นวันที่ มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒจัดงานวิชาการเปน็ ประจาทกุ ปตี ั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๓๐ เป็นต้นมา เพ่ือน้อมระลึกถึงโอกาสที่ทรงสาเร็จการศึกษาในระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษาศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๙ และด้วยสานึกในพระมหา กรณุ าธิคณุ ที่พระราชทานแก่มหาวิทยาลยั และปวงชนชาวไทย เนือ้ ความบางส่วนจากปาฐกถา “…ทีว่ ่ามีอาหารลดน้าหนัก อาหารแคลอรีตา่ พลังงานต่า กเ็ ปน็ อาหารฝร่ังท้ังน้ันท่ี เขาแนะนา แต่ถ้าดูเอาจริงๆ จากทีแ่ สดงเมอ่ื กนี้ กี้ จ็ ะเหน็ ว่าอาหารอยา่ งไทยๆ เรานี่ ถ้าเลือก บางอย่างกจ็ ะมีแคลอรีตา่ อยา่ งกะปิทาด้วยกุ้งหรือปลา สัตว์เล็กๆ เนี่ยเอามาทาให้ละเอียด กจ็ ะมี ภมู ิปญั ญาไทยดา้ นอาหารและโภชนาการ แคลเซียมอยดู่ ้วย ทีเ่ ราบ่นกันวา่ เราไมด่ ืม่ นม เดยี๋ วนีก้ ด็ ื่มมากขึ้นแล้ว ตอนสมยั ก่อนไมค่ อ่ ยดื่มนม ก็จะมีปญั หานิดหนึง่ เรื่องแคลเซยี ม ตอนที่ไปทาโภชนาการตามโรงเรียนนี้ ก็ไปให้นมถัว่ เหลือง ผง พมิ พค์ รั้งแรก พ.ศ.2546 ถ่วั เหลือง ซง่ึ กม็ ีประโยชน์หรอื ได้โปรตีน แต่ว่าจะมีปญั หาเรือ่ งแคลเซียมนิดหน่อย แคลเซียมนมี้ า จากปลาเลก็ ปลาน้อย ถ้าเป็นเรือ่ งของน้าพริกนีก่ จ็ ะได้แคลเซียมจากกะปิ…\"
หนงั สอื พระราชนพิ นธ์ สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ภมู ิศาสตร์กบั วถิ ชี วี ิตไทย สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ ฯ ไปทรงเปิดการสัมมนา พิมพค์ รงั้ แรก พ.ศ.2544 เรื่อง “ภูมิศาสตร์กับวิถีชีวิตไทย” และได้ทรงปาฐกถาพิเศษเรื่อง “ภูมิศาสตร์กับวิถีชีวิตไทย” ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๔๓ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธรได้จัดสัมมนาขึ้นระหว่างวันท่ี ๑๒ - ๑๔ กันยายน ๒๕๔๓ เพ่ือเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี องค์ที่ปรึกษา คณะกรรมการบริหารศนู ย์ ฯ ในวโรกาสวนั คล้ายวันพระราชสมภพ ๒ เมษายน ๒๕๔๓ เนอื้ ความบางส่วนจากปาฐกถา “…ทะเลอาจเป็นอปุ สรรคกบั การคมนาคมได้เหมือนกัน บางแห่งเดินทางไปได้เฉพาะน้าขึ้น เคยไป เยย่ี มชมบางโรงเรียน ถามว่าทาไมถึงมีผลสมั ฤทธิท์ างการศึกษาคอ่ นข้างตา่ ครูบอกว่าเดก็ ไป โรงเรียนถ้าน้าขึ้นจะไปได้ ถ้าเผลอไปนิดก็จะไปไมไ่ ด้แล้ว เพราะพอน้าลงเรือติดตม แบบนกี้ ็แย่ กระทรวงศึกษาธิการก็จะบ่นกันวา่ ผทู้ ีอ่ ยู่ตามเกาะ ส่งเสริมการศึกษาได้ยาก การรักษาพยาบาลก็ ยาก สภาพเกาะบางแหง่ ไปถึงได้เฉพาะในเวลาฝนไม่ตก ในฤดมู รสมุ ถูกตดั ขาดจากโลกภายนอก เวลารกั ษาพยาบาลต้องอาศัยเทคโนโลยีสมยั ใหมค่ อื การพูดวิทยุ…\"
หนังสอื พระราชนพิ นธ์ สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ส.ค.ส. ๒๕๓๒ สาหรับสมาชิกสายใจไทย สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี ในฐานะประธานมลู นิธิ สายใจไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ได้พระราชทานหนงั สือเล่มนเี้ ป็น ส.ค.ส. ๒๕๓๒ สาหรบั สมาชิกสายใจไทย หนังสือนีร้ วบรวมลายพระหัตถ์ทรงอธิบายวธิ ีทาของใช้ รวมท้ังเมนูอาหาร พระราชทาน มีภาพการ์ตูนฝีพระหัตถ์ทรงวาดประกอบด้วย เนือ้ ความบางส่วนจากวิธีการทา “น้าตะไคร้” “...ใส่ใบตะไคร้ ลง 2 ท่อน ตอ่ นา้ 1 ถ้วย พอนา้ เดือดอกี คร้ัง ยกลงได้ ถ้ามีฟองช้อนท้ิง กรองด้วยผา้ บาง จะได้น้าตะไคร้ สีเขียวอมเหลือง มีกลิ่นหอม แต่ถ้าทงิ้ ไวใ้ ห้เดือดนาน จะเปลีย่ นสีและกลิน่ ไม่ชวนรบั ประทาน...\" พมิ พค์ รง้ั แรก พ.ศ.2531
หนงั สือพระราชนพิ นธ์ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี สปั ดาห์สบายๆ ใกลช้ ายหาด เป็นหนังสือพระราชนิพนธ์บันทึกการเสด็จ ฯ ไปปฏิบัติ พระราชกรณียกิจ ณ จังหวัดเพชรบุรีและประจวบคีรีขันธ์ ระหว่างวนั อาทิตยท์ ี่ ๑๔ – วันศกุ ร์ที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๓๗ ในการนี้ ได้เสด็จ ฯ ไปทรงปลูกต้นไม้และปล่อยปลาลงในอ่าง พิมพค์ รัง้ แรก พ.ศ.2537 เกบ็ น้าค่ายพระราม ๖ ทอดพระเนตรพระราชนิเวศนม์ ฤคทายวัน ทรงฟังการบรรยายสรุปเกี่ยวกับภูมิประเทศบริเวณป่า ละอู ทรงพระดาเนนิ เข้าป่าไปทีท่ ่านา้ เพชรบรุ ี ระหว่างทางทอดพระเนตรพรรณไม้ต่างๆ ทรงเยี่ยมศูนย์ส่งเสริมการศึกษา บ้านโป่งลึก ทอดพระเนตรเขื่อนแก่งกระจานและทรงฟังคาบรรยายประกอบสไลด์มัลติวิช่ันเกี่ยวกับอุทยานแห่งชาติแก่ง กระจาน ทรงเยีย่ มโรงเรียนวังไกลกังวล วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล โรงเรียนวังไกลกังวลฝ่ายประถมศึกษา อนุบาล และช้ันเด็กเลก็ เสดจ็ ฯ ไปยังค่ายพระราม ๖ เพือ่ ทรงปลูกป่าชายเลน ทรงประกอบพิธีผูกพัทธสีมาพระอุโบสถ ณ วัดเขา น้อย อาเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทรงประกอบพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อาเภอบาง สะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ทรงเยี่ยมศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดาริ อาเภอชะอา จงั หวัดเพชรบุรี และทอดพระเนตรโครงการศกึ ษาวจิ ัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผกั เบีย้ ตาบลผกั เบีย้ อาเภอบ้านแหลม จงั หวดั เพชรบรุ ี เนื้อความบางส่วนจากหนังสือพระราชนิพนธ์เมื่อครั้งเสด็จ ฯ ไปทรงประกอบพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อาเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ “...ข้าพเจ้าเห็นว่าที่ตง้ั ของหอ้ งสมดุ ควรอยู่ใกล้ชมุ ชน จึงจะคุ้มที่มีสง่ิ ของต่างๆ ที่ราคาสูง อีกประการหนึ่งควรจะเก็บ หนงั สือหรือเอกสารที่เป็นประวัติของท้องถิ่นและข้อมูลท้องถิ่นที่ได้จากการสัมภาษณ์ สาหรับเมืองไทย หอจดหมายเหตุ ท้องถิน่ เปน็ ไปได้ยาก ข้อมลู ทอ้ งถิน่ ทีห่ อ้ งสมุดประชาชนของเราจึงมีแต่แค่ข้อมลู การปกครอง และวัฒนธรรมทีพ่ ิมพ์ใส่แฟ้ม ไว้ เอกสารช้ันต้นไม่มี อีกอยา่ งท่ที าได้คือการจัดนิทรรศการแนะนาใหค้ นทีม่ าดรู ู้ถึงความสาคัญของจังหวัด...\"
หนังสอื พระราชนิพนธ์ สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดง่ั ดวงแกว้ เป็นหนังสือรวมพระราชนิพนธ์ท้ังร้อยแก้วและรอ้ ยกรอง ภาพประกอบเปน็ ภาพ พิมพค์ รั้งแรก พ.ศ.2541 จิตรกรรมฝีพระหตั ถ์บางภาพจากหนงั สือทอสีเทียบฝันและหนงั สือพระราชนิพนธ์ สิงคโปรส์ ญั จร มีรปู เล่มขนาดเลก็ มากเพียง ๕ x ๖.๘ เซนติเมตร คณะกรรมการจดั งานสปั ดาห์หนงั สือแห่งชาติครง้ั ที่ ๒๖ และบริษัท นานมีบุ๊คส์ จากัด ร่วมกนั จัดทาเป็น ที่ระลึกในงานสปั ดาห์หนงั สอื แหง่ ชาติครงั้ ที่ ๒๖ (วนั ที่ ๒๗ มีนาคม - ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๑) ตัวอย่างจากบทพระราชนิพนธ์ร้อยกรอง “ค่าแห่งหนงั สอื ” “โลกคือมนทิรแผ้ว ไพศาล ห้องหบั สรรพโอฬาร เลิศแล้ หนังสือดจุ ประแจทวาร ไขสู่ ห้องนา จักพบรตั นแท้ ก่องแก้ววทิ ยา\"
หนงั สอื พระราชนิพนธ์ สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ดุจดวงตะวัน เป็นหนังสือรวมพระราชนิพนธ์ประกอบด้วยพระราชนิพนธ์บทกวี บทเพลง พระราชนิพนธ์ พระราชนิพนธ์สารคดี บทสัมภาษณ์ ปาฐกถา รวมทั้งภาพการ์ตูนฝี พมิ พค์ รง้ั แรก พ.ศ.2542 พระหัตถ์ที่เกี่ยวข้องกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คณะกรรมการจัดงานสัปดาห์ หนังสือแห่งชาติครงั้ ที่ ๒๗ และบริษัท นานมีบุ๊คส์ จากดั รว่ มกันจดั ทาเนื่องในวโรกาส ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมายุ ๗๒ พรรษาใน พ.ศ. ๒๕๔๒ บางส่วนจากพระราชนิพนธ์สารคดี “โรงเรียนพระดาบส” ซึง่ อยู่ในหัวข้อ “เขต พิทยา” “…เมื่อเรียนภูมิศาสตร์ แทนการท่องหนังสืออย่างเดียว ก็ทรงส่งเสริมให้ดูสภาพ ต่างๆ จากของจริงเทียบกับแผนที่ แม้แต่เมฆก็ไม่ได้ให้ท่องแต่เพียงชื่อในหนังสือ เท่านั้น ทรงสอนให้ดูเมฆจริงๆ ทีเดียว วิธีการสอนอย่างนี้ ไม่ได้ทรงทากับลูกเท่าน้ัน ทรงตั้งพระราชหฤทัยให้คนไทยทกุ คนมีโอกาสได้ศึกษาวิชาความรู้ พระราชปณิธานนี้ จะเห็นได้ชัดจากโครงการหนึ่ง...โรงเรียนพระดาบส…\"
หนงั สือพระราชนพิ นธ์ สมเดจ็ พระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ชวี ิตทห่ี มุนไปไม่หยุดยงั้ หนังสือ \"ชวี ิตทห่ี มุนไปไม่หยุดยั้ง ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ๒๕๔๗-๒๕๕๑\" เป็นหนังสือรวมภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ท่ีจัดแสดงในนิทรรศการชื่อเดียวกัน ระหว่างวันที่ ๑- ๒๔ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๕๑ ณ หอศิลปวฒั นธรรมแห่งกรงุ เทพมหานคร ภาพถ่ายฝีพระหัตถ์ในนิทรรศการคร้ังนี้และหนังสือเล่มนี้ เป็นภาพที่ทรงถ่ายไว้ในการ เสด็จ ฯ เยือนประเทศต่างๆ เช่น สาธารณรัฐอิสลามอิหร่าน สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร รวมท้ังประเทศไทย ระหว่างพุทธศักราช ๒๕๔๗ ถึง ๒๕๕๑ พิมพค์ ร้งั แรก พ.ศ.2551 จดั พิมพ์โดย บรษิ ทั ไซเบอร์พรินท์ จากดั ISBN : 978-974-10-1869-7
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: