Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ที่ 1

ใบความรู้ที่ 1

Published by somrit2508, 2017-09-21 05:26:43

Description: ใบความรู้ที่ 1 วิชาภาษาไทย

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ เรื่อง หลกั การสื่อสารในชีวติ ประจาวนัความหมายและความสาคญั ของการสื่อสาร การส่ือสารคือการส่งขอ้ ความต่างๆที่เป็นขอ้ เทจ็ จริงขอ้ คิดเห็นหรือ การแสดงความรู้สึกจากผสู้ ่งสารไปสู่ผรู้ ับสารดว้ ยวธิ ีการใดวธิ ีการหน่ึง เพ่ือใหผ้ รู้ ับสารรับรู้เขา้ ใจ ความหมายของขอ้ ความ ท่ีส่ือสารและตอบสนองกลบั มา การส่ือสาร (ดว้ ยภาษา) เป็นพฤติกรรมของมนุษยม์ นุษย์ ตอ้ งอาศยั การสื่อสารเป็นเครื่องมือเพ่ือใหร้ รลุวตั ถุประสงค์ ในการดาเนินกิจกรรมตา่ งๆ และเพื่ออยรู่ ่วมกบั คนอ่ืนๆในสงั คมสังคมมีความซบั ซอ้ นและประกอบดว้ ยคนจานวนมากเทา่ ใด การสื่อสารกย็ ง่ิ มีความสาคญั มากข้ึนเทา่ น้นั การอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนเป็ นสิ่ง จาเป็นอยา่ งยงิ่ สาหรับมนุษย์ เพราะมนุษยจ์ าเป็นตอ้ งพ่ึงพา อาศยั ช่วยเหลือเก้ือกลู กนั ต้งั แต่ในระดบั ครอบครัวเพ่ือนฝงู ระดบั ชุมชน สังคม และประเทศ โดยเฉพาะในสงั คมปัจจุบนั เป็ นยคุ ของโลกไร้พรมแดน ขอ้ มูลขา่ วสารต่างๆจากทุกมุมโลกส่งผา่ นถึงกนั ในเวลาอนั รวดเร็ว โดยมีเคร่ืองมือส่ือสารท่ีทนั สมยั เช่นโทรศพั ท์โทรสารโทรทศั น์คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต ฯลฯ ผทู้ ่ีรับทราบขอ้ มูลขา่ วสารกวา้ งไกล ยอ่ มไดเ้ ปรียบ ดงั น้นัมนุษยจ์ ึงไม่สามารถอยลู่ าพงั โดยปราศจากการติดต่อส่ือสารได้ ดงั น้นั การสื่อสารจึงมีความสาคญั ต่อมนุษยท์ ้งั ดา้ นการใชช้ ีวิต การเรียนรู้การประกอบอาชีพการเมืองการปกครอง สังคมและวฒั นธรรม ช่วยสืบทอด และพฒั นาวฒั นธรรม หากไมม่ ีการส่ือสารหรือทากิจกรรมร่วมกนั มนุษยค์ งสูญสิ้นเผา่ พนั ธุ์และอารยธรรมไปในท่ีสุดจุดประสงค์ของการสื่อสาร ผ้สู ่งสาร ๑. แจง้ ใหท้ ราบ ๒. สอน/ใหก้ ารศึกษา ๓. สร้างความบนั เทิง /จรรโลงใจ ๔. โนม้ นา้ วใจ ผู้รับสาร ๑. เพ่ือทราบ ๒. เพ่ือเรียนรู้ ๓. เพ่ือความบนั เทิง / ความสุข ๔. เพอ่ื กระทาหรือตดั สินใจ

องค์ประกอบของการสื่อสาร๑. ผ้สู ่งสาร ผสู้ ่งสารไดแ้ ก่บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่เป็นผเู้ ร่ิมตน้ การติดตอ่ ส่ือสาร ผสู้ ่งสารที่ดีจะตอ้ งมีจุดประสงคใ์ นการส่งสาร มีความรู้ ความเขา้ ใจในเรื่องที่ตอ้ งการส่ือสารอยา่ งถ่องแท้ เขา้ ใจความพร้อมความสามารถของผูร้ ับสาร และเลือกใชก้ ลวธิ ีสื่อสารอยา่ งเหมาะสม๒. ผู้รับสาร ผรู้ ับสารไดแ้ ก่บุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีรับรู้ขอ้ มูลจากผสู้ ่งสาร ทาความเขา้ ใจกบั ขอ้ มูลที่ไดร้ ับและมีปฏิกริยาตอบสนอง ผรู้ ับสารท่ีดีจะตอ้ งมีจุดประสงคใ์ นการรับสาร พร้อมรับขา่ วสารต่างๆ มีสมาธิ และมีปฏิกริยาตอบสนอง๓. สาร ( เรื่องราว ตวั ขอ้ มูล สาระสาคญั ท่ีผสู้ ่งสารส่งถึงผรู้ ับสาร ) มี ๓ ประเภท ๓.๑ สารประเภทขอ้ เทจ็ จริง สารที่เป็นองคค์ วามรู้ หลกั เกณฑ์ หรือขอ้ สรุปท่ีผา่ นการพิสูจน์ทดลอง คน้ ควา้ วจิ ยั มีเหตุและผลที่ยอมรับไดว้ า่ เป็ นความจริง เชื่อถือและอา้ งอิงได้ ๓.๒ สารประเภทขอ้ คิดเห็น สารที่เป็นความคิดเห็นอนั เป็นลกั ษณะส่วนตวั ของผสู้ ่งสาร ผรู้ ับสารอาจเห็นดว้ ยหรือไมก่ ็ มี ๓ ประเภท ๑. ข้อคดิ เหน็ เชิงประเมนิ ค่า เป็ นการบ่งชี้ว่าอะไรดี ไม่ดี มีประโยชน์หรือมโี ทษอย่างไรฯลฯ ๒.ขอ้ คิดเห็นเชิงแนะนา เป็นการบอกกล่าววา่ สิ่งใดควรทาควรปฏิบตั ิปฏิบตั ิข้นั ตอนอยา่ งไรและอาจ บอกถึงเหตุผลของการกระทาน้นั ๆดว้ ย ๓. ขอ้ คิดเห็นเชิงต้งั ขอ้ สงั เกตเป็นการช้ีใหเ้ ห็นลกั ษณะที่แฝงอยู่ ซ่ึงอาจถูกมองขา้ มไป อาจ สงั เกตเห็น พฤติกรรมของบุคคล สัตว์ หรือส่ิงต่างๆที่เกิดข้ึน ตามมุมมองของผสู้ ่งสาร ๓.๓ สารประเภทแสดงความรู้สึกสารที่แสดงความรู้สึกของมนุษย์ เช่น ดีใจ เสียใจ ตื่นเตน้ เป็ นตน้***ผรู้ ับสารจาเป็นอยา่ งยงิ่ ที่จะตอ้ งศึกษาและเรียนรู้เพื่อแยกแยะเน้ือหาของสารใหไ้ ดว้ า่ ส่วนใดเป็นขอ้ เทจ็ จริงส่วนใด เป็นขอ้ คิดเห็น และส่วนใดเป็นความรู้สึกเพอ่ื ใหก้ ารส่ือสารมีประสิทธิภาพมากข้ึน***๔. สื่อ ( ตวั กลางท่ีเชื่อมโยงสารจากผสู้ ่งสารไปยงั ผรู้ ับสาร ) การสื่อสารแต่ละคร้ังผสู้ ่ือสารจะตอ้ งใชภ้ าษาท้งั วจั นภาษาและอวจั นภาษาเป็ นสื่อกลางในการส่ือสาร นอกจากใชภ้ าษาเป็ นส่ือกลางแลว้ ยงั มีส่ืออีก ๕ ประเภท ที่ช่วยใหก้ ารสื่อสารแต่ละคร้ังประสบผลสาเร็จ ไดแ้ ก่

๑. ส่ือธรรมชาติ ๒. สื่อบุคคลหรือสื่อมนุษย์ ๓. ส่ือสิ่งพมิ พ์ ๔. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ๕. ส่ือระคน / ส่ือเฉพาะกิจ๕. ปฏิกริ ิยาตอบสนอง ปฏิกิริยาตอบสนองหรือผลของการส่ือสารไดแ้ ก่การท่ีผรู้ ับสาร มีปฏิกิริยาตอบสนองต่อผสู้ ่งสาร โดยวธิ ีการใดวธิ ีการหน่ึง การสื่อสารแต่ละคร้ังจะประสบความสาเร็จหรือลม้ เหลว ผสู้ ื่อสารจะสงั เกตไดจ้ ากปฏิกิริยาตอบสนองของผูร้ ับสารวา่ ตรงตามวตั ถุประสงคข์ องผสู้ ่งสารหรือไม่ การสื่อสารแต่ละคร้ังจะประสบความสาเร็จไดง้ ่ายหากจุดประสงคก์ ารสื่อสารของผสู้ ื่อสารตรงกนัจากองค์ประกอบการส่ือสารทง้ั ๕ องค์ประกอบ สามารถจาลองภาพกระบวนการสื่อสารได้ดังนี้ สอ่ื สาร ผ้รู ับสารผ้สู ง่ สาร ปฏกิ ริ ยิ าตอบสนองประเภทของการสื่อสาร การส่ือสารมีท้งั การสื่อสารระหวา่ งเช้ือชาติ การส่ือสารระหวา่ งวฒั นธรรม การสื่อสารระหวา่ ง ประเทศซ่ึงผสู้ ่ือสารจะตอ้ งระมดั ระวงั เรื่องการใชภ้ าษาในการสื่อสาร และหากจาแนกตามจานวนของผสู้ ่ือสารสามารถแบ่งประเภทของการส่ือสารได้ ๕ ประเภท๑. การส่ือสารภายในตวั บุคคล การส่ือสารของบุคคลคนเดียว และเป็นการสื่อสารท่ีเกิดข้ึนภายใน ตวั บุคคล คือเป็ นท้งั ผสู้ ่งสารและผรู้ ับสาร เช่น การพูดกบั ตวั เอง การฝัน การนึกคิด

๒. การสื่อสารระหวา่ งบุคคล การสื่อสารต้งั แต่บุคคล 2 คนข้ึนไป ท้งั ผสู้ ่งสารและผรู้ ับสารสามารถ แลกเปลี่ยนสารกนั ไดโ้ ดยตรงแบบตวั ต่อตวั หรือแบบเผชิญหนา้ เช่น การเขียนจดหมายโตต้ อบ การคุยโทรศพั ท์ การบรรยายในช้นั เรียน(กลุ่มยอ่ ย)๓. การส่ือสารกลุ่มใหญ่ การส่ือสารระหวา่ งคนจานวนมากท่ีรวมอยใู่ นบริเวณเดียวกนั เช่น การหา เสียง การอภิปรายในหอประชุม โอกาสที่ผสู้ ่งสารและผรู้ ับสารจะแลกเปลี่ยนขอ้ มูลมีนอ้ ยมาก๔. การสื่อสารในองคก์ ร การสื่อสารระหวา่ งผทู้ ่ีเป็นสมาชิกขององคก์ รหรือหน่วยงาน เพ่อื ให้ ภารกิจของหน่วยงานเป็ นไปตามเป้าหมาย๕. การสื่อสารมวลชน การสื่อสารกบั คนจานวนมากในเวลาเดียวกนั แต่ละคนอยใู่ นท่ีที่ตา่ งกนั โดยใชส้ ่ือที่เขา้ ถึงไดใ้ นเวลารวดเร็ว เช่น คอมพวิ เตอร์ โทรทศั น์ วทิ ยุ หนงั สือพิมพ์ปัญหา/อปุ สรรคของการสื่อสาร องคป์ ระกอบของการส่ือสารแต่ละส่วนลว้ นมีความสาคญั ตอ่ กระบวนการสื่อสารท้งั สิ้น ดงั น้นั ผทู้ ี่ทาการส่ือสารจึงตอ้ งตระหนกั ถึงอุปสรรคที่อาจจะเกิดข้ึนไดใ้ นระหวา่ งท่ีทาการส่ือสาร และตอ้ งพยายามลดอุปสรรคท่ีเกิดข้ึน เช่นผสู้ ่งสาร (ขาดความรู้ มีทศั นคติแง่ลบ ขาดความพร้อม วเิ คราะห์ผูร้ ับสารผดิ ไป)ผรู้ ับสาร (ขาดความเขา้ ใจ คิดวา่ ตนมีความรู้แลว้ มีทศั นคติท่ีไม่ดีต่อผสู้ ่งสาร-ตวั สาร คาดหวงั ในการส่ือสารสูงเกินไป)สาร (เลือกสารไมเ่ หมาะสม ซบั ซอ้ น ยาก หรือง่ายเกินไป กลวธิ ีนาเสนอไม่ เหมาะสม สารน้นั เป็ นที่ทราบโดยทวั่ ไปแลว้ ขาดความชดั เจน คลุมเครือ)สื่อ (ใชส้ ื่อไมเ่ หมาะสม ไมม่ ีประสิทธิภาพ ใชภ้ าษาไมเ่ หมาะสม)ส่ิงแวดลอ้ ม สิ่งแวดลอ้ มไม่เอ้ืออานวย เกิดมลภาวะหลกั การสื่อสารในชีวติ ประจาวนั การสื่อสารมีหลายรูปแบบ เช่น การพูดคุยกบั เพ่ือนกบั การพูดในห้องประชุมซ่ึงมีผฟู้ ัง เป็นตน้ การสื่อสารจึงเก่ียวขอ้ งทุกคน การพดู การอ่าน การเขียน และการฟัง เป็นทกั ษะสาคญั สาหรับการสื่อสารให้สัมฤทธ์ิผลผสู้ ื่อสารจึงควรฝึ กพูดและสื่อสารใหเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะ สามารถเลือกใชท้ ้งั วจั นภาษาและอวจั นภาษาในการสื่อความหมายใหช้ ดั เจน เหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพ่ือใหเ้ กิดการยอมรับในสงั คมยง่ิ ข้ึน ความสามารถข้นั พ้นื ฐานที่ผสู้ ื่อสารควรมี คือก. ทกั ษะการพูดทดี่ ี

1. การพูดในสิ่งท่ีผฟู้ ังอยากฟัง ในเน้ือหาท่ีผฟู้ ังอยากฟัง 2. ควรเลือกภาษาและอารมณ์ในการพูดเพื่อสร้างความสัมพนั ธ์ท่ีดีและใหเ้ กียรติผฟู้ ัง 3. สามารถเลือกใชส้ ื่อที่ดีและมีประสิทธิภาพ ท้งั วจั นภาษาและอวจั นภาษา 4. รู้จกั กาลเทศะ ข. ทกั ษะการฟังทด่ี ี 1. ฟังอยา่ งเตม็ ใจและต้งั ใจ 2. จบั ใจความโดยการแยกประเดน็ ทศั นคติ และ ความรู้สึก 3. พูดโตต้ อบดว้ ยสีหนา้ และทา่ ทางที่ดี จากน้นั พฒั นาใหเ้ ป็นผสู้ ่ือสารท่ีมีทกั ษะการอา่ นและทกั ษะการฟังที่ดีตอ่ ไปจงพจิ ารณาสถานการณ์การสื่อสารต่อไปนีแ้ ล้วแสดงความคิดเห็นในประเดน็ ต่อไปนี้ - องค์ประกอบการส่ือสาร - ประเภทของการส่ือสาร - สัมฤทธิผลและปัญหาการสื่อสาร - ภาษาทใ่ี ช้ในการสื่อสารระเบยี บของมหาวทิ ยาลยั สยามกาหนดไวว้ ่าหากนกั ศกึ ษาลงทะเบยี นเรยี นวชิ าใดกต็ าม นกั ศกึ ษาคนนนั้ จะตอ้ งเขา้ หอ้ งเรยี นอยา่ งสม่าเสมอและเมอ่ื ตรวจสอบเวลาเรยี นแลว้ จะตอ้ งเขา้ หอ้ งเรยี นอยา่ งน้อย๘๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ นางสาวกาญจนเี ป็นนกั ศกึ ษาทม่ี เี วลาเขา้ หอ้ งเรยี นไมถ่ งึ ๘๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ จงึ ไมม่ สี ทิ ธิเขา้ สอบปลายภาค นายฤทธริ งค์ เจา้ หน้าทส่ี านักทะเบยี นและวดั ผลจงึ สง่ ไปรษณยี บตั รไปถงึ นางประกอบซง่ึ เป็นผปู้ กครอง นายกวบี ุรษุ ไปรษณยี น์ าไปรษณยี บตั รไปสง่ ถงึ นางประกอบเวลา ๑๑.๓๐ น.เมอ่ื ไดร้ บั แลว้ นางประกอบยนื อ่านขอ้ ความในไปรษณยี บตั รทห่ี น้าบา้ นดว้ ยความงุนงง เมอ่ื อ่านจบแลว้รสู้ กึ เสยี ใจกบั พฤตกิ รรมการเขา้ เรยี นของนางสาวกาญจนีมาก ************************************************** รายการอ้างอิง“การส่ือสาร” . กนกพร ปิ มแปง .เขา้ ถึงขอ้ มูลไดจ้ ากhttp://www.dpu.ac.th/artsciences/ge139/office/attach/1201842060.doc เม่ือ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๓.คณาจารยค์ ณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ภาษาไทย ๑. พมิ พค์ ร้ังที่๓. กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๓๘.คณาจารยภ์ าควชิ าภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์. การใช้ภาษาไทย ๒. พมิ พค์ ร้ังที่๓.

กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พม์ หาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์, ๒๕๔๒.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook