วชิ า งานเช่อื มอาร์กโลหะแกส๊ คลมุ 1
จุดประสงค์รายวชิ า 1. สามารถปฏบิ ัติงานเช่ือมอาร์กโลหะแก็สคลมุ และ งานเชือ่ ม Flux Core Wire แผน่ เหล็กกลา้ คาร์บอนตาแหนง่ ท่าเชอื่ ม 1F, 2F, 3F และ 1G, 2G, 3G 2. ตรวจสอบงานเช่ือมดว้ ยการพินิจไดต้ ามมาตรฐาน 3. มกี ิจนิสัยในการทางานที่ดี ปฏบิ ัตกิ ารเชอ่ื ม โดยใช้อุปกรณค์ วามปลอดภัยส่วนบุคคลครบถ้วน สมรรถนะรายวิชา 1. เช่อื มอารก์ โลหะแก๊สคลุมและ งานเชอ่ื ม Flux Core Wire แผน่ เหล็กกล้าคาร์บอน ตาแหน่งทา่ เชอื่ ม 1F, 2F, 3F และ 1G, 2G, 3G ได้ตามมาตรฐานท่กี าหนด 2. ตรวจสอบเชอื่ มอารก์ โลหะแก๊สคลมุ และ งานเชื่อม Flux Core Wire แผ่นเหล็กกลา้ คารบ์ อน ตาแหน่งท่าเช่ือม 1F, 2F, 3F และ 1G, 2G, 3G ด้วยการพินิจไดต้ ามข้นั ตอน 3. วิเคราะหข์ ้อบกพรอ่ งงานเช่ือมด้วยการพินิจได้ตามมาตรฐาน คาอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกับ เคร่ืองมือ วัสดุ อุปกรณ์ ในงานเชื่อมเทคนิคงานเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุม และงานเชื่อมด้วย Flux Core Wire แผ่นเหล็กกล้าคาร์บอนในตาแหน่งท่าเช่ือม 1F, 2F, 3F, 4F และ 1G, 2G , 3G โดยใช้อุปกรณ์ถูกต้องตามหลักความ ปลอดภัยและอาชวี อนามยั
หน่วยที่ 1 ความปลอดภัยในการเชือ่ มอาร์กโลหะแกส๊ คลมุ และการเช่อื ม Flux Core Wire
1. ความปลอดภัยในการเชื่อมอารก์ โลหะแก๊สคลุม และการเชอ่ื ม Flux Core Wire อันตรายจากการเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire อาจเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ซึ่งผู้ปฏิบัติงานเช่ือม จะตอ้ งศกึ ษาถงึ หลกั การ วิธีการใชเ้ ครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ในงานเช่ือมเข้าใจเป็นอย่างดีเสียก่อน เพื่อป้องกันอันตรายอันอาจจะเกิดข้ึนขณะ ปฏบิ ัติงานเช่ือม ซง่ึ อันตรายอนั เกดิ จากการเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลมุ และการเชอื่ ม Flux Core Wire สรปุ ไดด้ ังต่อไปน้ี 1.1 อันตรายที่เกิดจากการอาร์ก ในการปฏบิ ตั งิ านเชื่อมจะมีการอาร์กระหวา่ งช้ินงานกบั ลวดเชอ่ื ม ทาให้เกิดแสงสว่างทมี่ คี ่าความเข้มของแสงสูงซึ่งทาให้ตาพร่ามัว ชั่วขณะได้ และมีรังสีที่เป็นอันตรายต่อดวงตา และผิวหนังของผู้ปฏิบัติงานเชื่อมได้โดยรังสีที่เกิดได้แก่ รังสีอัลตราไวโอเลตและรัง สี อินฟราเรด ซ่งึ แสงและรงั สีดงั กล่าวจะทาให้เกดิ อาการเจบ็ ดวงตาเหมือนมเี ม็ดทรายเข้าตาดวงตาและมีน้าตาไหลมาก ดวงตาจะมีลักษณะ เป็นสีแดง อีกท้ังยังทาให้ผิวหนังเหมือนถูกแสงอาทิตย์ท่ีมีความเข้มสูงเผาไหม้ระคายเคืองเจ็บแสบที่บริเวณผิวหนังได้ ดังนั้นผู้ปฏิบัติงาน เชื่อมตอ้ งสวมหน้ากากเชื่อมทม่ี ีเลนส์กรองแสงทเี่ หมาะสมกบั กระบวนการเชื่อมนนั้ เพือ่ ปอ้ งกนั แสงและรงั สที เี่ กิดขน้ึ
หนา้ กากเชื่อมแบบมอื ถือ หน้ากากเช่อื มแบบสวมศรี ษะ หนา้ กากเชื่อมแบบสวมศรี ษะ เลนส์กรองแสงอตั โนมตั ิ
1.2 อันตรายจากควันเชื่อมและไอระเหย ในการปฏิบัติงานเช่ือมจะเกิดความร้อนและการเผาไหม้ขึ้นทาให้เกิดควันและไอระเหย ของลวดเช่ือม ชิ้นงาน และการเผาไหม้ของ แก๊สคลุมขึ้นท่ีชิ้นงาน ทาให้เกิดไอระเหยของโลหะหลอมเหลวข้ึนเม่ือเย็นตัวลงก็จะเกิดอนุภาคขนาดเล็กลอยอยู่ในอากาศโดยเฉพาะบริเวณ พื้นที่ปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงาน และได้สูดดมไอระเหยเหล่าน้ีเข้าไปในร่างกายทาให้เกิดการสะสมในร่างกายเป็นปริมาณมากก็จะก่อให้เกิ ด โรคต่าง ๆ ข้ึน เช่นโรคแมงกานีสเรื้อรัง โรคพาร์กินสัน โรคหมันชาย เป็นต้น ดังน้ันผู้ปฏิบัติงานเช่ือมจะต้องป้องกันการสูดดมควันและไอ ระเหยเหล่านี้ โดยการใส่หน้ากากชนิดปิดปากปิดจมูกเพื่อกรองสารพิษต่าง ๆ ไม่ให้สะสมในร่างกาย และจดั พ้นื ท่ปี ฏิบตั ิงานเช่ือมใหม้ อี ากาศ ถ่ายเทไดส้ ะดวก หรอื อาจใชเ้ครอ่ื งดูดควนั เขา้ มาช่วยในบรเิ วณปฏบิ ตั งิ านก็ได้ ลักษณะของเครอ่ื งดดู ควัน ลกั ษณะของหนา้ กากชนิดปิดปากปิดจมูกและผา้ ปิดปิดปากปิดจมูก
อันตรายทีเ่ กดิ จากงานเชอื่ ม ความรอ้ นจากงานเช่ือมเกดิ ข้ึนมาหลายลกั ษณะ เช่นความรอ้ นจากช้ินงานหลงั การเช่ือมเสรจ็ หรอื ตดั เตรยี มช้ินงานดว้ ยแกส๊ เสรจ็ จะมีความรอ้ น สะสมสูงหากไม่ระมดั ระวงั อาจเกดิ อนั ตรายได้ ดงั น้นั หลงั จากงานเช่ือมเสรจ็ หรอื ตดั เตรยี มช้ินงานดว้ ยแกส๊ เสรจ็ ควรใชค้ ีมท่ีออกแบบโดยเฉพาะท่จี บั งาน รอ้ นเพอ่ื ป้ องกนั ผิวหนงั ไหมไ้ ด้ ลกั ษณะของคมี จบั ช้นิ งาน
1.4 อนั ตรายจากเศษโลหะและสะเกด็ โลหะทีเ่ กิดจากงานเช่อื ม การปฏิบัตงิ านเชื่อมจะมเี ศษวสั ดุหลายลักษณะ เช่นเศษโลหะจากการตัดช้นิ งาน เม็ดโลหะกระเด็นหรือตกใส่ขณะทาการเชื่อม สะเก็ดไฟจากการเจียระไนช้ินงาน ทาให้ผู้ปฏิบัติงานได้รับบาดเจ็บมีบาดแผลจากเศษโลหะที่ตัดทิ้งไว้ หรือเม็ดโลหะกระเด็นขณะทา การเชื่อมเป็นแผลพุพองได้ รวมท้ังสะเก็ดไฟโลหะจากการเจียระไนกระเด็นเข้าดวงตา ทาให้ดวงตาอักเสบถึงข้ันตาบอดได้ ดังนั้น ผู้ปฏิบัติงานจะต้องแต่งตัวรัดกุมในการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง เช่น สวมปลอกแขน เสื้อคลุมหรือชุดหนัง ใสถุงมือ รองเท้า และ แวน่ ตา เป็นต้น การแตง่ ตัวรดั กมุ กอ่ นปฏบิ ตั งิ าน การแตง่ ตัวรดั กมุ ขณะปฏิบัตงิ าน
1.5 อนั ตรายจากการระเบดิ ทีเ่ กดิ จากงานเชื่อม 1. การระเบิดจากถังแก๊ส กระบวนการเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire จะใช้แก๊สในการปกคลุมโดยใช้ แก๊สคาร์บอนไดออกไซดห์ รอื แก๊สอาร์กอนเป็นต้น แก๊สปกคลุมท้ังสองจะบรรจุในท่อที่มีความดันสูงโดยมีความดันประมาณ 2,200 ปอนด์ ต่อตารางน้วิ หรือประมาณ 1ตนั ต่อตารางนิ้ว ดังนัน้ ในการเคลอื่ นย้ายตอ้ งเคลื่อนย้ายอย่างถูกต้องและมีความระมัดระวังเป็นพิเศษรวมท้ัง การตดิ ตง้ั ท่มี ่ันคงแขง็ แรง 2. การระเบิดจากชิ้นงานเช่ือม ชิ้นงานท่ีทาการเช่ือมอาจจะมีสารที่ติดไฟง่ายหรือส่ิงที่ทา ใหเ้ กดิ การระเบิดได้ เชน่ ถงั บรรจนุ ้ามนั หรือเช้ือเพลิง ดงั นน้ั ก่อนทาการเชื่อมควรตรวจสอบชน้ิ งาน ทกุ ครั้ง เปิดฝาถังใช้น้าล้างสารติดไฟง่ายออกให้หมด ล้างด้วยน้าสะอาดอีกคร้ัง แล้วเติมน้าในถัง แทนทอี่ ากาศ กอ่ นทาการเชื่อมเปน็ ต้น การเคลอื่ นย้ายทอ่ แก๊สอยา่ งถูกต้อง
1.6 อนั ตรายจากไฟฟา้ อันตรายท่ีเกิดจากไฟฟ้าดูด เกิดข้ึนได้จากหลายสาเหตุ เช่นไฟฟ้ารั่วจากสายเช่ือมชารุด พ้ืนท่ีปฏิบัติงานช้ืนแฉะหรือขณะฝนตก ติดต้ังเคร่ืองเช่ือมโดยไม่ต่อสายดิน อุปกรณ์ท่ีใช้ชารุด ขั้วต่อสายตาแหน่งต่าง ๆ ขันไม่แน่น ขนาดของสายไฟไม่เหมาะสมกับขนาดของ กระแสไฟทใ่ี ช้ และอุปกรณต์ า่ ง ๆ ทใ่ี ช้ในการเชื่อมไม่ไดม้ าตรฐาน เปน็ ต้น ดงั นนั้ จึงมขี ้อควรปฏิบัตเิ พ่ือปอ้ งกันไฟดดู ดังตอ่ ไปนี้ 1. กอ่ นใช้เครือ่ งจกั รควรตรวจอุปกรณ์ให้เรยี บร้อยก่อนเสมอ 10. ปดิ สวิตชห์ รือถอดครบั อุปกรณ์ไฟฟ้ากอ่ นทาการซอ่ มหรือปรบั เครื่องเชือ่ มทกุ คร้ัง 2. ตรวจเช็คหรอื ซอ่ มเครอ่ื งปิดเบรกเกอร์ลงทุกครั้ง 11. ตรวจสอบอุปกรณ์และเครื่องเชอ่ื มให้มีสภาพพรอ้ มใช้ทุกคร้ังหลังปฏบิ ัติงาน 3. การตดิ ต้ังเคร่ืองเชือ่ มต้องมีต่อสายดิน 4. ควรตรวจสอบและขนั ขอ้ ต่อใหแ้ น่น 5. ตรวจสอบขนาดของสายไฟ เบรกเกอร์ ฟิวส์ ใหเ้ หมาะสมกับขนาดของกระแสไฟทีใ่ ช้ 6. ไมจ่ บั สายไฟเชื่อมและสายดินพร้อม ๆ กัน ในขณะทเ่ี ปิดเครอื่ งเช่ือมอย่เู พราะอาจเกิดอนั ตรายจากไฟฟา้ ดูดได้ 7. ไม่ควรทาการเช่อื มในบริเวณทเ่ี ปยี กชื้นและสวมเสอื้ ผ้าทีแ่ ห้งปราศจากความช้ืนทกุ ครั้งในการปฏิบตั ิงาน 8. ไมค่ วรสัมผัสช้นิ ส่วนท่ีมกี ระแสไฟไหลผา่ น 9. ไมค่ วรนาสายเชอ่ื มพันรอบตัวผู้ปฏิบตั งิ านเช่ือม
ของลกั ษณะอุปกรณ์ไฟฟา้ ขอ้ ต่อชารดุ ข. สายไฟตอ่ อปุ กรณย์ ดึ สายดนิ ใกล้ขาด ก. อุปกรณย์ ึดสายดนิ ชารุด ง. สายไฟสาหรบั ส่ง ค. ข้อต่อสายสายดินไมม่ ีฉนวนห้มุ สัญญาณชารดุ
1.7 อันตรายจากเสยี งทเ่ี กดิ จากงานเช่อื ม เสียงท่ีเป็นอันตรายอันเกิดจากการปฏิบัติงานเชื่อมนั้นมีหลายลักษณะ เช่นที่เสียงเกิดจากการอาร์กชิ้นงาน เสียงที่เกิดจากการ เจียระไนช้ินงาน เสียงท่ีเกิดจากการเคาะช้ินงาน เป็นต้น ซึ่งระดับเสียงเหล่าน้ีจะมีความดังมากกว่าเสียงปกติเป็นระยะเวลานาน ทาให้ ระบบการรับฟังของผู้ปฏิบัติงานน้ันเส่ือมลงได้ ดังนั้นจึงควรมีการป้องกันโดยการใช้อุปกรณ์ป้องกันเสียง เช่น ที่ครอบหู (Ear muffs) หรือทอี่ ุดหู (Ear plugs) เป็นต้น เพอ่ื ลดอนั ตรายตอ่ ประสาทหขู องผู้ปฏบิ ตั ิงาน ก. ครอบหู (Ear muffs) ข. ที่อดุ หู (Ear plugs)
1.8 อนั ตรายที่เกิดข้ึนภายหลงั การทาความสะอาดงานเชอื่ มและอน่ื ๆ อันตรายท่ีจะเกิดข้ึนภายหลังการเช่ือม ก็คือ การทาความสะอาดแนวเชื่อม ฉะน้ันผู้เชื่อมจึงควรป้องกัน ผิวหนัง และดวงตา ด้วย หน้ากาก ถุงมือ และเส้ือหนังจะช่วยป้องกันสะเก็ดจากการเจียระไน และควรสวมแว่นตา เป็นการป้องกันรองจากการใช้หน้ากากโดย สม่าเสมอ ทัง้ นีเ้ พราะเศษของโลหะอาจกระเดน็ เขา้ ไปภายในหนา้ กากทีส่ วมใสไ่ ดเ้ สมอ
2. เครือ่ งมอื และอุปกรณ์ในงานเชอื่ ม เครื่องมือ และอุปกรณ์ในงานเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุม และการเชื่อม Flux Core Wire มีหลายชนิดและมีหน้าท่ีในการใช้งานท่ี ตา่ งกันออกไป เช่น อุปกรณ์สาหรับประกอบเคร่ืองเช่ือม อุปกรณ์ทาความสะอาด อุปกรณ์ป้องกันอันตราย อุปกรณ์ในการเตรียมงานเป็น ต้น ทง้ั นผ้ี ปู้ ฏิบตั ิงานควรเลือกใชใ้ ห้เหมาะสมตรงตามลักษณะการใช้งานดังต่อไปนี้ 2.1 อุปกรณท์ ่ีใชส้ าหรับประกอบเคร่ืองเช่ือม 1. ชุดขับควบคุมการป้อนลวด (Wire Feed Systems) ชดุ ขบั ควบคมุ การป้อนลวดของกระบวนการเช่ือมอาร์กโลหะแกส๊ คลุม และการเช่อื ม Flux Core Wire มอี ยู่ทัง้ หมด 4 แบบ 1.1 ชดุ ขับป้อนลวดอยู่ในเครือ่ ง (Welding Booth Unit) ชดุ ขบั ป้ อนลวดอยูใ่ นเครอ่ื ง (Welding Booth Unit)
1.2 ชดุ ขับปอ้ นลวดแบบยูนิเวอรแ์ ซล (Universal Unit) ชุดขบั ป้ อนลวดแบบยูนิเวอรแ์ ซล (Universal Unit) 1.3 ชุดขบั ป้ อนลวดแบบมว้ นขดขนาดเลก็ (Small Coil Unit) ชุดขบั ป้ อนลวดแบบมว้ นขดขนาดเลก็ (Small Coil Unit)
1.4 ชุดขบั ป้ อนลวดแบบผลกั และดึงลวด (Push Pull Unit) ชดุ ขบั ป้ อนลวดแบบผลกั และดงึ ลวด (Push Pull Unit)
2. หวั เชือ่ ม (Welding gun or torch) หัวเชื่อมของกระบวนการเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุม และการเช่ือม Flux Core Wire ทาหน้าท่ีหลกั คือ ส่งลวดเช่ือม ปล่อย กระแสไฟเช่ือมสูบ่ รเิ วณการอารก์ และปล่อยแกส๊ คลมุ โดยหวั เช่ือมท่ปี ระกอบตดิ อยู่กบั ตอนปลายของสายเช่ือม จะมีระบบระบายความรอ้ น และการ สง่ ลวดเช่ือม พรอ้ มทง้ั มลี กั ษณะของหวั เช่ือม ดงั ต่อไปน้ี 1. ระบบระบายความร้อนของหัวเชอื่ มมี 2 ระบบ ได้แก่ 1.1 หวั เช่ือมระบายความรอ้ นดว้ ยอากาศ (Air Cooled) ไดอ้ อกแบบมาสาหรบั เช่ือมโลหะท่ีไม่หนามาก ใชก้ ระแสไฟตา่ กว่า 200 แอมแปร์ โดยใชแ้ กส๊ อารก์ อนเป็ นแกส๊ คลุม ถา้ นาหวั เช่ือมระบายความรอ้ นดว้ ยอากาศมาใชก้ บั กระแสไฟท่ีสูงกว่า 300แอมแปรจ์ ะนิยมใชแ้ กส๊ คารบ์ อนไดออกไซดเ์ ป็นแกส๊ คลมุ เพราะแกส๊ ชนิดน้ีจะมอี ณุ หภมู ทิ ต่ี า่ และช่วยลดอณุ หภมู หิ รอื ระบายความรอ้ นไดด้ ีกวา่ แกส๊ อารก์ อน หวั เชือ่ มระบายความร้อนดว้ ยอากาศ (Air Cooled)
1.2. หวั เช่ือมระบายความรอ้ นดว้ ยน้า (Water Cooled) ไดอ้ อกแบบมาสานกั เช่ือมสาหรบั งานท่หี นาใชก้ ระแสไฟสูงกวา่ 200 แอมแปรท์ าให้ เกดิ อณุ หภมู สิ ูงข้ึนจงึ นาระบบระบายความรอ้ นดว้ ยน้าเขา้ มาช่วยเพอ่ื ลดความรอ้ นบรเิ วณหวั เช่ือมลง หวั เช่อื มระบายความรอ้ นดว้ ยน้า (Water Cooled)
2. การสง่ ลวดเชอ่ื มของหัวเชือ่ มมี 2 ระบบ ไดแ้ ก่ 2..1 ส่งลวดชนดิ ดงึ (Pull Type) ภายในหวั เช่ือมจะประกอบดว้ ยชดุ ป้ อนลวด(Drive rolls) ซง่ึ มีมอเตอรข์ บั เพ่อื ดึงลวดเช่ือมออก จากลอ้ ลวด(Wire Feeder) เหมาะสาหรบั ลวดเช่ือมออ่ น ไม่แข็งมากและมีขนาดเลก็ เช่น ลวดเช่ือมอลูมิเนียม และลวดเช่ือมแมกนีเซยี มเป็นตน้ หวั เช่อื มสง่ ลวดชนดิ ดงึ (Pull Type)
2.2 ส่งลวดชนิดดัน (Push Type) ส่วนหวั เช่ือมชนดิ ดนั ซง่ึ นิยมใช้กนั ท่วั ไป ระบบส่งป้อนลวดเชือ่ มจะไม่อยู่ในหัวเช่ือม ซ่งึ ระบบ ส่งปอ้ นจะทาหน้าทด่ี งึ ลวดเชือ่ มจากลอ้ เกบ็ ลวดแล้วดันลวดเช่อื มผา่ นสายเช่ือมไปยงั หวั เชอื่ ม และเขา้ ส่กู ารอาร์กระบบส่งปอ้ นลวดชนดิ ดนั เหมาะกบั ลวดเชอ่ื มท่ีมคี วามแข็งและใหญก่ ว่าชนดิ ดงึ เปน็ ลวดเช่อื มเหล็กคาร์บอนและสแตนเลส โดยใชก้ ระแสไฟสงู (สูงกว่า250 แอมแปร)์ เปน็ ตน้ หวั เชือ่ มส่งลวดชนิดดนั (Push Type)
3. ลกั ษณะของหวั เช่อื มแบง่ ตามลักษณะรปู รา่ งได้ 2 แบบไดแ้ ก่ หัวเชื่อมแบบหวั ตรง หัวเช่อื มแบบหัวโค้ง
4. แกส๊ ปกคลุม (Shielding gas) แก๊สปกคลุมคือแก๊สเฉ่ือยหรือก่ึงเฉื่อย ที่ใช้ในกระบวนการเช่ือมโลหะแก๊สคลุม (GMAW)หน้าท่ีของแกส๊ ปกคลุมในงานเช่ือมคือการ ป้ องกนั เน้ือเช่ือมจากการปนเป้ือนหรอื การทาปฏกิ ริ ยิ าจากอากาศและความช้ืนท่อี ยู่รอบขา้ ง ซ่งึ การปนเป้ื อนของอากาศและความช้ืนจะทาใหไ้ ดค้ ุณภาพ ของเน้ือเช่ือมตา่ กวา่ ปกตหิ รอื ทาใหก้ ารเช่ือมทาไดย้ ากข้ึน ก.ท่อแกส๊ ปกคลมุ ข. ท่อแก๊สปกคลมุ ชนิดอารก์ อน Argon ชนดิ คารบ์ อนไดออกไซด์
5. ลวดเชอ่ื ม (Electrode wire) ในการเชื่อมอาร์กโลหะแกส๊ คลุม และการเชื่อม Flux Core Wire นนั้ จะใชล้ วดเช่ือมทมี่ ีความแตกตา่ งกนั โดยการเชอ่ื มอาร์กโลหะ แกส๊ คลมุ จะใช้ลวดเชอื่ มทมี่ ีแกนลวดเป็นโลหะตนั และไมม่ สี ารพอกหมุ้ ใด ๆ ส่วนการเชื่อม Flux Core Wire จะใช้ลวดเชือ่ มเปน็ โลหะที่มี แกนดา้ นในกลวงบรรจุสารพอกหุม้ ไวด้ า้ นใน หรอื เรียกวา่ ลวดเชื่อมไส้ฟลักซ์ โดยลวดเช่อื มทงั้ 2 ชนดิ มีรายละเอยี ดดังนี้ 1. ลวดเชือ่ มการเชือ่ มอารก์ โลหะแก๊สคลุม เปน็ ลวดเชื่อมเปลอื ยมีแกนลวดเชือ่ มเปน็ โลหะตนั และไมม่ สี ารพอกหุม้ ท่ตี วั ลวดเช่ือม และมีการกาหนดขนาดลวดเชือ่ มดว้ ยขนาดเสน้ ผ่าน ศนู ย์กลางลวดเชอื่ ม เชน่ 0.8 , 0.9 , 1.0 , 1.2 , 1.4 , 1.6 มม. เป็นตน้ มลี กั ษณะการจดั เกบ็ ลวดเช่ือมเป็นมว้ นกลม มคี วามสามารถในการเช่ือม โลหะหลายชนิด เช่น เหลก็ กลา้ คารบ์ อน เหลก็ กลา้ ไรส้ นิม และ อลมู เิ นียม เป็นตน้ ข้อดขี องลวดเชอ่ื มและการเชอ่ื มประเภทนี้คอื สามารถเชื่อมได้ เร็วเมื่อเทยี บกับการเชอ่ื มโดยใช้ลวดเชือ่ มไฟฟา้ ลวดเช่ือมการเช่ือมอารก์ โลหะแกส๊ คลมุ
2. ลวดเชือ่ มการเชอ่ื ม Flux Core Wire เป็นลวดเชื่อมเปลือยแต่มีแกนลวดเชื่อมเป็นโลหะกลวงโดยบรรจุสารพอกหุ้มไว้ ภายใน และมีการกาหนดขนาดลวด เช่ือมด้วยขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลวดเชื่อม เช่น 0.8 , 0.9 , 1.0 , 1.2 , 1.4 , 1.6 มม. เป็นต้น มีลักษณะการจัดเก็บลวดเช่ือมเป็นม้วน กลม มีความสามารถในการเช่ือมโลหะหลายชนิด เช่น เหล็กกล้าคาร์บอน เหล็กกล้าไร้สนิม ดังแสดงในรูปท่ี 20 ข้อดีของลวดเชื่อมและ การเช่ือมประเภทน้ีคือ สามารถเช่ือมได้เร็วและให้รอยเช่ือมที่มีคุณภาพสูง สวยงาม สามารถผ่านการเอ็กซเรย์ได้ และในปัจจุบันได้ผลิต ลวดออกมา 2 ชนิด ไดแ้ ก่ 1. ลวดเช่ือมไส้ฟลักซ์ชนิดท่ีต้องใช้แก๊สปกคลุมแนวเชื่อม (Gas Shielded Flux Cored Wire) การใช้ลวดประเภทน้ี จะต้องใช้แก๊สปกคลุมแนวเชื่อมจากภายนอกรว่ มดว้ ยเสมอ เม่ือทาการเช่ือม 2. ลวดเช่อื มไสฟ้ ลักซช์ นดิ ทไ่ี มต่ อ้ งใช้แกส๊ ปกคลุมแนวเชือ่ ม (Self Shielded Flux Cored Wire) การใชล้ วดประเภทน้ี ไม่จาเป็นต้องใช้ก๊าซปกคลุมแนวเชื่อมจากภายนอก เน่ืองจากฟลักซ์ที่บรรจุอยู่ในลวดเช่ือมมีความสามารถแตกตัวออกเป็นแก๊สปกคลุม แนวเช่อื มไดด้ ว้ ย ตวั เองในขณะที่ทาการเชื่อม ลวดเช่อื มประเภทนนี้มักจะใชอ้ ตุสาหกรรมหนกั หรอื งานที่อยู่กลางแจง้ ดว้ ย
ลวดเช่ือมการเช่ือม Flux Core Wire
6. อปุ กรณ์ควบคมุ ความดันแกส๊ ใช้ควบคุมความดันแก๊สเพื่อลดความดันจากท่อบรรจุลงให้พอเหมาะกับการใช้งานและให้ความดันจ่ายคงที่ โดยมาตรวัด การไหลจะใช้ควบคมุ อัตราการไหลของแก๊ส จากอุปกรณ์ควบคุมความดันแก๊สไปยังหัวเชื่อม อัตราการไหลของแก๊สจะถูกปรับโดยวาล์วที่ ทางออกของมาตรวดั การไหล วาลว์ การไหลจะถกู ตดิ ตง้ั รวมอย่กู บั อปุ กรณ์บงั คบั แกส๊ อปุ กรณค์ วบคุมความดันแกส๊ และมาตรวดั การไหล ออกแบบมาใช้เฉพาะแก๊สคลุมเท่าน้นั สายสง่ แก๊สปกติจะตอ่ อยกู่ ับโซลินอยด์ วาลว์ ในชุดป้อนลวด แก๊สถูกเปดิ ใหอ้ อกมาและหยุดไหลเมอ่ื เปิด-ปิดกระแสเชอ่ื ม และอปุ กรณค์ วบคุมความดันแกส๊ สว่ นมากจะใช้ 2 ชนิด ได้แก่ 6.1 อปุ กรณ์ควบคุมความดันแกส๊ ชนิดไม่มฮี ิตเตอรใ์ ชก้ ับแกส๊ ท่วั ไป อปุ กรณ์ควบคุมความดนั แกส๊ ชนิดไม่มฮี ติ เตอร์
6.2 อุปกรณ์ควบคมุ ความดนั แกส๊ ชนดิ มฮี ติ เตอรใ์ นตัวนยิ มใชก้ ับคลุมชนิดคารบ์ อนไดออกไซด์ อปุ กรณ์ควบคมุ ความดนั แกส๊ ชนิดชนิดมฮี ติ เตอรใ์ นตวั
7. อปุ กรณ์ยดึ สายดนิ (Ground Clamp) เปน็ อุปกรณท์ ตี่ อ่ อยู่ปลายสายดนิ ทาหนา้ ที่ยดึ ช้ินงานใหต้ อ่ เข้ากับวงจรเครื่องเช่ือม ซงึ่ ทาจากวัสดุเป็นตัวนาไฟฟา้ เชน่ ทองแดง โดยทั่วไปใชอ้ ปุ กรณย์ ดึ สายดนิ จะประกอบดว้ ยสปริงเพอ่ื จบั ยึดชิ้นงานใหแ้ น่น กระแสไฟฟา้ ไหลได้สะดวกเพราะถา้ จบั ยดึ ชิ้นงานไม่แนน่ จะทาให้ เกิดความตา้ นทานสงู ทาให้สญู เสียพลงั งานและเกดิ ความร้อนหรอื เกดิ การอาร์กข้นึ ได้ ลักษณะอุปกรณ์จบั ยดึ สายดิน อปุ กรณ์ยดึ สายดิน (Ground Clamp) ก. อปุ กรณย์ ดึ สายดินแบบปลิง ข. อุปกรณ์ยดึ สายดินแบบข้นั เกลียว
วธิ จี บั ยดึ สายดนิ มหี ลายวิธีให้เลือกใชต้ ามความเหมาะสมกับลกั ษณะของงานบางชนดิ ใช้ เกลยี วขันติดกับงาน หรือโต๊ะปฏบิ ัติงาน บางชนดิ ใชซ้ ีแคลม์จับยึด เป็นต้น วธิ จี บั ยดึ สายดิน ก. ยึดตดิ กับโตะ๊ ปฏบิ ตั ิงาน ข. ยึดตดิ กบั ช้นิ งาน
2.2 เครอ่ื งมอื งานเช่อื มอาร์กโลหะแก๊สคลมุ และงานเชอื่ ม Flux Core Wire 1. หน้ากากเช่ือมเปน็ อุปกรณ์ออกแบบมาเพ่ือป้องกนั สายตาจากการกระเด็นของสะเก็ดโลหะทม่ี คี วามรอ้ นสงู เกดิ จากการเชือ่ ม และรังสีท่มี ีผลต่อผิวหนังบรเิ วณหนา้ ด้วยโครงสรา้ งของหน้ากากจะทาจากวสั ดทุ ม่ี ีความทนตอ่ ความรอ้ นไดอ้ ย่างดแี ละตวั โครงสรา้ งเป็น ฉนวน เช่นผลติ จาก ไฟเบอร์กลาส พลาสตกิ ทนความร้อน กระดาษทนความรอ้ นเปน็ ต้น โดยทัว่ ไปลกั ษณะของหน้ากากเช่ือมจะมี 2 ชนิด ได้แก่ 1. แบบสวมหัวซึ่งเหมาะกับการปฏบิ ตั งิ านทต่ี ้องใชม้ ือจบั สิ่งของหรอื ปฏบิ ัติงานในทส่ี ูง ทาใหม้ ือท้ังสองข้างเป็นอิสระ สามารถ ใชม้ อื ช่วยในการจับยดึ หรอื ช่วยตัวเองให้อยู่ในตาแหนง่ ที่ม่ันคงได้ ดงั แสดงในรูปที่ 25 2. แบบใช้มือถอื ออกแบบมาเพ่ือช่วยป้องกันใบหน้าสะดวกในการเชอ่ื มบนพื้นทร่ี าบเปน็ งานทจ่ี บั ยดึ อยู่กบั ที่ จึงไม่ จาเป็นตอ้ งสวมหัวอยูต่ ลอดเวลา
หนา้ กากเช่ือมแบบสวมหวั หนา้ กากเช่อื มแบบใช้มอื ถอื
หน้ากากเชอื่ มจะประกอบดว้ ยกระจกกรองแสงเพอ่ื ป้องกันแสงที่มคี วามเขม้ สูงเกิดจากการอาร์กขณะปฏิบตั งิ าน ลดความเข้มของ แสงลงจนสายตาของผู้ปฏบิ ัตงิ านเชอื่ มมองเห็นภาพการหลอมเหลวของชนิ้ งานไดอ้ ยา่ งชดั เจน และปอ้ งกนั อนั ตรายต่อดวงตา ด้วยกระจก กรองแสงจะมีความสามารถในการกรองแสงท่แี ตกตา่ งกันตามเบอร์ความเข้ม และการเลอื กใชต้ ้องพจิ ารณาให้เหมาะสมกบั ลกั ษณะงานซง่ึ สามารถเลือกไดต้ ามตารางแสดงความเขม้ ของกระจกกรองแสง ท่เี หมาะสมกบั กระบวนการเช่อื มประเภทตา่ ง ๆ ตามตารางมาตรฐาน EN 379:2003 กระจกกรองแสงเบอร์ความเขม้ 11 ตารางความเขม้ ของกระจกกรองแสง มาตรฐาน EN 379:2003
2. ชุดปฏิบัตงิ านเชื่อม ผปู้ ฏบิ ัตงิ านเชือ่ มจะตอ้ งสวมชุดปฏบิ ตั งิ านเพ่อื ปอ้ งกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นไดใ้ นหลายสาเหตุ เชน่ ความร้อน สะเก็ดโลหะเปน็ ต้น ชดุ ปฏบิ ัติงานควรทาจากวสั ดทุ ่ตี ดิ ไฟยาก เช่น หนังสัตวห์ รือทาจากผา้ ทผี่ ลิตจากฝ้ายท่ีค่อนขา้ งหนา หลกี เลย่ี งการใชว้ ัสดทุ ีต่ ิดไฟง่าย เช่นไนลอน หรือเส้นใยพลาสตกิ ทาใหต้ ดิ ไฟงา่ ย ชดุ ที่สวมใสค่ วรจะเปน็ ชุดทแ่ี ห้งไม่มีความชน้ื และสะอาด เพราะความช้นื จากเหงอ่ื ไคลในเวลานานจะทาให้ เปน็ ตวั นากระแสไฟฟา้ ได้อยา่ งเป็นอย่างดี โดยชดุ ปฏบิ ตั ิงานเชอื่ มจะประกอบดว้ ยรายการต่าง ๆ ดงั นี้ ก. หมวกหนัง (Leather Hat) ข. ถงุ มือหนัง (Gloves) ค. ปลอกแขน (Sleeves) ชดุ ปฏบิ ตั งิ านเช่ือม
ชดุ ปฏบิ ตั งิ านเช่อื ม ง. รองเท้าหวั เหล็ก (Steel-Toe Boots) จ. เสื้อหนัง (Apron)
3. คมี จับงานเชื่อม (Pliers) เปน็ เครือ่ งมอื ท่ใี ช้จบั ชิ้นงานขณะรอ้ นเพอื่ ทาการเคล่ือนย้ายมลี กั ษณะพเิ ศษ คอื มดี า้ มยาวเพื่อปอ้ งกนั ความร้อนระหว่างช้นิ งานกบั ผ้ปู ฏบิ ัติงานเช่ือม คมี จบั งานเช่ือม (Pliers)
4. แปรงลวด (Wire Brush) ใชส้ าหรบั ทาความสะอาดช้ินงานกอ่ นและหลงั การเช่ือมเพอ่ื ขจดั ออกไซด์ เศษแสลก และสง่ิ สกปรกต่าง ๆ ทม่ี ขี นาดเลก็ ตกคา้ งอยู่ ลกั ษณะของ แปรง ขนแปรงจะทาดว้ ยเหลก็ ท่เี ป็นสปรงิ พอสมควร เพราะเม่ือใชแ้ ปรงแลว้ จะทาใหด้ า้ มไมไ้ ม่เสยี รูปหรอื หกั งอ การใชง้ านของแปรงลวดน้ีไม่ควรนาไป แช่น้า หรอื ขดั ช้ินงานท่เี ปียกน้าจะทาใหแ้ ปรงลวดชารุดเสยี หายไดเ้ รว็ กว่าปกติ ลกั ษณะของแปรงลวด แปรงลวด
5. คอ้ นเคาะสแลก (Chipping hammer) ใช้สาหรับเคาะแสลกทีอ่ ยบู่ นแนวเช่อื มเม่อื เชอื่ มเสรจ็ หรือเม่อื ตอ้ งการเช่อื มเดนิ แนวต่อไป ตวั คอ้ นจะทาด้วยเหล็กกล้าคารบ์ อน ชุบ แขง็ ท่ีสว่ นปลายทง้ั สองข้างเพื่อทนต่อแรงกระแทกไดด้ ี โดยปลายค้อนด้านหนึ่งแบนคลา้ ยสกดั และปลายอกี ดา้ นหนง่ึ แหลมใชส้ าหรบั เคาะ แสลกในหลุมขนาดเลก็ ๆ ที่ฝังอยบู่ นบริเวณแนวเชื่อมออก ลกั ษณะค้อนเคาะแสลก คอ้ นเคาะสแลก
6. น้ายาป้องกนั สะเกด็ ไฟเชือ่ ม (Anti spatter) จะมผี ลปอ้ งกนั การเกาะติดกันระหว่างเม็ดโลหะกบั ชิ้นงานและหัวเชอ่ื ม ชว่ ยใหค้ วามสวา่ งและสะอาดบรเิ วณแนวเชือ่ ม โดยจะมี 2 แบบ ครมี และ สเปรย์ ครมี และ สเปรย์
3. การประกอบตดิ ตงั้ เครอื่ งมอื และอุปกรณ์งานเชือ่ ม การประกอบติดต้งั เครือ่ งมอื และอปุ กรณ์งานเช่ือมใหพ้ รอ้ มใช้ เปน็ ส่ิงสาคัญสาหรบั ผู้ปฏบิ ัติ งานเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุม และงานเช่ือม Flux Core Wire ผฝู้ กึ ทกั ษะจะต้องมคี วามรเู้ พอื่ จะได้นาไปใชใ้ นการปฏบิ ัติงานเชือ่ มโลหะแกส๊ คลุม และการเชอ่ื ม Flux Core Wire ไดอ้ ย่างถูก วธิ ี และปลอดภยั โดยมลี าดบั ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านดังตอ่ ไปนี้ 1. เตรียมเคร่ืองมือและอุปกรณ์ป้องกันอันตรายก่อนการปฏิบัติงานเชื่อม ได้แก่ หน้ากากเช่ือม เอี๊ยมหนัง หรือเส้ือหนัง ปลอกแขน หนัง หมวกคลมุ อุปกรณท์ าความสะอาด นา้ ยาป้องกนั สะเก็ดไฟเชือ่ ม แปรงลวด คมี จบั ชนิ้ งานรอ้ น ค้อนเคาะสแลก วางไว้บนโตะ๊ การจัดเตรยี มเครื่องมอื และอุปกรณ์ป้องกันอันตรายก่อนการปฏบิ ตั งิ านเช่อื ม
2. เตรยี มเครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ สาหรบั ประกอบและติดตงั้ ไดแ้ ก่ หัวเชอ่ื ม อุปกรณ์จบั ยดึ สายดิน เกจวัดแรงดนั ลวดเชื่อม การเตรียมเครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์งานเชือ่ มใหพ้ รอ้ มใช้ 3. การประกอบและตดิ ตง้ั อปุ กรณ์เครอ่ื งเช่ือมกอ่ นใชง้ าน การประกอบหวั เช่ือมเขา้ กับเคร่อื งเช่อื ม
2. ประกอบอปุ กรณ์จบั ยดึ สายดินเขา้ กบั เครอ่ื งเช่ือม การประกอบอปุ กรณ์สายดินเขา้ กบั เครอ่ื งเช่ือม
3. ประกอบเกจวดั แรงดนั เขา้ กบั ทอ่ แกส๊ และประกอบปลายสายแกส๊ เขา้ กบั เครอ่ื งเช่ือม ก. ประกอบเกจวดั แรงดันเข้ากับท่อแกส๊ ข. ประกอบปลายสายแกส๊ เข้ากบั เคร่อื งเช่อื ม
4. ประกอบลวดเช่ือมเขา้ กบั เคร่อื งเช่ือม ก. ชดุ ขบั ปอ้ นลวดอยูใ่ นเครอ่ื ง ข. ชดุ ขับปอ้ นลวดแบบยนู ิเวอรแ์ ซล การประกอบลวดเช่ือมเขา้ กบั เครอ่ื งเช่ือม
5. ทาความสะอาดโตะ๊ ปฏบิ ตั งิ านเช่ือม ขดั ขจดั ออกไซดอ์ อก และสง่ิ สกปรกตา่ ง ๆ กอ่ นการใชง้ าน การทาความสะอาดโตะ๊ ปฏบิ ตั งิ าน
การเตรียมความพรอ้ มของเครือ่ งกอ่ นการใช้งาน 1. ยดึ สายดินกับโตะ๊ ปฏบิ ัตงิ านเชื่อมใหแ้ นน่ การต่อสายเชื่อมชนิ้ งานและยึดสายดินกับโตะ๊ ปฏบิ ัตงิ านเชื่อม
2. เปดิ สวติ ชเ์ ครอื่ งเชอ่ื มเพือ่ นาลวดเชอื่ มเขา้ สู่สายเชื่อมป้อนไปยังหวั เชอื่ ม ก. เปิดสวิตชเ์ ครื่องเช่ือม ข. นาลวดเชอื่ มเขา้ สู่สายเช่อื มปอ้ นไปยงั หวั เช่อื ม การเปิดสวติ ชเ์ ครอ่ื งเช่ือมและนาลวดเช่ือมเขา้ สูส่ ายเช่ือมป้ อนไปยงั หวั เช่ือม
3. ปรบั ความดนั แกส๊ ใหไ้ หลในอตั ราท่เี หมาะสมกบั งานเช่ือม การปรบั ความดนั แกส๊ ใหไ้ หลในอตั ราทเ่ี หมาะสมกบั งานเช่ือม
ขั้นตอนปฏบิ ัติเมอื่ เสรจ็ งาน ปดิ สวติ ช์เคร่อื งเช่อื มทกุ ครง้ั ทเี่ ลิกปฏบิ ตั งิ านเชอ่ื ม เก็บมว้ นสายเช่ือมให้เรียบรอ้ ย การปิดสวติ ชเ์ ครอ่ื งเช่ือม
ทาความสะอาดโต๊ะปฏิบตั งิ านเชอ่ื ม และเครอื่ งมอื เช่ือม การจดั เกบ็ และทาความสะอาดหลงั เลิกปฏบิ ตั งิ านเชื่อม
Search
Read the Text Version
- 1 - 50
Pages: