บทที่ ๕ บทสวดสรรเสรญิ พระรัตนตรยั ทำ� นองสรภัญญะ ๑. บทสวดนมสั การพระรตั นตรยั (ท�ำนองสวดนำ� ) อรหัง สัมมาสมั พุทโธ ภควา, พทุ ธงั ภควันตงั อภิวาเทมิ (กราบ) สวากขาโต ภควตา ธัมโม, ธมั มัง นมัสสามิ (กราบ) สปุ ฏิปันโน ภควโต สาวกสงั โฆ, สงั ฆัง นมามิ (กราบ) ๒. บทสวดนมสั การ (ท�ำนองสงั โยค) นะโม (รับ) ตัสสะ ภควโต อรหโต สัมมาสมั พุทธสั สะฯ นะโม ตัสสะ ภควโต อรหโต สัมมาสมั พุทธัสสะฯ นะโม ตัสสะ ภควโต อรหโต สมั มาสัมพทุ ธัสสะฯ ค่มู อื การสวดมนตห์ ม่สู รรเสริญพระรตั นตรยั 43 ท�ำนองสรภัญญะ
๓. บทสวดพระพุทธคณุ (ท�ำนองสงั โยค) อติ ปิ ิ โส (รับพร้อมกนั ) ภควา อรหงั สัมมาสัมพุทโธ วชิ ชาจรณสมั ปันโน สคุ โต โลกวิทู อนตุ ตโร ปุรสิ ทมั มสารถิ สตั ถา เทวมนุสสานงั พุทโธ ภควาตฯิ บทสวดพระพุทธคณุ (ท�ำนองสรภัญญะ) องค์ใดพระสมั พุทธ์ (รบั พรอ้ มกนั ) สุวสิ ุทธสนั ดาน ตัดมูลเกลสมาร๑ บ๒ มิหมน่ มิหมองมวั หนงึ่ ในพระทยั ท่าน ก็เบกิ บานคอื ดอกบวั ราคี บ พนั พัว สุวคนธก�ำจร องค์ใดประกอบด้วย พระกรุณาดังสาคร โปรดหมูป่ ระชากร มละ๓โอฆกันดาร๔ ช้ีทางบรรเทาทุกข์ และชีส้ ุขเกษมศานต์ ช้ีทางพระนฤพาน๕ อันพน้ โศกวโิ ยคภัย พร้อมเบญจพธิ จัก- ษุจรัสวมิ ลใส เห็นเหตทุ ่ใี กล้ไกล กเ็ จนจบประจกั ษจ์ ริง กำ� จัดนำ้� ใจหยาบ สันดานบาปแห่งชายหญิง สัตวโ์ ลกได้พ่งึ พงิ มละบาปบ�ำเพ็ญบุญ ข้า ขอประณตนอ้ ม ศิรเกลา้ บงั คมคุณ สมั พุทธการุญ- ญภาพนนั้ นิรนั ดรฯ ๑ ตัดมลู เกลสมาร = ตัดรากกิเลสมาร ๒ บ บ่ = ไม่ ๓ มละ = ละ ท้งิ ๔ โอฆกนั ดาร = หว้ งน้ำ� ที่ขา้ มได้ยากยงิ่ เป็นคำ� เปรยี บเทยี บหมายถงึ กิเลส ๕ พระนฤพาน = พระนิพพาน 44 คมู่ อื การสวดมนต์หม่สู รรเสรญิ พระรตั นตรยั ทำ� นองสรภัญญะ
๔. บทสวดพระธรรมคณุ (ท�ำนองสงั โยค) สวากขาโต (รับพร้อมกัน) ภควตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปนยิโก ปัจจัตตัง เวทติ พั โพ วิญญูหีติฯ บทสวดพระธรรมคุณ (ท�ำนองสรภญั ญะ) ธรรมะคอื คณุ ากร (รับพร้อมกัน) ส่วนชอบสาธร๑ ดจุ ดวงประทปี ชัชวาล แห่งองคพ์ ระศาสดาจารย์ ส่องสตั วส์ นั ดาน สว่างกระจ่างใจมนท๒์ ธรรมใดนับโดยมรรคผล เป็นแปดพึงยล และเก้ากบั ท้ังนฤพาน สมญาโลกอดุ รพสิ ดาร อันลกึ โอฬาร พสิ ุทธ์พิ ิเศษสุกใส อีกธรรมตน้ ทางครรไล๓ นามขนานขานไข ปฏิบัตปิ ริยตั เิ ปน็ สอง คือทางด�ำเนนิ ๔ดุจคลอง ใหล้ ่วงลปุ อง ยังโลกอดุ รโดยตรง ขา้ ขอโอนออ่ นอตุ มงค์๕ นบธรรมจ�ำนง ดว้ ยจิตต๖์ และกายวาจา (กราบ) ๑ สาธร = สาธุ = ดีแลว้ ชอบแลว้ ๒ มนท์ = อ่อนแอ โงเ่ ขลา ๓ ครรไล = แผงมาจาก ไคล = ไป ๔ ต้นฉบับเป็น “คอื ทางดำ� เนิรดุจคลอง” ๕ อุตมงค์ = อุตมางค์ = ส่วนสงู สุดของร่างกาย คือ หวั ๖ จิตต์ = จติ ใจ คู่มอื การสวดมนต์หมู่สรรเสรญิ พระรตั นตรยั 45 ท�ำนองสรภัญญะ
๕. บทสวดพระสงั ฆคุณ (ท�ำนองสังโยค) สุปฏิปันโน (รับพร้อมกัน) ภควโต สาวกสังโฆ อุชุปฏิปันโน ภควโต สาวกสังโฆ ญายปฏปิ นั โน ภควโต สาวกสังโฆ สามจี ิปฏิปนั โน ภควโต สาวกสงั โฆ ยททิ ัง จัตตาริ ปรุ ิสยุคานิ อัฏฐะ ปรุ ิสปุคคลา, เอสะ ภควโต สาวกสงั โฆ อาหเุ นยโย ปาหเุ นยโย ทกั ขเิ ณยโย อัญชลกี รณโี ย อนตุ ตรัง ปุญญกั เขตตงั โลกัสสาติฯ บทสวดพระสงั ฆคุณ (ท�ำนองสรภัญญะ) สงฆ์ใดสาวกศาสดา (รับพร้อมกนั ) รบั ปฏบิ ัติมา แต่องค์สมเดจ็ ภควนั ต์ เห็นแจง้ จตสุ ัจเสรจ็ บรร- ลุทางท่ีอนั ระงับและดับทกุ ขภ์ ัย โดยเสด็จพระผตู้ รัสไตร๑ ปัญญาผ่องใส สะอาดและปราศมัวหมอง เหินห่างทางข้าศกึ ปอง บ มลิ �ำพอง ดว้ ยกายและวาจาใจ เป็นเน้ือนาบญุ อันไพ- ศาลแดโ่ ลกัย และเกดิ พบิ ลู ย์พนู ผล สมญาเอารส๒ทศพล มคี ณุ อนนต์ อเนกจะนบั เหลอื ตรา ข้า ขอนบหมู่พระศรา- พก๓ทรงคุณา- นุคณุ ประดุจร�ำพัน ด้วยเดชบญุ ข้าอภวิ ันท์ พระไตรรัตน์อัน อุดมดิเรกนริ ัตสิ ัย๔ จงชว่ ยขจดั โพยภัย อนั ตรายใดใด จงดบั และกลับเส่อื มศนู ยฯ์ (กราบ) ๑ ตรัสไตร = สอนโลก ๓ คือ มนษุ ยโลก เทวโลก และ พรหมโลก ๒ เอารส = โอรส ๓ ศราพก = สาวก ๔ นริ ัติสัย = พิเศษย่ิง ประเสริฐยงิ่ 46 คมู่ อื การสวดมนตห์ มสู่ รรเสริญพระรัตนตรยั ทำ� นองสรภัญญะ
๖. บทสวดชยสทิ ธคิ าถาหรอื บทพาหุง (ทำ� นองสงั โยค) พาหุง (รบั พร้อมกัน) สหัสสมภนิ มิ มิตสาวธุ นั ตงั ครเี มขลัง อุทติ โฆรสเสนมารงั ทานาทธิ มั มวิธนิ า ชิตวา มนุ นิ โท ตันเตชสา ภวตุ เต ชยสทิ ธิ นจิ จังฯ บทสวดชยสทิ ธคิ าถา (ท�ำนองสรภัญญะ) ปางเมื่อพระองค์ปรมพทุ - (รบั พรอ้ มกนั ) ธวิสุทธศาสดา ตรัสรอู้ นตุ ตรสมา- ธิ ณ โพธบิ ลั ลังก์ ขุนมารสหสั สพหพุ า- ห๑ุ วิชาวิชิตขลงั ขี่ครี ิเมขลประทัง คชเหยี้ มกระเหมิ หาญ แสร้งเสกสราวุธประดษิ ฐ ์ กลคดิ จะรอนราญ๒ รมุ พลพหลพยหุ ปาน พระสมุททะ๓นองมา หวงั เพอ่ื ผจญวรมนุ ิน- ท๔สชุ นิ ราชา๕ พระปราบพหลพยหุ มา- รมเลืองมลายสญู ด้วยเดชะองค์พระทศพล สุวิมลไพบูลย์ ทานาทธิ มั มวธิ ิกลู ๖ ชนนอ้ มมโนตาม ด้วยเดชะสจั จวจนา และนมามอิ งคส์ าม ขอจงนกิ รพลสยาม ชยสทิ ธิทุกวาร ถึงแม้จะมอี ริวเิ ศษ พลเดชเทียมมาร ขอไทยผจญพชิ ติ ผลาญ อรแิ มน้ มนุ ินทรฯ (กราบ) ๑ สหสั สพหุพาหุ = มีมือมากถงึ หนง่ึ พนั มอื ๒ รอนราญ = รบ ๓ สมุททะ = สมุทร = ทะเลลึก ห้วงน�้ำขนาดใหญ่ ๔ มนุ นิ ท = มนุ นิ ทร์ = พระพทุ ธเจา้ ๕ สชุ ินราชา = พระราชาผู้ชนะด้วยดี = พระพุทธเจา้ ๖ ทานาทธิ มั มวธิ กิ ลู = พระพทุ ธองคท์ รงชนะมารดว้ ยธรรมวิธี เช่น ทานบารมี เปน็ ตน้ คู่มือ การสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรยั 47 ทำ� นองสรภญั ญะ
บทท่ี ๖ ศลิ ปะและวิธีการฝกึ สวดมนต์หมู่สรรเสรญิ พระรตั นตรยั ท�ำนองสรภัญญะ การที่จะฝึกนักเรียนให้สวดมนต์หมู่สรรเสริญคุณของพระรัตนตรัย ท�ำนองสรภัญญะ นัน้ ต้องอาศยั ครอู าจารยท์ ่มี คี วามรัก มีศรัทธา ขยนั และอดทนเปน็ อย่างยิ่ง มคี รอู าจารย์ในหลาย พืน้ ทีไ่ ดค้ ดิ ค้นหาวธิ ีการตา่ ง ๆ เช่น ให้ฟงั เทปเสยี งตน้ แบบท่ที ำ� เผยแพร่ แล้วจ�ำวธิ สี วดไปประกวด สอบถามจากพระภิกษุสงฆ์หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ให้ท่านแนะน�ำ เป็นต้น ในบทน้ีขอน�ำศิลปะและ วธิ กี ารฝกึ สอนการสวดมนตห์ มฯู่ ของอาจารยเ์ ยาวณี พลเสน อดีตอาจารย์ ๒ ระดับ ๗ โรงเรียน ศกึ ษานารี กรงุ เทพมหานคร ท่ีเรยี บเรียงไว้ ดังน้ี ๑. การคดั เลอื กนักเรียน จ�ำเป็นอย่างย่ิงท่ีครูผู้ฝึกสอนจะต้องคัดเลือกหานักเรียนท่ีจะสวดมนต์หมู่ฯ ให้ได้ครบ ๕ คน ตามทกี่ ำ� หนดก่อน เพราะค�ำว่าสวดมนต์หมฯู่ ในท่ีนก้ี �ำหนดให้มนี ักเรียนผู้สวดจำ� นวน ๕ คน ต่อหนง่ึ ชดุ ถ้าไมค่ รบ ๕ คน ก็ไม่เรยี กว่าสวดมนตห์ มู่ฯ ถ้าเกนิ ๕ คน กม็ ากเกินไป แตจ่ ะเตรยี มไว้ เป็นตัวส�ำรองก็ได้ การคดั เลอื กจงึ ควรคัดเลอื กนักเรียนผทู้ ่ีมคี ุณสมบตั ิ ดงั นี้ ๑) อายุระดบั เดยี วกันหรือใกลเ้ คียงกนั ๒) มรี ะดบั เสยี งอยู่ในระดบั เดียวกัน ๓) มีความสนใจ มีศรทั ธาในการสวดมนตห์ มู่ฯ ๔) มคี วามตัง้ ใจจรงิ มคี วามอดทน ขยัน และพร้อมทีจ่ ะรับการฝกึ ฝน ๕) มีมารยาท มบี คุ ลกิ ลักษณะที่ดี และมอี ธั ยาศัยสภุ าพออ่ นโยน คมู่ ือ การสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรยั 49 ทำ� นองสรภญั ญะ
๒. วธิ ีการฝกึ สวดมนต์หม่สู รรเสริญพระรตั นตรัย ทำ� นองสรภัญญะ เมื่อคัดเลือกนักเรียนได้ครบตามจ�ำนวนที่ก�ำหนดไว้แล้ว ให้ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับ แบบฝึกหัดตามขั้นตอนให้เข้าใจชัดเจน ซ่ึงแบบฝึกหัดในการสวดมนต์นั้น๑ ได้เรียบเรียงข้ึนตาม คำ� อธบิ ายของทา่ นเจา้ คณุ พระเทพเวที (ย้ิม ภทรธมโม ป.ธ.๙) เจา้ อาวาสวดั อนงคาราม และใช้เปน็ แบบฝกึ ฝนนกั เรยี นจนไดร้ บั รางวลั ชนะเลศิ มาหลายปี และมโี รงเรยี นตา่ ง ๆ สนใจนำ� ไปใชฝ้ กึ ซอ้ มนกั เรยี น เพอ่ื เข้าประกวดจนได้รบั รางวัลชนะเลศิ มาแล้วดว้ ย ซึ่งมีวธิ ีการและขน้ั ตอน ดงั น้ี คอื ๑. ศึกษาสญั ลักษณ์ท่ีใช้ในแบบฝกึ หดั แตล่ ะบทสวดมนต์ ดังนี้ ๑.๑ จดุ หน่งึ จุด แทนการออกเสียงสระเสยี งส้นั เทา่ กับ ๑ จงั หวะ ๑.๒ จุดสองจดุ แทนการออกเสียงสระยาว เท่ากบั ๒ จงั หวะ ๑.๓ จุดสองจุดและขีดเส้นใตแ้ ทนการออกเสยี งยาว หนัก ๑.๔ เครื่องหมาย (,) แสดงตำ� แหน่งจงั หวะหยดุ (หายใจแบบลกั หายใจส้นั ๆ) ๑.๕ เครอ่ื งหมาย / แสดงต�ำแหนง่ การทอดเสยี งหลังค�ำครุ ๑.๖ เคร่ืองหมาย - แสดงค�ำศัพท์ค�ำเดียวกันให้สวดต่อเน่ืองกัน (ยกเว้น … การญุ ญภาพนัน้ นริ นั ดร) ๑.๗ เคร่ืองหมาย แทนครุ ออกเสียง ๒ มาตรา เคร่ืองหมาย แทนลหุ ออกเสียง ๑ มาตรา ๑.๘ การเว้นช่องว่างระหว่างค�ำในบทสวดพระพุทธคุณ และบทสวดพระธรรมคุณ แสดงการสวดเรียงค�ำห่าง ๑ จังหวะ ๒. ฝึกอ่านบทสวดด้วยเสียงสั้น ยาว หนัก เบา ตามสัญลักษณ์ ควรเคาะจังหวะ ประกอบดว้ ย เพ่อื ให้เห็นความแตกต่าง ๓. ศกึ ษาการสวดจากเทปบนั ทกึ เสยี ง หรอื วดี ทิ ศั น์ การสวดมนตห์ มสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั ทำ� นองสรภญั ญะ ๔. ฝกึ สวดโดยใชแ้ บบฝกึ หดั เคาะจงั หวะ และฟงั เทปบนั ทกึ เสยี ง หรอื วดี ทิ ศั นไ์ ปพรอ้ ม ๆ กนั ๑ รายละเอียดดใู นภาคผนวก 50 ค่มู อื การสวดมนต์หม่สู รรเสรญิ พระรตั นตรัย ทำ� นองสรภญั ญะ
๓. ขอ้ สงั เกตในการฝกึ สวดมนต์หมสู่ รรเสรญิ พระรัตนตรยั ท�ำนองสรภญั ญะ ๑. การสวดภาษาบาลีตามแบบฝึกหัดและวีดิทัศน์ เป็นการสวดแบบสังโยควิธี คอื สวดตดิ ตอ่ กนั ไปเรอ่ื ย ๆ มจี งั หวะหยดุ ตรงคำ� ทม่ี ตี วั สะกด แมก่ ก แมก่ ด และแมก่ บ ในสระเสยี งสน้ั ผ้สู วดจะต้องใชว้ ธิ ลี ักหายใจส้นั ๆ อยา่ ให้เสยี จังหวะ ๒. การสวดภาษาบาลี ให้นับจังหวะค�ำทีม่ สี ระเสียงสนั้ ๑ จังหวะ เสยี งยาว ๒ จังหวะ ค�ำท่ีมตี ัวสะกด ๒ จงั หวะและหนกั ๓. การสวดภาษาบาลีต้องสวดเสียงส้ัน ยาว หนัก ให้ราบเรียบ ไม่กระแทกค�ำ และให้ ต่อเน่อื งกนั ไปเหมอื นลกู โซ่ ๔. การสวดบทภาษาไทย สวดทำ� นองสรภญั ญะ คอื สวดใชเ้ สยี งตามครุ และลหใุ นทำ� นอง ฉันทลักษณ์แต่ละบท ครหุ นง่ึ คำ� เทา่ กบั ๒ มาตรา ลหุหนง่ึ คำ� เท่ากบั ๑ มาตรา ครุ ออกเสียงยาว ลหุ ออกเสยี งสนั้ ต้องออกเสยี งตอ่ กบั ครุ เช่น องค.์ .ใด..พระ.สัม..พุทธ.. ๕. การสวดบทพุทธคุณ สวดตามท�ำนองอินทรวิเชียรฉันท์ คือ วรรคแรก ครุ ครุ ลหุ ครุ ครุ วรรคทสี่ อง ลหุ ลหุ ครุ ลหุ ครุ ครุ ตอ้ งออกเสียงสั้นยาว หนกั เบา ตามครุ ลหุ บทท่มี ีค�ำ ทอ่ี อกเสยี งยาวอยหู่ ลายคำ� เชน่ “เกลส” จะตอ้ งออกเสยี งใหส้ น้ั เพราะเปน็ ศพั ทค์ ำ� เดยี วกนั คำ� ทเ่ี ปน็ ครุ แต่อยู่ในต�ำแหน่งลหุ เช่น ก็เบิกบาน และช้ีสุข ก็เจนจบ สันดานบาป ญภาพน้ัน ต้องสวด ด้วยความระมัดระวงั ไมใ่ ห้ยาวหรอื หนกั เพราะเป็นลหุตามทำ� นองฉนั ท์ ๖. การสวดบทธรรมคุณและสงั ฆคณุ เปน็ คำ� ประพนั ธป์ ระเภทกาพยฉ์ บงั ๑๖ ไม่มีครุ ลหุ วธิ ีสวดให้สวดเรียงคำ� ตามคำ� ประพันธ์ บทท่หี น่ึง ๖ คำ� บทที่สอง ๔ ค�ำ บททส่ี าม ๖ คำ� ตอ้ งสวด ให้ครบค�ำ เกนิ ไดเ้ ลก็ น้อย แต่ขาดไม่ได้ ค�ำท่ีเกินตอ้ งออกเสยี งสั้น เชน่ เห็นแจ้งจตุสัจเสร็จบรรล-ุ ทางทอี่ นั เป็นต้น ๗. การสวดบทชยสิทธิคาถา สวดตามท�ำนองวสันตดิลกฉันท์ คือ วรรคแรก ครุ ครุ ลหุ ครุ ลหุ ลหุ ลหุ ครุ วรรคที่สอง ลหุ ลหุ ครุ ลหุ ครุ ครุ บทนี้เป็นบทท่ีมีความไพเราะมาก คำ� ทใี่ ชต้ รงครุ ลหุ จงึ สวดงา่ ย ความไพเราะอยทู่ ก่ี ารสวดใหต้ กจงั หวะและทอดเสยี งทา้ ยบทใหร้ บั กนั ๘. การออกเสียงพยัญชนะ ร ล ควบกล้�ำต้องชัดเจน บทสวดบาลีควรค�ำนึงพยัญชนะ เสียงกอ้ งด้วย จะทำ� ใหไ้ พเราะข้ึน คมู่ อื การสวดมนต์หมู่สรรเสรญิ พระรตั นตรยั 51 ทำ� นองสรภญั ญะ
๙. การใช้เสียงในการสวด ควรใช้เสียงกลางไม่สูงหรือต่�ำเกินไป เสียงก้องกังวานหรือ เสยี งอ่อนหวาน จะสวดไดไ้ พเราะกว่าเสยี งแข็ง หรอื ห้วน ๔. มารยาทและท่าทางขณะสวด นักเรียนที่ฝึกสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัย ท�ำนองสรภัญญะ ควรจะได้รับ การฝกึ มารยาทในการกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ การเดินเข่า การลกุ นัง่ ให้ถกู แบบการปฏบิ ตั ิ มารยาทไทย และควรฝึกการควบคุมอารมณใ์ ห้สงบ สขุ มุ เยอื กเยน็ ขณะสวดผสู้ วดทุกคนควรจะ มองท่พี ระพุทธรปู เป็นจุดเดยี ว จะท�ำให้ทา่ ทางขณะสวดดสู �ำรวม สง่างาม มีสมาธใิ นการสวด และ ไดอ้ านิสงสใ์ นการสวดมนต์ดว้ ย 52 ค่มู ือ การสวดมนตห์ มสู่ รรเสริญพระรตั นตรยั ท�ำนองสรภญั ญะ
บทท่ี ๗ เทคนคิ วธิ ีการฝึกสวดมนต์หมู่ฯ แบบฝกึ หัดสวดมนต์หมู่ บทนมัสการพระรตั นตรัย (ทำ� นองสวดน�ำ) อะ.ระ.หัง. สัม.มา.สัม.พุท.โธ.. ภะ.คะ.วา.. พุท.ธงั . ภะ.คะ.วนั ..ตัง. อะ.ภิ.วา..เท..มิ. (กราบ) สะ.หวาก..ขา..โต.. ภะ.คะ.วะ.ตา.. ธมั .โม.. ธัม.มงั . นะ.มัส.สา..ม.ิ (กราบ) ส.ุ ปะ.ฏิ.ปนั .โน.. ภะ.คะ.วะ.โต.. สา.วะ.กะ.สัง.โฆ.. สงั .ฆงั . นะ.มา..มิ. (กราบ) บทนมสั การ (ท�ำนองสังโยค) (นำ� ) นะ.โม.. (รบั พรอ้ มกนั ) ตสั ./สะ. ภะ.คะ.วะ.โต.. อะ.ระ.หะ.โต.. สมั .มา..สมั .พทุ ./ธสั .สะ. (๓ จบ) ค�ำแนะน�ำในการใช้แบบฝกึ หดั บทภาษาบาลี . = ให้ออกเสยี งสนั้ หรือเบา .. = ให้ออกเสยี งยาว หนัก หรอื เตม็ ค�ำ / = สญั ลกั ษณ์ของการหยดุ ในค�ำทีเ่ ป็นตวั สงั โยค การสวดทำ� นองสังโยค คือ การสวดหยุดตรงคำ� ทกี่ ำ� หนดไว้ โดยมีคำ� ท่ีเปน็ ตวั สะกดใน แมก่ ก กด กบ เป็นตัวก�ำหนด การสวดหยุด เป็นการหยุดสั้น ๆ เพียงเล็กน้อยเหมือนกับการลักหายใจ ไม่ใช่หยุด นาน ในกรณที มี่ สี งั โยคซอ้ นกัน ๒ ตัว ให้หยุดเฉพาะตัวหนา้ ในค�ำที่มีเสียงยาว ๒ ตวั เช่น อะภวิ าเทมิ ใหอ้ อกเสยี งยาวเฉพาะตวั หลงั ตวั หนา้ ไม่ต้องออกเสียงยาว ให้ออกเสยี งเต็มคำ� ตามปกติ ในบทพาหุง / ในค�ำวา่ นิจ/จงั จะคงไวห้ รอื ตัดออกก็ได้ เพราะเปน็ คำ� ลงทา้ ยบท แต่ทีส่ ำ� คัญคือ ต้องลงทา้ ยบทจบ ให้ไพเราะนา่ ฟงั อยา่ งมลี ลี าเปน็ ดีที่สดุ คมู่ ือ การสวดมนตห์ มู่สรรเสริญพระรัตนตรัย 53 ท�ำนองสรภญั ญะ
บทสวดพระพุทธคุณ (ท�ำนองสังโยค) (นำ� ) อ.ิ ติ.ป.ิ โส.. (รับพร้อมกัน) ภะ.คะ.วา.. อะ.ระ.หงั . สมั .มา..สัม.พทุ ./โธ.. วิช./ชา..จะ.ระ.ณะ.สัม. ปัน.โน.. สุ.คะ.โต.. โล..กะ.ว.ิ ทู.. อะ.นตุ ./ตะ.โร.. ป.ุ ร.ิ สะ.ทมั .มะ.สา..ระ.ถิ. สัต./ถา.. เท..วะ.มะ.นสุ ./ สา..นัง.. พทุ ./โธ.. ภะ.คะ.วา..ต.ิ บทสวดพระพุทธคุณ (ท�ำนองสรภญั ญะ) (นำ� ) องค.์ .ใด..พระ.สัม..พุทธ.. (รับพร้อมกัน) สุ.วิ.สุท..ธะ.สัน..ดาน.. ตัด..มูล..กะ.เลส..มาร.. บ.มิ.หมน่ ..มิ.หมอง..มวั .. หน่ึง..ใน..พระ.ทยั ..ทา่ น.. ก.็ เบิก.บาน..คือ.ดอก..บัว.. รา..ค.ี .บ.พนั ..พัว.. ส.ุ วะ.คน..ธะ.ก�ำ..จร.. องค์..ใด..ประ.กอบ..ด้วย.. (หยุด) พระ.กรุ.ณา..ดงั .สา..คร.. โปรด..หมู่..ประ.ชา..กร.. มะ.ละ.โอฆ..ฆะ.กนั ..ดาร.. ช.้ี .ทาง..บรร.เทา..ทุกข.์ . และ.ช.้ี สุข..กะ.เษม..สานต.์ . ชี้..ทาง..พระ.นฤ..พาน.. อนั .พน้ .โศก..ว.ิ โยค..ภยั .. พรอ้ ม..เบญ..จะ.พิธะ..จกั ..- (ต่อ) ษุ.จะ.รสั ..วิ.มล..ใส.. เห็น..เหต.ุ .ท.่ี ใกล.้ .ไกล.. ก.็ เจน.จบ..ประ.จกั ษ์..จรงิ .. กำ� ..จดั ..น้ำ� .ใจ..หยาบ.. (หยุด) สนั .ดาน.บาป..แห่ง.ชาย..หญิง.. สตั ว์..โลก..ได.้ พึ่ง..พงิ .. มะ.ละ.บาป..บำ� .เพ็ญ..บุญ.. ข้า..ขอ..ประ.ณต..น้อม.. ศิ.ระ.เกล้า..บงั .คม..คุณ.. สัม..พทุ ..ธะ.กา..รุญ..- (หยดุ ) ญะ.ภาพ.นั้น..นิ.รัน..ดร.. (กราบ) บทสวดพระธรรมคุณ (ท�ำนองสังโยค) (นำ� ) สะ.หวาก..ขา..โต.. (รบั พรอ้ มกนั ) ภะ.คะ.วะ.ตา.. ธมั .โม.. สนั .ทฏิ ./ฐ.ิ โก. อะ.กา..ล.ิ โก. เอ..ห.ิ ปัส./ส.ิ โก. โอ..ปะ.นะ.ยิ.โก. ปัจ./จตั .ตงั . เว..ท.ิ ตัพ./โพ. วญิ .ญ.ู .ห.ี .ต.ิ 54 คู่มอื การสวดมนต์หมูส่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั ท�ำนองสรภญั ญะ
บทสวดพระธรรมคุณ (ทำ� นองสรภัญญะ) (นำ� ) ธัมมะ คอื คณุ ากร (รบั พร้อมกัน) สว่ นชอบ สาธร ดจุ ดวง ประทปี ชัชวาล แห่งองค์ พระศาส ดาจารย์ สอ่ งสตั ว์ สันดาน สว่าง กระจ่าง ใจมนท์ ธรรมใด นับโดย มรรคผล เป็นแปด พงึ ยล และเก้า กบั ทงั้ นฤพาน สมญา โลกอดุ ร พิสดาร อันลึก โอฬาร พิสทุ ธ์ิ พิเศษ สุกใส อกี ธรรม ต้นทาง ครรไล นามขนาน ขานไข ปฏบิ ตั ิ ปริยัติ เป็นสอง คือทาง ดำ� เนนิ ดุจ (จะ) คลอง ให้ลว่ ง ลุปอง ยงั โลก อุดร โดยตรง ข้าขอ โอนอ่อน อตุ ตะมงค์ (หยดุ ) นบธรรม จำ� นง ด้วยจติ และกาย วาจา (กราบ) ค�ำแนะน�ำในการใชแ้ บบฝกึ หดั บทภาษาไทย . = ใหอ้ อกเสยี งส้นั หรอื เบา .. = ใหอ้ อกเสยี งยาว หรือ หนกั หรือ เต็มคำ� ในการสวดบทภาษาไทย จะมกี ารใชล้ ลี าหรือลูกเออ้ื นเขา้ มาช่วยได้ตามความเหมาะสม เพอื่ ให้เกดิ ความไพเราะในอรรถรสแห่งบทประพนั ธน์ ั้นๆ การอา่ นและการสวดบทภาษาไทยในอนิ ทรวิเชยี รฉันท์ แบง่ เปน็ (ซา้ ย) ๒-๓ (ขวา) ๓-๓ เช่น (อา่ น) องค์ใด พระสัมพุทธ สุวิสุท ธสนั ดาน (สวด) ในชอ่ งเว้นวรรคระหว่างคำ� อ่าน ใหใ้ ส่ลลี าลกู เออ้ื นเข้ามาชว่ ยให้เกดิ ความไพเราะ การอ่านและการสวดบทภาษาไทยในวสันตดิลกฉนั ท์ แบง่ เปน็ (ซ้าย) ๒-๒-๔ (ขวา) ๓-๓ เชน่ (อา่ น) ขนุ มาร สหัส สพหุพา หวุ ิชา วชิ ิตขลงั (สวด) ในชอ่ งเวน้ วรรคระหว่างคำ� อ่าน ให้ใส่ลลี าลูกเออ้ื นเขา้ มาช่วยใหเ้ กดิ ความไพเราะ การอา่ นและการสวดบทภาษาไทยในกาพยฉ์ บงั ๑๖ ใหอ้ า่ นโดยแบง่ เปน็ วรรคแรก ๒-๒-๒ วรรคสอง ๒-๒ วรรคสาม ๒-๒-๒ ให้สวดโดยใชล้ ลี าช่วยเพื่อให้เกดิ ความไพเราะ การอ่านกับการสวดนั้นต่างกัน การสวดใช้ลีลาลูกเอื้อนเข้ามาช่วยให้เกิดความไพเราะน่าฟัง จงึ ห้ามหยดุ เป็นวรรค ๆ เหมือนการอ่านเป็นอันขาด ค่มู ือ การสวดมนตห์ ม่สู รรเสรญิ พระรตั นตรัย 55 ท�ำนองสรภญั ญะ
บทสวดพระสังฆคณุ (ทำ� นองสังโยค) (น�ำ) สุ.ปะ.ฏ.ิ ปัน.โน.. (รับพรอ้ มกัน) ภะ.คะ.วะ.โต.. สา..วะ.กะ.สัง.โฆ.. อ.ุ ชุ.ปะ.ฏ.ิ ปัน.โน.. ภะ.คะ.วะ.โต.. สา..วะ.กะ.สงั .โฆ.. ญา..ยะ.ปะ.ฏิ.ปนั .โน.. ภะ.คะ.วะ.โต.. สา..วะ.กะ.สัง.โฆ.. สา..มี..จ.ิ ปะ.ฏิ.ปัน.โน.. ภะ.คะ.วะ.โต.. สา..วะ.กะ.สงั .โฆ.. ยะ.ท.ิ ทงั . จัต./ตา..ริ. ป.ุ ริ.สะ.ย.ุ คา..น.ิ อฏั ./ฐะ. ปุ.ร.ิ สะ.ปุค./คะ.ลา.. เอ..สะ. ภะ.คะ.วะ.โต.. สา..วะ.กะ.สัง.โฆ.. อา..ห.ุ เนย..โย.. ปา..หุ.เนย..โย.. ทัก./ข.ิ เณย..โย.. อัญ.ชะ.ล.ี .กะ.ระ.ณ.ี .โย.. อะ.นุต./ตะ.รัง. ปุญ.ญกั ./เขต.ตัง. โล..กสั ./สา..ติ. บทสวดพระสังฆคุณ (ทำ� นองสรภญั ญะ) (นำ� ) สงฆใ์ ด สาวก ศาสดา (รบั พรอ้ มกนั ) รบั ปฏิบัตมิ า แต่องค์ สมเด็จ ภะคะวันต์ เห็นแจ้ง จตสุ ัจ เสรจ็ บรร- (ต่อ) ลทุ าง ที่ อัน ระงับ และดบั ทุกขภ์ ัย โดยเสด็จ พระผู้ ตรสั ไตร (หยุด) ปัญญา ผ่องใส สะอาด และปราศ มัวหมอง เหินหา่ ง ทางข้า ศกึ ปอง บมิ ล�ำพอง ด้วยกาย และวา จาใจ เปน็ เน้อื นาบุญ อนั ไพ- (ต่อ) ศาลแด่ โลกัย และเกดิ พบิ ลู ย์ พนู ผล สมญา เอารส ทศพล มีคุณ อนนต์ อเนก จะนับ เหลือตรา ข้าขอ นบหมู่ พระศรา- (ตอ่ ) พกทรง คณุ า- (ตอ่ ) นคุ ุณ ประดุจ รำ� พัน ดว้ ยเดช บุญขา้ อภิวันท์ พระไตร รตั น์อัน อดุ ม ดเิ รก นริ ตั สิ ัย 56 คู่มือ การสวดมนต์หมสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั ท�ำนองสรภัญญะ
จงชว่ ย ขจดั โพยภัย อนั ตราย ใดใด จงดบั และกลับ เส่ือมสูญ (กราบ) บทสวดชยสิทธิคาถาหรอื บทพาหงุ (สวดท�ำนองสังโยค) (น�ำ) พา..หุง. (รับพรอ้ มกัน) สะ.หัส./สะ.มะ.ภิ.นิม.มิ.ตะ.สา..วุ.ธนั .ตงั . ครี..เม..ขะ.ลงั . อ.ุ ท.ิ ตะ.โฆ..ระ.สะ.เส..นะ.มา..รงั . ทา..นา..ท.ิ ธมั .มะ.วิ.ธ.ิ นา.. ช.ิ ตะ.วา.. ม.ุ นิน.โท. ตัน.เต..ชะ.สา.. ภะ.วะ.ต.ุ เต.. ชะ.ยะ.สทิ ./ธ.ิ นจิ ./จัง. บทสวดชยสิทธิคาถา (ทำ� นองสรภญั ญะ) (นำ� ) ปาง..เมื่อ..พระ.องค์..ปะ.ระ.มะ.พุท..- (รับพรอ้ มกัน) ธะ.ว.ิ สุท..ธะ.ศาส..ดา.. ตรสั ..รู้..อะ.นุต..ตะ.ระ.สะ.มา..-(ต่อ) ธิ.ณ.โพ..ธิ.บัล..ลงั ก.์ . ขุน..มาร..สะ.หัส..สะ.พะ.ห.ุ พา..-(ต่อ) หุ.วิ.ชา..วิ.ชิต..ขลงั .. ข.่ี .คี..ร.ิ เม..ขะ.ละ.ประ.ทงั .. คะ.ชะ.เหยี้ ม..กระ.เหิม..หาญ.. แสร้ง..เสก..ส.รา..ว.ุ ธะ.ประ.ดษิ ฐ.์ . กะ.ละ.คิด..จะ.รอน..ราญ.. รุม..พล..พะ.หล..พะ.ยุ.หะ.ปาน.. พระ.ส.มทุ ..ทะ.นอง..มา.. หวัง..เพอ่ื ..ผ.จญ..วะ.ระ.มุ.นนิ ..-(ต่อ) ทะ.ส.ุ ชนิ ..นะ.รา..ชา.. พระ..ปราบ..พะ.หล..พะ.ย.ุ หะ.มา..-(ต่อ) ระ.มะ.เลอื ง..มะ.ลาย..สญู .. ดว้ ย..เด..ชะ.องค.์ .พระ.ทะ.ศะ.พล..(หยดุ ) สุ.ว.ิ มล..ละ.ไพ.บูลย.์ . ทา..นา..ทิ.ธัม..มะ.ว.ิ ธ.ิ กูล.. ชะ.นะ.น้อม..มะ.โน..ตาม.. ดว้ ย..เด..ชะ.สัจ..จะ.วะ.จะ.นา..(หยดุ ) และ.นะ.มา..ม.ิ องค.์ .สาม.. ขอ..จง..น.ิ กร..พะ.ละ.ส.หยาม.. ชะ.ยะ.สทิ ..ธิ.ทุก..วาร.. ถึง..แม.้ .จะ.มี..อะ.หร.ิ วิ.เศษ.. พะ.ละ.เดช..ชะ.เทียม..มาร.. ขอ..ไทย..ผ.จญ..พ.ิ ช.ิ ตะ.ผลาญ..(หยดุ ) อะ.หริ.แมน้ ..ม.ุ นิน..ทร.. กราบ ๑ คร้งั แสดงถึงการสวดจบในบทน้ี แล้วกราบลาพระรัตนตรยั อีก ๓ คร้งั คู่มือ การสวดมนต์หมู่สรรเสรญิ พระรัตนตรัย 57 ทำ� นองสรภัญญะ
บทท่ี ๘ วิธีจดั สถานที่ประกวดสวดมนตห์ มู่สรรเสรญิ พระรัตนตรัย ท�ำนองสรภญั ญะ ในการจดั การประกวดสวดมนตห์ มสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั ทำ� นองสรภญั ญะ ซงึ่ ปจั จบุ นั นี้ ถอื วา่ เปน็ กจิ กรรมสำ� คญั ทที่ กุ โรงเรยี นทม่ี ผี นู้ บั ถอื พระพทุ ธศาสนาจะตอ้ งปฏบิ ตั เิ ปน็ กจิ วตั ร วฒั นธรรม และประเพณที ด่ี งี าม และทางราชการจดั ใหม้ กี ารประกวดระหวา่ งโรงเรยี น ระดบั จงั หวดั ระดบั ภาค จนถงึ ระดบั ประเทศ เพอ่ื เขา้ รบั โลพ่ ระราชทานจากสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในวนั เสดจ็ ฯ เปดิ งานสปั ดาหส์ ง่ เสรมิ พระพทุ ธศาสนาวนั วสิ าขบชู าทกุ ปี เพราะฉะนนั้ ในการประกวด สถานท่ีกเ็ ป็นส่วนสำ� คญั ทีจ่ ะตอ้ งจดั ใหแ้ ลดูแลว้ เปน็ ระเบียบ สวยงาม ขลงั และศกั ด์ิสิทธิ์ ดงั นี้ ๑. เปน็ หอ้ งประชมุ หรือหอ้ งท่สี วยงาม สงบ สะอาด ๒. ตอ้ งมโี ตะ๊ หมบู่ ชู า จะเปน็ โตะ๊ หมู่ ๙ หมู่ ๗ หมู่ ๕ หรอื หมู่ ๔ กไ็ ด้ แตต่ อ้ งมอี งคป์ ระกอบ ของโต๊ะหม่บู ูชาแต่ละประเภทใหถ้ กู ต้องตามระเบียบ (ดอกไม้ ธปู เทียน) ๓. ตอ้ งมธี งชาตแิ ละพระบรมฉายาลักษณ์วางถูกตอ้ งตามต�ำแหน่ง ๔. มีพรมปูหนา้ โต๊ะหม่บู ูชาส�ำหรบั ให้นกั เรียนน่งั เรยี งหน้ากระดานได้ ๕ คน ๕. โตะ๊ กรรมการตง้ั อยู่ ๒ ขา้ งของพรมและใหอ้ ยคู่ อ่ นขา้ งเหนอื แนวทนี่ กั เรยี นนง่ั เรยี งแถว พอใหก้ รรมการทกุ ท่านสามารถมองเห็นการกราบของนักเรยี นไดช้ ัดเจน คมู่ ือ การสวดมนตห์ มูส่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั 59 ท�ำนองสรภญั ญะ
การจดั สถานทปี่ ระกวดสวดมนตห์ มู่สรรเสริญพระรตั นตรยั ทำ� นองสรภัญญะ สถานที่ ต้ังโตะ๊ หมู่บชู า สถานที่สวดประกวด กรรมการ กรรมการ นกั เรียนผู้ทจี่ ะประกวดยนื รอและเริ่มเดินเขา่ เข้าไป จดั เตรียมเกา้ อ้บี ริเวณสถานท่ีเพื่อนง่ั รอลำ� ดับการประกวด 00000 00000 00000 00000 00000 00000 00000 00000 00000 00000 00000 00000 00000 00000 00000 00000 60 คมู่ ือ การสวดมนตห์ มู่สรรเสรญิ พระรัตนตรัย ทำ� นองสรภัญญะ
การรบั รายงานตวั ผ้เู ข้าประกวดสวดมนต์หมู่ฯ นักเรียนลงทะเบียนรายงานตัว คมู่ ือ การสวดมนตห์ มู่สรรเสรญิ พระรตั นตรยั 61 ท�ำนองสรภญั ญะ
ลำ� ดับการเขา้ ประกวดสวดมนตห์ มฯู่ ๑ นงั่ รอเพือ่ เข้าสวดประกวด ๒ การเดินเขา่ เข้าไปหน้าโต๊ะหมู่บชู า ด้วยความพร้อมเพรยี งกันแล้ว น่ังลงกราบพระรัตนตรยั 62 คมู่ ือ การสวดมนตห์ มสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรัย ทำ� นองสรภญั ญะ
บรรณานกุ รม การศาสนา,กรม. พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับสังคายนา วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๒ เล่มท่ี ๕, กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์การศาสนา, ๒๕๓๐. การศาสนา,กรม. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับสังคายนา วินัยปิฎก มหาวรรค ภาค ๒ เล่มท่ี ๕, กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พก์ ารศาสนา, ๒๕๓๐. ทัพอากาศ,กอง. สวดมนต์สิบสองต�ำนาน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชวนพิมพ์, ๒๕๑๔. บริหารการศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์แห่งประเทศไทย, ส�ำนักงาน. สมบตั ิชาวพทุ ธ. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์วิริยะการพิมพ,์ ๒๕๓๙ ประพัฒน์ ตรีณรงค์. ชีวประวัติและงานของสมเด็จกรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ. กรุงเทพมหานคร : สำ� นักพิมพ์อุดมศกึ ษา, ๒๕๐๕. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย เล่มท่ี ๕. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๒๗ ราชวรมุนี. พระ,(ประยุทธ ปยุตโต). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พม์ หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๒๗ วิชาการ, กรม. (กระทรวงธรรมการ) ค�ำนมัสการคุณานุคุณ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพอ์ ักษรนติ ิ, ๒๔๓๕.
ภาคผนวก
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑ เรือ่ ง ประวตั กิ ารสวดมนตห์ ม่สู รรเสรญิ พระรตั นตรยั ทำ� นองสรภัญญะ เวลา ๒ ช่วั โมง ๑. สาระสำ� คัญ การสวดมนตไ์ หวพ้ ระนน้ั มปี ระวตั คิ วามเปน็ มาตงั้ แตส่ มยั พทุ ธกาลแลว้ สว่ นการสวดมนตห์ มู่ สรรเสริญพระรัตนตรัย ท�ำนองสรภัญญะ ท่ีเป็นภาษาไทยสันนิษฐานว่าน่าจะมีในรัชกาลที่ ๕ และตอ่ มากระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดว้ างระเบยี บวา่ ดว้ ยการสวดมนตไ์ หวพ้ ระของนกั เรยี น พ.ศ. ๒๕๐๓ ๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ รู้ และเข้าใจประวัติการสวดมนต์และเกิดความซาบซึ้งในการมีส่วนร่วมในการสืบสาน วฒั นธรรมไทยและขนบธรรมเนียมประเพณีอันดงี าม ๓. เนอื้ หาสาระ ๓.๑ ประวัติการสวดมนต์ ๓.๒ สาเหตทุ ที่ ำ� ใหเ้ กิดประเพณีพระปริตร ๓.๓ ประเภทของการสวดมนต์ ๓.๔ วตั ถุประสงคข์ องการจดั กจิ กรรมสวดมนตห์ มูฯ่ ๓.๕ อานสิ งสข์ องการสวดมนต์ ๔. กจิ กรรมการเรียนการสอน ช่วั โมงท่ี ๑ ๔.๑ การน�ำเข้าสบู่ ทเรยี น ๑) สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ด้วยการสวดมนต์บูชาพระรัตนตรัย และนั่งสมาธิ ๒-๓ นาที ๒) ครูสนทนากบั นกั เรียนในประเด็นท่วี า่ การสวดมนตเ์ ปน็ ร่งุ อรณุ ของสมาธิ อาจารย์อุทมุ พร มุลพรม อ.๓ ระดบั ๙ โรงเรยี นบางมดวทิ ยาฯ เขตจอมทอง กรงุ เทพมหานคร 66 คู่มือ การสวดมนตห์ ม่สู รรเสริญพระรตั นตรยั ท�ำนองสรภัญญะ
๔.๒ ขน้ั สอน ๓) นักเรยี นศกึ ษาในใบความรทู้ ี่ ๑ เร่ืองประวัติของการสวดมนต์ ๔) นักเรียนท�ำกจิ กรรมในใบงานท่ี ๑ ๕) ครูและนกั เรียนชว่ ยกนั เฉลยในใบงานที่ ๑ ๔.๓ ขั้นสรปุ นกั เรยี นจดสาระส�ำคญั ลงในสมดุ เพอื่ จดจำ� เปน็ มโนทัศน์ ชั่วโมงท่ี ๒ ๔.๑ การนำ� เขา้ สู่บทเรยี น ๑) ครทู บทวนประวตั ิการสวดมนต์ ๒) ครสู นทนากบั นักเรียนเรือ่ ง การสวดมนตม์ อี านภุ าพค้มุ กนั อนั ตราย ๔.๒ ขนั้ สอน ๓) นักเรียนศึกษาใบความรู้ท่ี ๒ เรื่องแบบของการสวดมนต์ วัตถุประสงค์และ อานสิ งส์ของการสวดมนต์ ๔) นักเรยี นท�ำกจิ กรรมในใบงานที่ ๒ ๕) ครแู ละนกั เรียนชว่ ยกนั เฉลยในใบงานท่ี ๒ ๔.๓ ขั้นสรปุ นักเรียนสรปุ สาระสำ� คญั จดลงในสมุด ๕. สื่อการเรียนการสอน หนังสือคู่มือการสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัย ท�ำนองสรภัญญะ จัดพิมพ์เผยแพร่โดย กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ๖. การวัดและประเมินผล ๖.๑ สังเกตการร่วมกจิ กรรม ๖.๒ การท�ำกจิ กรรม ค่มู ือ การสวดมนต์หม่สู รรเสรญิ พระรตั นตรยั 67 ทำ� นองสรภญั ญะ
ใบความรทู้ ี่ ๑ ช่วั โมง ๑ เร่ือง ประวัติการสวดมนตห์ มสู่ รรเสริญพระรตั นตรยั ท�ำนองสรภัญญะ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ รู้ และเข้าใจประวัติการสวดมนต์และเกิดความซาบซึ้งในการมีส่วนร่วมในการสืบสาน วัฒนธรรมไทยและขนบธรรมเนียมประเพณีอนั ดีงาม ประวตั ิการสวดมนต์ การสวดมนต์ไหว้พระเป็นการสร้างมนต์ชีวิตไว้ประจ�ำตัว เป็นการด�ำรงชีวิตอยู่อย่าง ไมป่ ระมาทและสรา้ งพลงั จิต ฯลฯ ดูรายละเอียดจากหนงั สอื คมู่ อื สวดมนต์ 68 คมู่ อื การสวดมนตห์ มูส่ รรเสริญพระรัตนตรยั ท�ำนองสรภัญญะ
ใบงานที่ ๑ ชื่อ.....................................................................................ชน้ั ....................เลขที.่ ..................... .......................................................................... .......................................................................... ........................................................................... .................................................................................... ................................................................................... ................................................................................... ................................................................................... ................................................................................... ................................................................................... ................................................................................... ................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ....................................................................................... ค่มู ือ การสวดมนตห์ ม่สู รรเสรญิ พระรตั นตรัย 69 ทำ� นองสรภัญญะ
สาเหตุท่ที �ำให้เกิดประเพณพี ระปริตร ........................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................. การสวดมนตข์ องชาวพทุ ธม.ี .................... ลกั ษณะ คอื ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... 70 คูม่ อื การสวดมนต์หมสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรัย ทำ� นองสรภญั ญะ
ใบความร้ทู ี่ ๒ ชั่วโมง ๒ เร่อื ง ประวัตกิ ารสวดมนต์หมู่สรรเสรญิ พระรตั นตรัย ทำ� นองสรภญั ญะ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ รู้ และเข้าใจประวัติการสวดมนต์และเกิดความซาบซ้ึงในการมีส่วนร่วมในการสืบสาน วัฒนธรรมไทยและขนบธรรมเนียมประเพณอี ันดงี าม การสวดมนต์มอี ยู่ ๒ แบบ คือ ๑. การสวดเป็นบท ๆ เป็นค�ำ ๆ ไป เรียกว่าแบบปทภาณะ นี้อย่างหนึ่ง เช่น อย่างท่ี พระสงฆส์ วดกนั อยู่ท่วั ไปในวัดหรือในงานพิธีต่าง ๆ ฯลฯ ดูรายละเอยี ดจากหนงั สือคมู่ ือสวดมนตห์ มู่ฯ คมู่ ือ การสวดมนตห์ มสู่ รรเสริญพระรตั นตรยั 71 ทำ� นองสรภญั ญะ
ใบงานท่ี ๑ ชอื่ .....................................................................................ชนั้ ....................เลขท่.ี ..................... ค�ำส่ัง จงค้นหาค�ำตอบในตาราง ส ง ฆ์ ใด สา ว ก ศา ส ดา ก ร ช ง ธ ร ร ม คื อ คุ ณา ก ร ท ม ส ว ด ม น ต์ ไห ว้ พ ระ พุ น้ ร ร สื บ อา ยุ ศา ส นา ณะ ม ท อ ด หา เส ริ ม ปั ญ ญา ณ สั ส ธ ย ก วิ ก เ-ดิ ส มา ธิ กั ระ พ ร กา อา วั น นิ ว ร ณ์ ฏิ พ กา ก ภั ล จา ฒ วั ด ต ฐ กุ ใด ศุ ก ร์ ญ โก ร น ต ษ ศ ณะ ศ ป ท ภา ณะ ญะ น ยา ธ เช ต โส ง จ สุ ด สั ป ดา ห์ ง ร ระ ระ อ ว ด รั ช กา ล ท่ี ๕ กู ร พ ระ เว ส สั น ด ร ชา ด ก ร ม ปญั หา ๑. การสวดมนตเ์ ปน็ บท ๆ เปน็ คำ� ๆ ไป ๒. การสวดมนต์ใชเ้ สยี งตามทำ� นองของบทประพันธฉ์ นั ทลักษณต์ ่าง ๆ ๓. พระสงฆ์เทศน์เป็นท�ำนองแหล่ข้ึนในบทท�ำนองร่ายยาว ๔. พระสาวกเปน็ ผ้สู วดถวายพระพุทธเจา้ ในคราวมาเฝ้าพระพุทธเจา้ ๕. การสวดมนตห์ มสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั ทำ� นองสรภญั ญะ ทเี่ ปน็ ภาษาไทยเปน็ ครงั้ แรก ในประเทศไทย ๖. คำ� ประพนั ธ์สวดมนต์สรรเสริญพระพทุ ธเจา้ ทเ่ี ปน็ ภาษาไทย ๗. ทา่ นผ้แู ตง่ บทฉนั ทลกั ษณ์ต่าง ๆ ซึ่งใชส้ วดในปัจจบุ ัน ๘. การสวดมนต์ท�ำนองสรภัญญะดว้ ยภาษาบาลนี นั้ ได้มีมาตง้ั แต่ครัง้ ใด ๙. คำ� ประพนั ธส์ วดมนต์สรรเสรญิ พระสงฆ์ 72 คูม่ ือ การสวดมนตห์ ม่สู รรเสรญิ พระรตั นตรัย ท�ำนองสรภญั ญะ
๑๐. ค�ำประพันธส์ วดมนตส์ รรเสรญิ พระธรรม ๑๑. ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารวา่ ด้วย........ของนกั เรยี น พ.ศ. ๒๕๐๓ ๑๒. การสวดมนต์สรรเสริญพระรัตนตรยั ท�ำนองสรภัญญะใชส้ วดประจำ� ในวันใด ๑๓. ถา้ โรงเรยี นหยุดในวันพระ ก็ให้สวดมนตใ์ นวนั ใด ๑๔. ถา้ โรงเรยี นหยดุ สวดในวนั เสาร์-อาทติ ย์ กใ็ หส้ วดมนต์ในวันใด ๑๕. การสวดมนตห์ มสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั ทำ� นองสรภญั ญะทส่ี วดประจำ� ภายในโรงเรยี น ถือว่าเป็นกจิ กรรมสืบสานสง่ิ ใด ๑๖. วัดท่ที า่ นอนาถบิณฑกิ เศรษฐสี ร้างถวายพระพทุ ธเจ้า ๑๗. ส่งิ ท่เี ป็นอปุ สรรคต่อการท�ำความดี หากขจัดส่ิงนไี้ ด้ จิตจะเกิดความสดช่นื แจ่มใส เบิกบาน ๑๘. ขณะที่สวดมนต์จิตจะไม่ข่นุ มัว เพราะผู้สวดส�ำรวมใจแน่วแน่ ๑๙. การสวดมนตไ์ ด้รู้คำ� แปล รู้ความหมาย ยอ่ มท�ำใหผ้ ้สู วดได้ปญั ญาบารมี ๒๐. การสวดมนต์ ผู้สวดย่อมไดร้ ู้แนวทางปฏิบัตใิ นการดำ� เนินชวี ิตท่ีดี พบความสะอาด สว่าง สงบ ถอื ไดว้ า่ ได้ปฏบิ ตั บิ ูชาสบื ต่ออายุพระพุทธศาสนา คู่มอื การสวดมนตห์ มูส่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั 73 ท�ำนองสรภญั ญะ
เฉลยใบงานท่ี ๑ ค�ำสัง่ จงค้นหาคำ� ตอบในตาราง แนวนอน แนวตั้ง ๑. ปทภาณะ ๒. สรภญั ญะ ๒. พระเวสสันดรชาดก ๗. น้อย อาจารยางกูร ๓. รชั กาลท่ี ๕ ๘. พุทธกาล ๔. สงฆใ์ ดสาวกศาสดา ๑๓. โกน ๑๐. ธรรมคอื คุณากร ๑๕. มรดกวัฒนธรรม ๑๑. สวดมนต ์ ๑๖. พระเชตวันวิหาร ๑๒. สุดสัปดาห์ ๑๔. ศุกร์ แนวเฉียง ๑๗. นิวรณ์ ๔. พระโสณกฏุ กิ ัณณะ ๑๘. เกดิ สมาธ ิ ๖. องคใ์ ดพระสัมพทุ ธ ๑๙. เสรมิ ปัญญา ๒๐. สืบอายศุ าสนา 74 ค่มู อื การสวดมนตห์ มู่สรรเสรญิ พระรัตนตรัย ท�ำนองสรภญั ญะ
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๒ เร่ือง ลักษณะของบทประพันธ์และเนือ้ หาสาระ เวลา ๔ ชั่วโมง ๑. สาระส�ำคัญ ลักษณะของบทประพันธ์ที่ใช้เป็นบทสวดมนต์ไหว้พระของนักเรียน ซ่ึงใช้สวดประจ�ำใน โรงเรยี นนนั้ บทสวดสรรเสรญิ พระพทุ ธคณุ ภาษาไทย เปน็ บทอนิ ทรวเิ ชยี รฉนั ท์ มสี มั ผสั นอก สมั ผสั ใน บทสวดสรรเสริญพระธรรมคุณและสังฆคุณภาษาไทย เป็นกาพย์ฉบัง ๑๖ ส่วนบทชยสิทธิคาถา เปน็ วสนั ตดลิ กฉนั ท์ การมคี วามเขา้ ใจในบทประพนั ธท์ ถ่ี กู ตอ้ ง จะทำ� ใหก้ ารออกเสยี งถกู ตอ้ ง ไพเราะ และเกดิ ศรัทธาในคุณของพระรตั นตรัย ๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. บอกลกั ษณะของคำ� ประพนั ธท์ ใี่ ช้เปน็ บทสวดมนต์ของนกั เรียนได้ ๒. สวดมนต์สรรเสรญิ พระรตั นตรัยทำ� นองสรภญั ญะ ได้ถูกตอ้ ง ๓. นกั เรียนเกิดศรทั ธาอยา่ งยิง่ ในคุณของพระรตั นตรยั ๓. เน้ือหาสาระ ๓.๑ บทสวดสรรเสริญพระพุทธคณุ ท�ำนองสรภัญญะ ๓.๒ บทสวดสรรเสรญิ พระธรรมคุณ ทำ� นองสรภญั ญะ ๓.๓ บทสวดสรรเสริญพระสงั ฆคุณ ทำ� นองสรภัญญะ ๓.๔ บทสวดชยสทิ ธิคาถา ทำ� นองสรภญั ญะ ๔. กิจกรรมการเรียนการสอน การนำ� เข้าสู่บทเรยี น ๑. สรา้ งบรรยากาศการเรยี นรดู้ ้วยการสวดมนต์บชู าพระรัตนตรัย ๒. แจง้ ใหน้ ักเรียนทราบถงึ ประโยชนแ์ ละอานสิ งส์ของการสวดมนต์ อาจารยอ์ ุทมุ พร มลุ พรม อ.๓ ระดบั ๙ โรงเรียนบางมดวิทยาฯ เขตจอมทอง กรงุ เทพมหานคร คูม่ ือ การสวดมนต์หมูส่ รรเสริญพระรตั นตรัย 75 ท�ำนองสรภัญญะ
สวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัย ท�ำนองสรภัญญะ ใช้วิธีการสอนท่ีเน้นกระบวนการ (กระบวนการสรา้ งความตระหนัก กระบวนการปฏิบตั ิ ทักษะกระบวนการ) ตอนที่ ๑ (กระบวนการสร้างความตระหนกั ) (สังเกต) ๑. ครูเปิดเทปบนั ทกึ เสยี งตวั อย่างการสวดมนตท์ ่ีไพเราะและถกู ตอ้ งเป็น แบบอยา่ งไดใ้ ห้นกั เรียนฟงั ๒. ใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ ๗-๘ คน ทดลองสวดมนต์แล้วผลัดกันฟัง ในกลุม่ และเปรียบเทียบกบั การสวดของวิทยากรจากเทปบนั ทกึ เสยี ง (วเิ คราะห,์ วิจารณ)์ ๓. ให้นักเรียนวจิ ารณใ์ นประเดน็ ต่อไปน้ี ๓.๑ ความแตกตา่ งกันในดา้ นความไพเราะของนำ้� เสยี ง ๓.๒ ความแตกตา่ งกนั ในดา้ นความถูกตอ้ งของอักขระ จงั หวะ ทำ� นอง ๓.๓ ความแตกต่างกนั ในด้านความพร้อมเพรียงและมารยาท (สรุป) ๔. ครสู รปุ ถงึ ความจำ� เปน็ ของการฝกึ สวดมนตแ์ ลว้ ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ระดมพลงั สมอง เสนอหลกั เกณฑก์ ารสวดมนตต์ ามความคดิ ของนกั เรยี น เลขานกุ ารกลมุ่ จดบนั ทกึ แลว้ ส่งผแู้ ทนกลุม่ นำ� มาเสนอผลงาน ครูแจกใบงานที่ ๑ เรื่องลักษณะของบทประพันธ์ให้ทุกกลุ่มศึกษาน�ำกลับไป พจิ ารณากับข้อสังเกตตามความคิดของนักเรียน ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปหลักเกณฑ์การสวดมนต์โดยครูเพิ่มเติมข้อสรุป ของนักเรียนให้ครบถ้วน สมบูรณ์ สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ทั่วไปในการสวดมนต์ โดยพจิ ารณาในดา้ น การออกเสยี งชดั เจน ความถกู ตอ้ งตามอกั ขระวธิ ี จงั หวะ ทำ� นอง นำ�้ เสยี ง ความพรอ้ มเพรียง และมารยาท 76 คู่มอื การสวดมนตห์ ม่สู รรเสรญิ พระรัตนตรยั ทำ� นองสรภัญญะ
ตอนท่ี ๒ (กระบวนการปฏิบัต)ิ (สังเกต, รบั รู)้ ๑. ครเู ปดิ เทปบนั ทกึ เสยี งตวั อยา่ งการสวดมนตท์ ค่ี รคู ดั เลอื กใหน้ กั เรยี นฟงั บทละ ๑ เทยี่ ว (ท�ำตามแบบ) ๒. ให้นักเรียนสวดมนต์บทเดียวกันกับท่ีฟังจากเทปบันทึกเสียงแล้วใช้ดินสอท�ำ เครอ่ื งหมายเป็นจดุ (.) เพอื่ บอกจังหวะในการสวดมนต์ ๓. เปิดเทปบันทึกเสียงให้ฟังอีกคร้ังหนึ่งเพื่อให้นักเรียนก�ำหนดจังหวะในการสวดแล้ว แกไ้ ขใหถ้ กู ต้อง ฝึกสวดซำ้� หลาย ๆ ครง้ั (ท�ำเอง) ๔. ให้นักเรียนจับคู่กันฝึกสวดมนต์ที่ครูคัดเลือกเตรียมไว้ให้ โดยค�ำนึงถึงหลักเกณฑ์ การสวดมนตห์ มู่ คอื อักขระ จังหวะ ทำ� นอง น้ำ� เสยี ง ความพรอ้ มเพรยี งและมารยาท ฟังแล้วเกดิ ศรัทธาซาบซึ้งในคุณของพระรัตนตรยั ๕. ใหน้ ักเรยี นฝกึ สวดมนต์เพมิ่ เตมิ แล้วออกไปสวดหน้าชนั้ เรยี นทีละกลุม่ (ฝกึ ให้ช�ำนาญ) ๖. ให้นักเรียนฝึกสวดมนต์เพิ่มเติมจากเทปบันทึกเสียงหรือจากหนังสือคู่มือ การสวดมนตห์ มสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั ทำ� นองสรภญั ญะ จดั พมิ พโ์ ดยกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ๗. ครชู มเชยใหข้ อ้ มลู ปอ้ นกลบั ผลการฝกึ ซอ้ มสวดมนตห์ มขู่ องแตล่ ะกลมุ่ และใหข้ อ้ เสนอ แนะเพมิ่ เตมิ ตอนที่ ๓ (ทักษะกระบวนการ) (ตระหนกั ) ๑. ร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับปัญหาหรือข้อบกพร่องในการสวดผิดจังหวะ ผิดท�ำนอง ออกเสียงไม่ถูกต้อง ย่อมท�ำให้การสวดมนต์ขาดความไพเราะ ไม่น่าฟัง และไม่เป็นการสืบสานมรดกทางวฒั นธรรม ค่มู ือ การสวดมนตห์ ม่สู รรเสรญิ พระรัตนตรยั 77 ท�ำนองสรภญั ญะ
(คดิ วเิ คราะห)์ ๒. ใหน้ กั เรยี นคดิ วเิ คราะหข์ อ้ บกพรอ่ งในการสวดมนตว์ า่ มอี ะไรบา้ งแลว้ จดบนั ทกึ เพอื่ นำ� ไปปรบั ปรงุ แก้ไขต่อไป (สร้างทางเลือก) ๓. ใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั เสนอทางเลอื กในการแกป้ ญั หาหรอื ขอ้ บกพรอ่ งในการฝกึ สวดมนตห์ มฯู่ หรอื ครชู ว่ ยเสนอแนะทางเลือกให้นักเรียนเลอื กจากวิธีการดังต่อไปน้ี ก. ทางเลือกท่ี ๑ พฒั นาการสวดมนต์ด้วยวิธปี ระเมนิ ตนเอง (คนเดยี ว) ข. ทางเลือกที่ ๒ พัฒนาการสวดมนต์ด้วยวธิ ีคสู่ ญั ญา (คู่สญั ญา คือ เพ่ือนสนทิ สนม ไว้วางใจพรอ้ มทจี่ ะชว่ ยแก้ปญั หา) ค. ทางเลอื กที่ ๓ พฒั นาการสวดโดยกล่มุ สมั พันธ์ (ประเมินทางเลือก) ๔. อภปิ รายถงึ ความเหมาะสมของทางเลอื กแตล่ ะทางแลว้ เลอื กทางเลอื กทเี่ หมาะสมทสี่ ดุ (ก�ำหนดขั้นตอนการปฏิบตั ิ) ๕. เลือกและคัดลอกบทสวดท่ีชอบมาสวดและบันทึกเสียงส�ำหรับเปิดฟัง เพื่อประเมิน ตนเอง หรือสวดให้คู่สัญญา หรือกลุ่มฟังเพ่ือประเมินผลการสวดอย่างน้อย ๕ คร้ัง ภายในระยะเวลา ๑ สัปดาห์ แล้วบันทึกผลลงในตารางพฤติกรรมการสวดมนต์ (ปฏิบัติ,ประเมนิ ผล) ๖. ปฏบิ ตั ติ ามแผนทวี่ างไวแ้ ลว้ บนั ทกึ ความถข่ี องพฤตกิ รรมการสวดมนตท์ บ่ี กพรอ่ งลงใน ตารางบันทกึ ผล (ปรบั ปรุง,ประเมนิ ผล) ๗. นำ� ผลบนั ทึกพฤติกรรมมาพจิ ารณาเพอ่ื น�ำมาปรบั ปรุงแกไ้ ข ๘. ฝึกสวดมนตแ์ ละบันทึกผลการสวดมนตท์ กุ ครั้ง ๆ ไป ๙. นำ� ผลการบนั ทกึ ทกุ ครงั้ มาพจิ ารณาและอภปิ รายในกลมุ่ ถงึ ผลทไี่ ดร้ บั วา่ ถกู ตอ้ งเปน็ ที่ พงึ พอใจหรือไม่ ครูใหก้ ำ� ลงั ใจและใหข้ อ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม 78 คู่มอื การสวดมนต์หมู่สรรเสรญิ พระรัตนตรยั ท�ำนองสรภญั ญะ
ตอนท่ี ๔ ๑. นกั เรยี นสรปุ สาระส�ำคัญจดลงในสมดุ ๒. สอ่ื และอุปกรณ์ ๒.๑ เทปบนั ทกึ เสียงตวั อย่างการสวดมนต์หมฯู่ ทำ� นองสรภญั ญะ ๒.๒ หนังสือคู่มือการสวดมนต์หมู่ฯ ท�ำนองสรภัญญะ จัดพิมพ์เผยแพร่โดย กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ๓. การวัดและประเมินผล ๓.๑ สังเกตการร่วมกจิ กรรม ๓.๒ การทำ� กจิ กรรมในใบงาน ๓.๓ ผลการพัฒนาการสวดมนตห์ มขู่ องนกั เรยี น คมู่ ือ การสวดมนตห์ มู่สรรเสรญิ พระรตั นตรยั 79 ท�ำนองสรภญั ญะ
แนวทางการด�ำเนนิ งานและหลกั เกณฑ์ การประกวดสวดมนต์หมสู่ รรเสรญิ พระรัตนตรัย ทำ� นองสรภัญญะ ประเภททมี ๕ คน ................................... กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม กำ� หนดดำ� เนนิ การจดั โครงการประกวดสวดมนตห์ มู่ สรรเสรญิ พระรัตนตรัย ทำ� นองสรภญั ญะ ประเภททีม ๕ คน เพ่ือคัดเลอื กทีมเขา้ รับพระราชทาน โล่รางวัล ในงานสปั ดาหส์ ง่ เสรมิ พระพทุ ธศาสนา เนอื่ งในเทศกาลวสิ าขบชู า เพ่ือให้การจัดประกวดสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัย ท�ำนองสรภัญญะ ประเภท ทมี ๕ คน เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย และบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ จงึ กำ� หนดแนวทางการดำ� เนนิ งาน และ ให้แนวทางน้ีเป็นส่วนหน่ึงของประกาศกรมการศาสนา เร่ือง หลักเกณฑ์การประกวดสวดมนต์หมู่ สรรเสริญพระรตั นตรยั ทำ� นองสรภัญญะ ประเภททีม ๕ คน ดังนี้ ๑. แนวทางการดำ� เนินงาน ระดับจงั หวดั ๑.๑ ส่วนภูมิภาค ๑.๑.๑ กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม แจ้งแนวทางการดำ� เนินงาน และ หลกั เกณฑ์ การประกวด ไปยังสำ� นกั งานวัฒนธรรมจงั หวัด ท้ัง ๗๖ จังหวัด ๑.๑.๒ ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด ด�ำเนินการประชาสัมพันธ์เชิญชวน สถานศึกษาในจังหวัดให้เข้าร่วมประกวดสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัย ท�ำนองสรภัญญะ ประเภททมี ๕ คน และส่งหลกั เกณฑก์ ารประกวดให้สถานศกึ ษาทราบ พรอ้ มดำ� เนนิ การรับสมัคร ๑.๑.๓ ส�ำนักงานวฒั นธรรมจงั หวัดรวบรวมใบสมัคร (แบบ สภ.๑) ของสถาน ศกึ ษาทั้งหมดและแบบสรปุ (แบบ สภ.๒) ท่ีกรอกขอ้ มูลสมบูรณเ์ รยี บรอ้ ยแลว้ สง่ กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม เพอื่ กรมการศาสนาจะได้ด�ำเนนิ การจดั สรรงบประมาณต่อไป ๑.๑.๔ ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด แต่งต้ังคณะกรรมการเพ่ือด�ำเนินการจัด ประกวดและตดั สนิ การประกวดตามความเหมาะสม โดยตอ้ งมผี ทู้ ำ� คณุ ประโยชนต์ อ่ พระพทุ ธศาสนา ทไ่ี ด้รบั รางวัลเสาเสมาธรรมจักรท่เี ปน็ พระสงฆ์และคฤหัสถ์ รว่ มเปน็ คณะกรรมการด�ำเนินงานและ สนบั สนุนการจดั ประกวด โดยให้ด�ำเนินการจดั ประกวดใหแ้ ล้วเสร็จภายในชว่ งงานสัปดาหส์ ่งเสรมิ พระพทุ ธศาสนา เนื่องในเทศกาลมาฆบชู า ๑.๑.๕ การคดั เลอื กตวั แทนระดบั จงั หวดั เพอ่ื เขา้ ประกวดระดบั ภาคคณะสงฆ์ ดังน้ี 80 คู่มอื การสวดมนต์หมู่สรรเสรญิ พระรัตนตรยั ท�ำนองสรภญั ญะ
- ระดบั ประถมศกึ ษา ประเภททมี หญงิ ล้วน จ�ำนวน ๕ ทีม - ระดับมัธยมศึกษา/ระดับอาชีวศึกษา (ปวช.) ประเภททีมหญิงล้วน จำ� นวน ๕ ทีม - ระดับประถมศึกษา ประเภททีมชายล้วน จำ� นวน ๓ ทีม - ระดับมัธยมศึกษา/ระดับอาชีวศึกษา (ปวช.) ประเภททีมชายล้วน จำ� นวน ๓ ทมี ๑.๑.๖ มอบเกียรติบัตรให้แก่สถานศึกษาท่ีได้รับรางวัลตามที่คณะกรรมการ กำ� หนด และมอบเกียรติบตั รให้แกส่ ถานศึกษาทเี่ ขา้ ร่วมการประกวด ๑.๑.๗ เม่ือด�ำเนินการจัดการประกวดสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัย ท�ำนองสรภัญญะ ระดบั จงั หวดั เรยี บรอ้ ยแล้ว ส�ำนักงานวฒั นธรรมจงั หวัด แจ้งรายชอื่ สถานศึกษา ที่ได้เป็นตัวแทนระดับจังหวัด ไปยังกรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ภายในช่วงเวลาสัปดาห์ ส่งเสริมพระพุทธศาสนา เน่อื งในวนั มาฆบูชา เพ่ือด�ำเนินการจดั ประกวดระดบั ภาคคณะสงฆ์ต่อไป ๑.๑.๘ ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด สรุปผลการด�ำเนินงานและรายงานผล การดำ� เนนิ งานตามแบบรายงานฯ พรอ้ มรปู ภาพการจดั กจิ กรรมบนั ทกึ ขอ้ มลู ลงในซดี ี สง่ กรมการศาสนา ภายในเดือนเมษายน เพ่ือกรมการศาสนาจะได้สรุปผลการด�ำเนินงานและเสนอขอตั้งงบประมาณ ในปีต่อไป ๑.๒ ระดับเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา เขต ๑ และ เขต ๒ (กรงุ เทพมหานคร) ๑.๒.๑ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ด�ำเนินการประชาสมั พนั ธ์ พร้อม ทั้งแจกหลกั เกณฑ์การประกวด ไปยังสถานศึกษาทวั่ กรงุ เทพมหานคร และดำ� เนินการรบั สมคั ร ๑.๒.๒ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม แต่งตั้งคณะกรรมการเพ่ือด�ำเนินการ จดั ประกวดและด�ำเนนิ การตดั สนิ การประกวดระดับเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษา เขต ๑ และระดับเขตพนื้ ท่ี การศกึ ษา เขต ๒ จดั ประกวดช่วงเดอื นธนั วาคม ณ สถานท่ีท่ีกรมการศาสนาก�ำหนด ๑.๒.๓ การคัดเลือกสถานศึกษาระดับเขตพื้นท่ีการศึกษาเขต ๑ และเขต ๒ เพอื่ เขา้ รอบระดบั ส่วนกลาง (กรงุ เทพมหานคร) ใช้อัตราสว่ น ๑ ใน ๓ ของทมี ทเี่ ขา้ รว่ มประกวด จรงิ ท้ังหมด ๑.๒.๔ มอบโลร่ างวลั หรอื เกยี รตบิ ตั รใหแ้ กส่ ถานศกึ ษาทไี่ ดร้ บั รางวลั ตามเกณฑ์ ทค่ี ณะกรรมการก�ำหนด และมอบเกียรติบัตรใหแ้ ก่สถานศกึ ษาท่ีเข้ารว่ มการประกวด คูม่ ือ การสวดมนต์หมู่สรรเสรญิ พระรตั นตรัย 81 ท�ำนองสรภัญญะ
๒. แนวทางการดำ� เนินงาน ระดบั ภาคคณะสงฆ์ ๒.๑ สว่ นภูมิภาค ๒.๑.๑ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม แจ้งแนวทางการด�ำเนินงาน และหลกั เกณฑก์ ารประกวดระดับภาคคณะสงฆ์ ไปยงั สำ� นกั งานวัฒนธรรมจงั หวดั ทง้ั ๗๖ จงั หวดั ๒.๑.๒ ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดแจ้งหลักเกณฑ์การประกวดระดับภาค คณะสงฆใ์ ห้สถานศกึ ษา ทีเ่ ขา้ รอบทราบเพอื่ ท�ำการบันทกึ วดี ีโอ ๒.๑.๓ สถานศึกษาส่งไฟล์วีดีโอที่บันทึกแล้ว (ใส่ Flash Drive เท่าน้ัน) พร้อมใบตอบรบั (แบบ สภ.๓) ไปที่ส�ำนกั งานวัฒนธรรมจังหวัด ๒.๑.๔ ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดส่งไฟล์วีดีโอของสถานศึกษาที่รวบรวม และตรวจสอบแล้วพรอ้ มใบตอบรบั (แบบ สภ.๓) ๒.๑.๕ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม แต่งตั้งคณะกรรมการตัดสิน เพอ่ื ดำ� เนนิ การตดั สนิ ตามไฟลว์ ดี โี อทสี่ ถานศกึ ษาสง่ มา โดยการตดั สนิ ระดบั ภาคคณะสงฆส์ ว่ นภมู ภิ าค จะตอ้ งด�ำเนนิ การใหแ้ ล้วเสร็จภายในเดือนเมษายน ๒.๑.๖ การคดั เลอื กตวั แทนระดบั ภาคคณะสงฆ์ เพอ่ื เขา้ ประกวดระดบั ประเทศ ดงั นี้ - ระดับประถมศกึ ษา ประเภททมี หญิงลว้ น จำ� นวน ๓ ทมี - ระดับมัธยมศึกษา/ระดับอาชีวศึกษา (ปวช.) ประเภททีมหญิงล้วน จ�ำนวน ๓ ทีม - ระดับประถมศกึ ษา ประเภททีมชายล้วน จ�ำนวน ๓ ทมี - ระดับมัธยมศึกษา/ระดับอาชีวศึกษา (ปวช.) ประเภททีมชายล้วน จ�ำนวน ๓ ทีม ๒.๒ ระดบั สว่ นกลาง (กรุงเทพมหานคร) ๒.๒.๑ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม แจ้งหลักเกณฑ์การประกวด วัน-เวลา และสถานทจี่ ัดประกวดไปยังสถานศกึ ษาที่เขา้ รอบระดับคณะสงฆ์ ๒.๒.๒ กรมศาสนา กระทรวงวฒั นธรรมแต่งตัง้ คณะกรรมการเพื่อด�ำเนนิ การ จดั การประกวดและตดั สินการประกวดระดบั ภาคคณะสงฆ์ ตามความเหมาะสม โดยใหด้ �ำเนนิ การ จัดประกวดใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในเดอื นกมุ ภาพันธ์ ๒.๒.๓ การคดั เลอื กตวั แทนระดบั ภาคคณะสงฆ์ เพอื่ เขา้ ประกวดระดบั ประเทศ ดงั น้ี 82 คู่มือ การสวดมนตห์ มสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั ทำ� นองสรภญั ญะ
- ระดับประถมศึกษา ประเภททมี หญงิ ลว้ น จ�ำนวน ๓ ทมี - ระดับมัธยมศึกษา/ระดับอาชีวศึกษา (ปวช.) ประเภททีมหญิงล้วน จ�ำนวน ๓ ทมี - ระดบั ประถมศึกษา ประเภททมี ชายล้วน จำ� นวน ๓ ทมี - ระดับมัธยมศึกษา/ระดับอาชีวศึกษา (ปวช.) ประเภททีมชายล้วน จ�ำนวน ๓ ทมี ตารางแสดงจำ� นวนทมี ท่ไี ดเ้ ปน็ ตวั แทนระดับภาคคณะสงฆ์เขา้ ไปประกวดระดับประเทศ ภาคคณะสงฆ์ ทีมหญิงลว้ น ทีมชายลว้ น ๑ ประถมศกึ ษา (ทมี ) มธั ยมศึกษา (ทมี ) ประถมศึกษา (ทีม) มธั ยมศึกษา (ทีม) ๒ ๓๓ ๓๓ ๓ ๓๓ ๓๓ ๔ ๓๓ ๓๓ ๕ ๓๓ ๓๓ ๖ ๓๓ ๓๓ ๗ ๓๓ ๓๓ ๘ ๓๓ ๓๓ ๙ ๓๓ ๓๓ ๑๐ ๓๓ ๓๓ ๑๑ ๓๓ ๓๓ ๑๒ ๓๓ ๓๓ ๑๓ ๓๓ ๓๓ ๑๔ ๓๓ ๓๓ ๑๕ ๓๓ ๓๓ ๑๖ ๓๓ ๓๓ ๑๗ ๓๓ ๓๓ ๑๘ ๓๓ ๓๓ สว่ นกลาง ๓๓ ๓๓ รวม ๓๓ ๓๓ ๕๗ ๕๗ ๕๗ ๕๗ คู่มือ การสวดมนตห์ มู่สรรเสริญพระรัตนตรยั 83 ทำ� นองสรภญั ญะ
๓. แนวทางการด�ำเนินงาน ระดับประเทศ ๓.๑ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม แจ้งหลกั เกณฑ์การประกวด วนั - เวลา และสถานท่จี ัดประกวด ระดบั ประเทศ ไปยังสถานศึกษาท่เี ขา้ รอบระดับประเทศ ๓.๒ กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม แต่งตงั้ คณะกรรมการตัดสนิ แลว้ ดำ� เนนิ การตัดสินใหแ้ ลว้ เสร็จ กอ่ นเทศกาลวิสาขบูชา ๔. หลกั เกณฑก์ ารประกวด ๔.๑ ระดับจังหวัด (ทั้งสว่ นภมู ิภาค สว่ นกลาง) ๔.๑.๑ สถานศึกษาท่ีประสงค์จะส่งนักเรียนเข้าประกวดจะต้องมีการจัดให้ นกั เรียนไดส้ วดมนต์ โดยพรอ้ มเพรยี งกนั ท้ังสถานศึกษาอย่างนอ้ ยสัปดาหล์ ะ ๑ ครัง้ ๔.๑.๒ การประกวด แบ่งเปน็ ๔ ประเภท คือ - ระดบั ประถมศึกษา ประเภททมี หญงิ ล้วน - ระดับมัธยมศกึ ษา/ระดับอาชีวศึกษา (ปวช.) ประเภททีมหญงิ ล้วน - ระดับประถมศกึ ษา ประเภททมี ชายลว้ น - ระดับมธั ยมศกึ ษา/ระดับอาชวี ศกึ ษา (ปวช.) ประเภททีมชายลว้ น ๔.๑.๓ บททใี่ ชใ้ นการสวด ประกอบดว้ ย - บทนมสั การพระรตั นตรยั (อะระหงั ฯ) - บทสวดนมัสการ (นะโมฯ) - บทสวดพระพุทธคณุ ภาษาบาลี (อิติปิ โสฯ) - บทสวดพระพุทธคณุ ภาษาไทย (องค์ใดพระสมั พทุ ธ) - บทสวดพระธรรมคณุ ภาษาบาลี (สวากขาโตฯ) - บทสวดพระธรรมคุณ ภาษาไทย (ธมั มะคือคณุ ากรฯ) - บทสวดพระสงั ฆคณุ ภาษาบาลี (สุปะฏปิ ันโนฯ) - บทสวดพระสงั ฆคุณ ภาษาไทย (สงฆ์ใดสาวกศาสดา) - บทสวดชยสทิ ธคิ าถา ภาษาบาลี (พาหุง) - บทสวดชยสทิ ธิคาถา ภาษาไทย (ปางเม่ือพระองค์ปะระมะพุทธฯ) 84 คู่มอื การสวดมนต์หมูส่ รรเสรญิ พระรัตนตรยั ทำ� นองสรภญั ญะ
กรณีมีโรงเรียนส่งทีมนักเรียนเข้าประกวดจ�ำนวนมาก คณะกรรมการอาจจะ พิจารณาจัดการประกวดออกเป็น ๒ รอบ คอื รอบคัดเลอื ก และรอบชิงชนะเลิศ ท้งั น้ี การก�ำหนด บทสวดใหข้ ้ึนอยู่ดบั ดุลยพนิ จิ ของคณะกรรมการ ๔.๑.๔ เกณฑ์การใหค้ ะแนน - ความถกู ต้องของอกั ขระ ๒๐ คะแนน - ความถกู ตอ้ งของจังหวะ ๒๐ คะแนน - ความถกู ตอ้ งของท�ำนอง ๒๐ คะแนน - ความไพเราะของน�ำ้ เสียง ๒๐ คะแนน - มารยาทและท่าทาง ๑๐ คะแนน - ความพรอ้ มเพรียงโดยรวม ๑๐ คะแนน รวม ๑๐๐ คะแนน คมู่ ือ การสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรตั นตรัย 85 ท�ำนองสรภัญญะ
แนวทางการดำ� เนนิ งานและหลักเกณฑ์การประกวด สวดมนต์หมูส่ รรเสรญิ พระรัตนตรยั ท�ำนองสรภัญญะ ประเภททีมโรงเรียน ..................................... กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ได้ด�ำเนินการจัดโครงการประกวดสวดมนต์หมู่ฯ ท�ำนองสรภัญญะ ประเภททีมโรงเรียน เพ่ือคัดเลือกทีมท่ีชนะการประกวดในระดับประเทศ เขา้ รบั พระราชทานโลร่ างวลั ในงานสัปดาห์สง่ เสริมพระพทุ ธศาสนา เนอ่ื งในเทศกาลวสิ าขบูชา เพ่อื ใหก้ ารจัดประกวดสวดมนตห์ มฯู่ ทำ� นองสรภญั ญะ ประเภททมี โรงเรยี น เปน็ ไปดว้ ย ความเรียบร้อยและบรรลุวัตถุประสงค์ จึงก�ำหนดแนวทางการประกวดสวดมนต์หมู่สรรเสริญ พระรัตนตรัย ท�ำนองสรภัญญะ ประเภททีมโรงเรียน และให้แนวทางนี้เป็นส่วนหน่ึงของประกาศ กรมการศาสนา เรอื่ ง หลกั เกณฑก์ ารประกวดสวดมนตห์ มสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั ทำ� นองสรภญั ญะ ประเภททีมโรงเรียน ดังน้ี หลกั เกณฑ์และเงื่อนไขการประกวด ๑. การประกวดแบ่งเปน็ ๒ ระดับ คอื ๑.๑ ระดับประถมศกึ ษา ๑.๒ ระดับมัธยมศึกษา/อาชวี ศกึ ษา (ปวช.) ๒. สถานศึกษาที่ประสงค์จะส่งนักเรียนเข้าประกวดสวดมนต์หมู่ฯ ท�ำนองสรภัญญะ ประเภททมี โรงเรยี นจะตอ้ งมกี ารจดั ใหน้ กั เรยี นไดส้ วดมนตโ์ ดยพรอ้ มเพรยี งกนั ทงั้ โรงเรยี น อยา่ งนอ้ ย สัปดาห์ละ ๑ คร้งั ๓. ในการสมัครประกวด สถานศึกษาจะต้องส่งรูปถ่ายการสวดมนต์หมู่ฯ ทั้งโรงเรียน โดยในการสวดมนตน์ ั้น ต้องมผี บู้ รหิ าร คณะครู และบคุ ลากรของสถานศกึ ษาน้นั ๆ เขา้ มสี ่วนร่วม ในกจิ กรรมการสวดมนตน์ น้ั ดว้ ย โดยส่งมาพรอ้ มใบสมัคร (แบบ สภ.๓) จ�ำนวน ๑๐ รูป ท้ังน้ี รูปถ่ายการสวดมนต์ท้ังโรงเรียน จ�ำนวน ๑๐ รูป ต้องเป็นการสวดมนต์ โดยมีจ�ำนวนนักเรียนท้ังหมดท่ีมีในโรงเรียนน้ันจริง ๆ และห้ามมิให้ท�ำการตัดต่อ ดัดแปลง หรือ น�ำภาพทมี่ ิใช่ การสวดมนตห์ มู่ฯ ของนกั เรียนในปีการศกึ ษาปจั จุบันส่งมา ๔. สถานศกึ ษาทป่ี ระสงคส์ ง่ นกั เรยี นเขา้ ประกวด ตอ้ งบนั ทกึ วดี โิ อการสวดมนตห์ มฯู่ โดยมี นกั เรยี นเขา้ รว่ มสวดมนตไ์ มน่ อ้ ยกวา่ ๑๐๐ คน (เวน้ ไวแ้ ตส่ ถานศกึ ษาทมี่ จี ำ� นวนนกั เรยี นไมถ่ งึ ๑๐๐ คน 86 คูม่ ือ การสวดมนตห์ มูส่ รรเสรญิ พระรัตนตรัย ท�ำนองสรภญั ญะ
อนุโลมให้ตามจ�ำนวนนกั เรียนทม่ี ีอย่ทู ้ังหมด ท้ังน้ี ต้องมจี �ำนวนนกั เรยี นไม่นอ้ ยกวา่ ๖๐ คน) และ ในการสวดมนต์หม่ฯู น้ัน ตอ้ งมผี ู้บรหิ าร คณะครูและบคุ ลากรของสถานศกึ ษานนั้ ๆ เข้ามีสว่ นร่วม ในกจิ กรรมการสวดมนตห์ มูฯ่ นั้นด้วย ๕. นกั เรยี นผเู้ ขา้ ประกวดจะตอ้ งแตง่ กายให้เรียบร้อยตามระเบียบของสถานศกึ ษาน้นั ๆ ๖. นักเรียนผ้เู ข้าประกวดจะตอ้ งเป็นผูท้ กี่ ำ� ลงั ศกึ ษาในระดับทกี่ ำ� หนดของสถานศกึ ษาน้ัน ๆ ๗. สถานศึกษาต่าง ๆ (ไม่รวมถึงศูนย์ศึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์) ส่งนักเรียน เขา้ ประกวดไดร้ ะดบั ละไมเ่ กนิ ๑ ทมี เวน้ ไวแ้ ตโ่ รงเรยี นขยายโอกาส หรอื โรงเรยี นทม่ี กี ารเรยี นการสอน ทง้ั ระดบั ประถมศกึ ษา และระดบั มธั ยมศกึ ษา ใหแ้ ยกระดบั สง่ ประกวดไดเ้ ปน็ ระดบั ประถมศกึ ษา ๑ ทมี และระดบั มธั ยมศึกษา ๑ ทมี แต่จำ� นวนนักเรยี นต้องไมน่ อ้ ยกวา่ เกณฑท์ ่กี �ำหนด วิธีดำ� เนนิ การในการจดั การประกวด ระยะเวลาและสถานทจี่ ดั การคดั เลอื กและประกวด การคัดเลือกและประกวดแบง่ ออกเปน็ ๒ รอบ ดังน้ี ๑. รอบคัดเลอื ก สว่ นกลาง ๑.๑ ระดบั จังหวัด (กรุงเทพมหานคร) ๑. กรมการศาสนา ประชาสัมพนั ธแ์ ละประสานส�ำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษา เชญิ ชวนสถานศกึ ษาในเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาเขา้ รว่ มประกวดสวดมนตห์ มฯู่ ทำ� นองสรภญั ญะ ประเภท ทีมโรงเรียน พร้อมทั้งสง่ ใบสมคั รเข้าร่วมประกวดฯ (แบบ สภ.๓) ตามรปู แบบของกรมการศาสนา ๒. กรมการศาสนา แจ้งให้สถานศึกษาที่สมัครประกวด บันทึกวีดิโอการ สวดมนต์หมู่ฯ ท�ำนองสรภญั ญะ ทงั้ โรงเรียน โดยต้องมีจำ� นวนนักเรียนที่สวดไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๐๐ คน (เวน้ ไวแ้ ตส่ ถานศกึ ษา ทม่ี จี ำ� นวนนกั เรยี นไมถ่ งึ ๑๐๐ คน อนโุ ลมใหต้ ามจำ� นวนนกั เรยี นทมี่ อี ยทู่ ง้ั หมด ทั้งนี้ ต้องมจี ำ� นวนนกั เรียน ไมน่ อ้ ยกว่า ๖๐ คน) และจะตอ้ งมีผบู้ ริหาร คณะครู และบุคลากรของ โรงเรยี น เข้ามสี ว่ นร่วมในการสวดมนต์ น้ันด้วย ๓. บทที่ใช้ในการสวด ประกอบด้วย - บทนมัสการพระรตั นตรยั (ทำ� นองสวดน�ำ) - บทสวดนมสั การ (ท�ำนองสงั โยค) - บทสวดพระพทุ ธคุณ ภาษาบาลี (ท�ำนองสังโยค) - บทสวดพระพุทธคณุ ภาษาไทย (ท�ำนองสรภัญญะ) คูม่ ือ การสวดมนต์หมู่สรรเสรญิ พระรัตนตรยั 87 ทำ� นองสรภัญญะ
- บทสวดพระธรรมคณุ ภาษาบาลี (ท�ำนองสงั โยค) - บทสวดพระธรรมคณุ ภาษาไทย (ทำ� นองสรภญั ญะ) - บทสวดพระสังฆคุณ ภาษาบาลี (ท�ำนองสงั โยค) - บทสวดพระสังฆคุณ ภาษาไทย (ทำ� นองสรภญั ญะ) - บทสวดชยสิทธคิ าถา ภาษาบาลี (ทำ� นองสงั โยค) - บทสวดชยสทิ ธคิ าถา ภาษาไทย (ทำ� นองสรภัญญะ) โดยในการสวดใหน้ กั เรยี นทเ่ี ปน็ ตน้ แบบในสถานศกึ ษานนั้ ๆ จำ� นวน ๕ คน นงั่ แถวหนา้ เพือ่ เปน็ ต้นเสยี ง เริ่มตงั้ แตก่ ราบพระรตั นตรยั ๓ ครงั้ แล้วเรมิ่ สวดครบทุกบทตามลำ� ดับ ๔. สถานศกึ ษาส่งไฟลว์ ดี โี อทบี่ ันทึกแลว้ (ใสแ่ ผ่น CD/DVD หรือ Flash Drive เขยี นช่ือ โรงเรยี นให้ชดั เจนตดิ บนแผน่ CD/DVD หรอื Flash Drive เท่านนั้ ห้ามมิให้พิมพช์ ื่อโรงเรยี น หรือข้อความใด ๆ ใส่ลงในวีดิโอท้ังส้ิน) พร้อมใบสมัครเข้าร่วมประกวดฯ (แบบ สภ.๓) ไปที่ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ภายในเดือนพฤศจกิ ายน ทง้ั นี้ การบนั ทกึ วดี โิ อนนั้ ตอ้ งถา่ ยใหค้ รบทงั้ การกราบพระและการสวดมนต์ หม่ฯู โดยให้ ปรากฎจำ� นวนผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมทั้งหมด และห้ามมิให้ท�ำการตดั ตอ่ หรอื ดดั แปลงภาพ หรือเสียงใด ๆ ทง้ั ส้ิน หากตรวจสอบพบวา่ มีการตัดต่อหรอื ดัดแปลงวีดโิ อ สถาบันการศึกษานน้ั ๆ จะถูกตดั สิทธ์ิในการประกวดทันที ๕. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ และรับรอง ไฟล์วีดิโอของโรงเรียนทีส่ มคั รเข้าประกวด ๖. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม แต่งตั้งคณะกรรมการตัดสิน การสวดมนต์หมู่ฯ เพ่ือด�ำเนินการตดั สินการสวดมนตห์ มฯู่ ตามไฟลว์ ีดิโอที่สถานศกึ ษาส่งมา ท้งั นี้ ประกาศผลทีมที่เข้ารอบในระดับ ภาคคณะสงฆ์ (เฉพาะกรุงเทพมหานคร) ระดับประถมศึกษา ๖ แห่ง ระดบั มัธยมศึกษา/อาชีวศึกษา (ปวช.) ๖ แห่ง ภายในเดอื นธนั วาคม ๑.๒ ระดบั ภาคคณะสงฆ์ (กรงุ เทพมหานคร) ๑. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม แจ้งให้สถานศึกษาท่ีเข้ารอบระดับ ภาคคณะสงฆ์ (เฉพาะกรุงเทพมหานคร) บันทึกวีดโิ อการสวดมนต์หม่ฯู ท�ำนองสรภญั ญะ ทง้ั โรงเรียน อกี ครง้ั โดยตอ้ งมจี ำ� นวนนกั เรยี นทส่ี วดไมน่ อ้ ยกวา่ ๘๐ คน (เวน้ ไวแ้ ตส่ ถานศกึ ษาทม่ี จี ำ� นวนนกั เรยี น ไมถ่ งึ ๘๐ คน อนโุ ลมให้ตามจ�ำนวนนกั เรยี นท่ีมอี ยูท่ ้งั หมด ท้ังนี้ ต้องมีจำ� นวนนักเรยี นไม่นอ้ ยกว่า ๖๐ คน) และจะต้องมีผู้บริหาร คณะครู และบุคลากรของโรงเรียน เข้ามีส่วนร่วมในกิจกรรม 88 คู่มอื การสวดมนตห์ มูส่ รรเสรญิ พระรตั นตรัย ท�ำนองสรภัญญะ
การสวดมนต์น้นั ดว้ ย แล้วส่งวีดโิ อมาที่ กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ภายในเดือนมกราคม ๒. กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม แตง่ ตงั้ คณะกรรมการตดั สนิ การสวดมนต์ หมูฯ่ โดยมีผทู้ ำ� คณุ ประโยชน์ต่อพระพทุ ธศาสนาทไี่ ดร้ ับรางวัลเสาเสมาธรรมจกั ร ท้งั พระสงฆ์และ คฤหสั ถท์ ม่ี ี ความรู้เฉพาะเรือ่ งการสวดมนตห์ มูฯ่ รว่ มเปน็ คณะกรรมการ ทัง้ นี้ ประกาศผลทีมทีเ่ ข้า รอบในระดบั ประเทศ ระดับสถานศกึ ษาละ ๒ แหง่ รวมทง้ั หมด ๔ แหง่ ภายในเดอื นมกราคม ๓. กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม แตง่ ตง้ั คณะกรรมการตดั สนิ การสวดมนต์ หมู่ฯ เพื่อประเมินผลตามสภาพจริง และตัดสินให้คะแนนการสวดมนต์หมู่ฯ ประเภททีมโรงเรียน ณ สถานศึกษาที่เข้ารอบระดับประเทศทั้ง ๔ แห่ง โดยต้องได้คะแนนเฉลี่ยไม่ต�่ำกว่าร้อยละ ๘๐ หากตำ่� กวา่ รอ้ ยละ ๘๐ จะถกู ตดั สทิ ธ์ิ ในระดบั ประเทศทนั ที และกรมการศาสนาจะเรยี กสถานศกึ ษา ท่ีมคี ะแนนในลำ� ดับถดั ไปในภาคนน้ั ๆ เข้ารอบแทน โดยมกี ารประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ และตดั สิน ให้คะแนนเช่นกัน อนงึ่ คะแนนประเมนิ ผลและตดั สนิ ของคณะกรรมการทปี่ ระเมนิ ผลตามสภาพจรงิ คะแนนเฉล่ียจะถูกน�ำมารวมกับคะแนนตัดสินในรอบชิงชนะเลิศระดับประเทศ ร่วมกับคณะ กรรมการตัดสินในระดบั ประเทศ การประเมนิ ผลตามสภาพจริง เรม่ิ ด�ำเนินการตั้งแต่เดอื นมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ ทง้ั นี้ คณะกรรมการจะแจง้ ใหส้ ถานศกึ ษาทเี่ ขา้ รอบทราบลว่ งหนา้ กอ่ นลงพน้ื ที่ อยา่ งนอ้ ย ๕ วนั และ จะทำ� ประกาศผลการประเมนิ ผลตามสภาพจริงและการตัดสนิ สถานศึกษาท่เี ขา้ รอบระดับประเทศ ภายในเดอื นมนี าคม ๒. รอบคัดเลือก ส่วนภูมิภาค ๒.๑ ระดบั จงั หวดั ๑. สำ� นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั ประชาสมั พนั ธแ์ ละประสานสำ� นกั งานเขตพนื้ ที่ การศกึ ษา องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ทมี่ สี ถานศกึ ษาในสงั กดั และสำ� นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน เชิญชวนสถานศึกษาในจังหวัดเข้าร่วมประกวดสวดมนต์หมู่ฯ ท�ำนองสรภัญญะ ประเภท ทีมโรงเรียน พร้อมท้ังส่งใบสมคั รเขา้ รว่ มประกวดฯ (แบบ สภ.๓) และแบบสรุป (สภ.๔) ๒. สำ� นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั แจง้ ใหส้ ถานศกึ ษาทส่ี มคั รประกวด บนั ทกึ วดี โิ อ การสวดมนตห์ มฯู่ ทำ� นองสรภญั ญะ ทง้ั โรงเรยี น โดยตอ้ งมจี ำ� นวนนกั เรยี นทสี่ วดไมน่ อ้ ยกวา่ ๑๐๐ คน คู่มือ การสวดมนต์หม่สู รรเสรญิ พระรัตนตรยั 89 ท�ำนองสรภัญญะ
(เว้นไว้แต่สถานศึกษาที่มีจ�ำนวนนักเรียนไม่ถึง ๑๐๐ คน อนุโลมให้ตามจ�ำนวนนักเรียนท่ีมีอยู่ ทง้ั หมด ทัง้ นี้ ตอ้ งมจี ำ� นวนนกั เรยี นไมน่ ้อยกว่า ๖๐ คน ) และตอ้ งมีผบู้ ริหาร คณะครู และบคุ ลากร ของโรงเรยี น เขา้ มีส่วนรว่ มในการ สวดมนตห์ มู่ฯ น้นั ดว้ ย ๓. บททใ่ี ช้ในการสวด ประกอบดว้ ย - บทนมสั การพระรตั นตรยั (ทำ� นองสวดน�ำ) - บทสวดนมสั การ (ทำ� นองสงั โยค) - บทสวดพระพทุ ธคณุ ภาษาบาลี (ท�ำนองสังโยค) - บทสวดพระพุทธคณุ ภาษาไทย (ท�ำนองสรภัญญะ) - บทสวดพระธรรมคณุ ภาษาบาลี (ทำ� นองสังโยค) - บทสวดพระธรรมคุณ ภาษาไทย (ทำ� นองสรภญั ญะ) - บทสวดพระสังฆคุณ ภาษาบาลี (ทำ� นองสงั โยค) - บทสวดพระสังฆคณุ ภาษาไทย (ท�ำนองสรภญั ญะ) - บทสวดชยสิทธคิ าถา ภาษาบาลี (ทำ� นองสังโยค) - บทสวดชยสิทธคิ าถา ภาษาไทย (ทำ� นองสรภญั ญะ) ในการสวดมนตห์ มฯู่ ใหน้ กั เรยี นทเี่ ปน็ ตน้ เสยี งในสถานศกึ ษานนั้ ๆ จำ� นวน ๕ คน นั่งแถวหน้า เพือ่ เป็นต้นเสยี ง เริม่ ตง้ั แต่การกราบพระรตั นตรัย ๓ ครั้ง แล้วเร่ิมสวดครบทุก บทตามล�ำดบั ๔. สถานศกึ ษาสง่ ไฟล์วดี ีโอท่บี ันทกึ แลว้ (ใส่แผ่น CD/DVD หรอื Flash Drive เขยี นชอื่ โรงเรยี นใหช้ ดั เจนตดิ บนแผน่ CD/DVD หรอื Flash Drive เทา่ นนั้ หา้ มมใิ หพ้ มิ พช์ อ่ื โรงเรยี น หรอื ขอ้ ความใด ๆ ใสล่ งในวดี โิ อทง้ั สนิ้ ) พรอ้ มใบสมคั รเขา้ รว่ มประกวดฯ (แบบ สภ.๓) ไปทส่ี ำ� นกั งาน วัฒนธรรมจังหวดั ทงั้ น้ี การบนั ทกึ วดี โิ อนน้ั ตอ้ งถา่ ยใหค้ รบทง้ั การกราบพระและการสวดมนต์ โดยให้ปรากฎจ�ำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมท้ังหมด และห้ามมิให้ท�ำการตัดต่อหรือดัดแปลงภาพ หรอื เสยี งใด ๆ ท้งั สิ้น หากตรวจสอบพบวา่ มกี ารตัดต่อหรือดัดแปลงวีดโิ อ สถาบนั การศึกษาน้ัน ๆ จะถูกตดั สทิ ธ์ิในการประกวดทันที ๕. ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัด ตรวจสอบและรับรองไฟล์วีดีโอของโรงเรียน ทสี่ มคั รเขา้ ประกวด ตามแบบการรบั รองทกี่ รมการศาสนากำ� หนดให้ และสำ� นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั 90 คู่มือ การสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรตั นตรัย ทำ� นองสรภัญญะ
รวบรวมไฟล์วีดีโอที่ผ่านการรับรอง พร้อมใบสมัครเข้าร่วมประกวด ฯ (แบบ สภ.๓) และแบบสรปุ (สภ.๔) ทกี่ รอกขอ้ มลู สมบรู ณแ์ ลว้ ไวข้ องสถานศกึ ษาตา่ ง ๆ ไปทกี่ รมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ภายในเดือนพฤศจิกายน ๖. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม แต่งตั้งคณะกรรมการตัดสิน การสวดมนตห์ มู่ฯ ตัดสนิ การสวดมนตห์ มู่ฯ ตามไฟลว์ ีดโิ อทส่ี ถานศกึ ษาส่งมา โดยการตดั สินระดบั จงั หวดั จะรวมสถานศกึ ษา ทกุ จงั หวดั ในภาคคณะสงฆน์ น้ั ๆ มาตดั สนิ พรอ้ มกนั แลว้ คดั สถานศกึ ษา ที่ได้คะแนนสูงสดุ ในภาคน้นั ๆ ระดบั ประถมศกึ ษา ๔ แห่ง ระดับมัธยมศึกษา/อาชีวศกึ ษา (ปวช.) ๔ แหง่ เพ่อื เขา้ รอบเป็นตวั แทนภาคคณะสงฆ์ต่อไป โดยประกาศผล ภายในเดือนธันวาคม ๒.๒ รอบคดั เลอื ก ระดบั ภาคคณะสงฆ์ ๑. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม แจ้งให้สถานศึกษาท่ีเข้ารอบระดับ ภาคคณะสงฆ์ บนั ทกึ วดี โิ อการสวดมนตห์ มฯู่ ทำ� นองสรภญั ญะ ทง้ั โรงเรยี น อกี ครง้ั โดยตอ้ งมจี ำ� นวน นักเรยี นทส่ี วดไมน่ อ้ ยกว่า ๘๐ คน (เว้นไวแ้ ต่สถานศกึ ษาที่มีจำ� นวนนักเรยี นไม่ถงึ ๘๐ คน อนุโลม ใหต้ ามจำ� นวนนกั เรียนท่มี ีอยทู่ ้งั หมด ท้งั น้ี ตอ้ งมจี �ำนวนนกั เรียนไมน่ อ้ ยกวา่ ๖๐ คน) และต้องมี ผบู้ รหิ าร คณะครู และบุคลากรของโรงเรยี น เขา้ มีสว่ นรว่ ม ในการสวดมนตน์ นั้ ด้วย แล้วส่งวดี ิโอ มาที่ กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ภายในเดอื นมกราคม ๒. กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม แต่งตั้งคณะกรรมการตัดสินการ สวดมนตห์ มฯู่ ดำ� เนนิ การตดั สนิ การสวดมนตห์ มฯู่ ระดบั ภาคคณะสงฆ์ ตามไฟลว์ ดี โิ อทสี่ ถานศกึ ษาสง่ มา และประกาศผลเขา้ รอบ ในระดบั ประเทศ ระดบั ประถมศึกษา ภาคละ ๑ แห่ง ระดบั มธั ยมศกึ ษา/ อาชวี ศึกษา (ปวช.) ภาคละ ๑ แห่ง รวมท้งั หมด ๔๐ แหง่ ภายในเดือนมกราคม ๓. กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม แตง่ ตง้ั คณะกรรมการตดั สนิ การสวดมนต์ หมฯู่ โดยมผี ทู้ ำ� คณุ ประโยชนต์ อ่ พระพทุ ธศาสนาทไี่ ดร้ บั รางวลั เสาเสมาธรรมจกั รในพนื้ ท่ี ทง้ั พระสงฆ์ และคฤหัสถ์ ที่มีความรู้เฉพาะเรื่องการสวดมนต์หมู่ฯ ซ่ึงส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดส่งรายช่ือให้ กรมการศาสนา เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการเพื่อประเมินผลตามสภาพจริง และตัดสินให้คะแนน การสวดมนต์หมฯู่ ประเภททมี โรงเรียน ณ สถานศึกษาทเี่ ขา้ รอบระดบั ประเทศทงั้ ๔๐ แห่ง โดยต้องได้ คะแนนเฉลยี่ ไมต่ ำ่� กวา่ รอ้ ยละ ๘๐ หากตำ่� กวา่ รอ้ ยละ ๘๐ จะถกู ตดั สทิ ธใิ์ นระดบั ประเทศทนั ที และ กรมการศาสนาจะเรยี กสถานศกึ ษา ทีม่ คี ะแนนในล�ำดับถัดไปในภาคน้นั ๆ เขา้ รอบแทน โดยมีการ ประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ และตัดสินใหค้ ะแนนเชน่ กนั คู่มอื การสวดมนต์หมู่สรรเสริญพระรัตนตรัย 91 ท�ำนองสรภญั ญะ
อน่ึง คะแนนประเมินผลและตัดสินของคณะกรรมการที่ลงพ้ืนที่ประเมินผล ตามสภาพจรงิ คะแนนเฉลย่ี จะนำ� มารวมกบั คะแนนตดั สนิ ในรอบชงิ ชนะเลศิ ระดบั ประเทศ รว่ มกบั คณะกรรมการตัดสินในระดบั ประเทศ การประเมินผลตามสภาพจริง เร่ิมด�ำเนินการต้ังแต่ช่วงเดือนมราคมถึงเดือน กุมภาพันธ์ ท้ังน้ี คณะกรรมการจะแจ้งให้สถานศึกษาที่เข้ารอบทราบล่วงหน้าก่อนลงพื้นท่ีอย่าง นอ้ ย ๕ วนั และจะประกาศผลการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ และการตัดสินสถานศกึ ษาที่เขา้ รอบ ระดับประเทศ ต่อไปทางเวบ็ ไซตก์ รมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรม ๓. รอบชงิ ชนะเลิศ ระดบั ประเทศ สถานศึกษาทีเ่ ข้ารอบระดบั ประเทศ รวม ๔๐ แหง่ จะท�ำการประกวดระดับประเทศ ในเดอื นพฤษภาคม สถานทีป่ ระกวดตามที่กรมการศาสนากำ� หนด (แจง้ ใหท้ ราบภายหลัง) ๔. รางวลั ทไี่ ด้รับ ๔.๑ สถานศกึ ษาทไี่ ดอ้ ันดับ ๑ - ๕ ในระดบั ประเทศ ผ้บู ริหารหรอื ผแู้ ทนสถานศึกษา ไดเ้ ข้ารับพระราชทานโลร่ างวัลในเทศกาลวิสาขบูชา ๔.๒ สถานศกึ ษาทไี่ ดอ้ นั ดบั ๖ - ๒๐ ในระดบั ประเทศ ไดร้ บั โลเ่ กยี รตคิ ณุ จากรฐั มนตรี วา่ การกระทรวงวัฒนธรรม ๔.๓ สถานศกึ ษาทสี่ ง่ เขา้ ประกวดทงั้ หมดไดร้ บั เกยี รตบิ ตั รเขา้ รว่ มกจิ กรรมจากอธบิ ดี กรมการศาสนา 92 คู่มอื การสวดมนต์หมสู่ รรเสรญิ พระรตั นตรยั ท�ำนองสรภัญญะ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103