Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ 2

เชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ 2

Published by pakasit120212, 2021-06-06 06:46:33

Description: 20103-2002(บทที่7)

Search

Read the Text Version

ลขิ สทิ ธิ์เปนของบริษัท สาํ นกั พมิ พเ อมพนั ธ จาํ กัด วชิ า งานเชอ่ื มโลหะ 2 บทที่ 7 แผนที่ 1 94

เปนวิธีการทดสอบเพ่ือหาความสมบูรณค วามสามารถ ของการเชื่อม และหาคาความเหนียวของแนวเช่ือมตอชน ซึ่งจะแสดงลักษณะโดยการดัดใหเปนมุมโดยการดัดให ยดื ออก ลกั ษณะของการทดสอบการดดั งอมดี งั น้ี 1. Transverse Side-Bend เปนการทดสอบโดยกําหนดใหแนวเชื่อมตัดขวางกับ ทิศทางยาวของช้ินงาน ทดสอบ ใชสําหรับการ ทดสอบหาความหนียว ของแนวเชื่อมตอชน ที่มีความเคนขวางกับ แนวเชอ่ื ม แสดงลกั ษณะชน้ิ งานทดสอบแบบ Transverse Side-Bend ลขิ สทิ ธิ์เปนของบริษัท สาํ นกั พมิ พเ อมพนั ธ จาํ กัด วชิ า งานเชอ่ื มโลหะ 2 บทที่ 7 แผนที่ 2 95

2. Transverse Face-Bend เ ป  น ก า ร ท ด ส อ บ โ ด ย กํ า ห น ดใหแนวเช่ือมตัดขวาง ทิศทางความยาวของช้ินงาน ผิวช้ินงานดานหนาแนวเช่ือม จะเปนผิวหนาของชิ้นงานดัดงอ ใชสําหรับทดสอบชิ้นงานที่มี ความหนาไมเกิน 9.5 มิลลิเมตร ลักษณะช้ินงานทดสอบ ดังแสดงในรปู แสดงลกั ษณะชน้ิ งานทดสอบแบบ Transverse Face-Bend ลขิ สทิ ธิ์เปนของบริษัท สาํ นกั พมิ พเ อมพนั ธ จาํ กัด วชิ า งานเชอ่ื มโลหะ 2 บทที่ 7 แผนที่ 3 96

3. Transverse Root-Bend เปนการทดสอบโดยกําหนดใหแนวเชื่อมตัดกับทิศทาง แนวยาวของช้ินงาน เมื่อทําการดัดงอแลวจะทําใหกนของ แนวเช่ือมเปนผิวหนาของชิ้นงานทดสอบ ใชสําหรับทดสอบ ชิ้นงานที่มีความหนาไมเกิน 9.5 มิลลิเมตร ลักษณะช้ินงาน ทดสอบ ดงั แสดงในรปู แสดงลกั ษณะชน้ิ งานทดสอบแบบ Transverse Root-Bend ลขิ สทิ ธิ์เปนของบริษัท สาํ นกั พมิ พเ อมพนั ธ จาํ กัด วชิ า งานเชอ่ื มโลหะ 2 บทที่ 7 แผนที่ 4 97

4. Longitudinal Face-Bend เ ป  น ก า ร ท ด ส อ บ โ ด ย กํ าหนดใหแนวเช่ือมขนานกับ ทิศทางแนวยาวของชิ้นงาน เมื่อทําการทดสอบทําใหผิวหนา ของแนวเชื่อมเปนผิวหนาของชิ้นงานทดสอบ ลักษณะชิ้นงาน ทดสอบดงั แสดงในรปู แสดงลกั ษณะชิ้นงานทดสอบแบบ Longitudinal Face-Bend 5. Longitudinal Root-Bend เ ป  น ก า ร ท ด ส อ บ โ ด ย กํ าหนดใหแนวเช่ือมขนานกับ ทิศทางแนวยาวของช้ินงาน เมื่อทําการทดสอบทําใหกนของ แนวเชื่อมเปนผิวหนาของงานทดสอบ ลกั ษณะชน้ิ งานทดสอบ ดังแสดงในรปู แสดงลกั ษณะชิ้นงานทดสอบแบบ Longitudinal Root-Bend ลขิ สทิ ธิ์เปนของบริษัท สาํ นกั พมิ พเ อมพนั ธ จาํ กัด วชิ า งานเชอ่ื มโลหะ 2 บทที่ 7 แผนที่ 5 98

จ ะ ต  อ ง เ ต รี ย ม ชิ้ น ง า น ใ ห  ไ ด  ต า ม ม า ต ร ฐ า น ที่ กํ า ห น ด เพื่อใหไดผลการทดสอบที่ถูกตอง สําหรับมาตรฐานของ ASME Section IX จะกําหนดลักษณะและขนาดของชิ้นงาน ดงั แสดงในรปู ท่ี 7.6 ถงึ รปู ท่ี 7.8 รูปที่ 7.6 ลขิ สทิ ธิ์เปนของบริษัท สาํ นกั พมิ พเ อมพนั ธ จาํ กัด วชิ า งานเชอ่ื มโลหะ 2 บทที่ 7 แผนที่ 6 99

รูปที่ 7.7 รูปที่ 7.8 ลขิ สทิ ธิ์เปนของบริษัท สาํ นกั พมิ พเ อมพนั ธ จาํ กัด 100วชิ า งานเชอ่ื มโลหะ 2 บทที่ 7 แผนที่ 7

รูปที่ 7.9 แสดงการตัดเตรียมชิ้นงานสําหรับทดสอบการดัดงอ ลขิ สทิ ธิ์เปนของบริษัท สาํ นกั พมิ พเ อมพนั ธ จาํ กัด 101วชิ า งานเชอ่ื มโลหะ 2 บทที่ 7 แผนที่ 8

เคร่ืองมือท่ีใชสํ าหรับการทดสอบการดัดงอของ แนวเชื่อม จะมีพิกัดของอุปกรณตาง ๆ ข้ึนอยูกับขนาด ความหนาของชิ้นงาน ลักษณะของเคร่ืองทดสอบ ดังแสดง ในรูปที่ 7.10 รูปที่ 7.10 แสดงลักษณะเครอ่ื งทดสอบการดดั งอ ลขิ สทิ ธิ์เปนของบริษัท สาํ นกั พมิ พเ อมพนั ธ จาํ กัด 102วชิ า งานเชอ่ื มโลหะ 2 บทที่ 7 แผนที่ 9

1 นําชน้ิ งานทดสอบทเ่ี ตรยี มไวต ามมาตรฐานวางบน บา รองรบั ทง้ั สอง 2 ใหหัวกดเคลื่อนที่กดลงชิ้นงานทดสอบ จนกระทง่ั ชน้ิ งานทดสอบงอโคง มลี กั ษณะเปน รปู ตวั ยู 3 เคลื่อนหัวกดใหสูงขึ้นจากชิ้นงานที่กดอยู 4 นําชน้ิ งานทดสอบทโ่ี คง ออกมาจากเครอ่ื งทดสอบ 5 นําชน้ิ งานทไ่ี ดร บั การกดมาตรวจสอบและประเมนิ คา ของแนวเชอ่ื ม ลขิ สทิ ธิ์เปนของบริษัท สาํ นกั พมิ พเ อมพนั ธ จาํ กัด 103วชิ า งานเชอ่ื มโลหะ 2 บทที่ 7 แผนที่ 10

การทดสอบแบบ Transverse Face-Bend และ Transverse Root-Bend เหมาะสําหรับหาขอบกพรองท่ีบริเวณ ผิวหนา และกน ของแนวเชอ่ื ม การทดสอบแบบ Transverse Side-Bend เหมาะสําหรับ หาขอบกพรองภายในเนื้อโลหะเช่ือม ซ่ึงสามารถบอกถึง รายละเอียดตาง ๆ ได เชน การหลอมละลายและบริเวณ ผลกระทบจากความรอนของแนวเชื่อม การทดสอบแบบ Longitudinal Face และ Root-Bend ใชท ดสอบหาความเหนยี วของแนวเชอ่ื มทง้ั หมด ลขิ สทิ ธิ์เปนของบริษัท สาํ นกั พมิ พเ อมพนั ธ จาํ กัด 104วชิ า งานเชอ่ื มโลหะ 2 บทที่ 7 แผนที่ 11

หลักเกณฑในการพิจารณาผลการทดสอบการดัดงอ จะใชห ลกั เกณฑด งั น้ี 1 รอยแตกท่ีเกิดขึ้นบริเวณผิวโคงดานนอกของชิ้นงาน ท่ีนํามาทดสอบตองไมเกิน 1/8 น้ิว ยกเวนรอยแตก ท่ีเกิดขึ้นบริเวณมุมของช้ินงานทดสอบ แตรอยแตก ทม่ี มุ ของชน้ิ งานตอ งไมไ ดเ กดิ จากสแลก 2 ในการเชื่อมพอกเพื่อปองกันการกัดกรอน ขนาดของ รอยแตกตองไมเกิน 1/16 น้ิว ตรงบริเวณท่ี เช่ือมพอก และตองไมเกิน 1/8 น้ิว ตรงบริเวณท่ี แนวเชื่อมมาประสานกัน ลขิ สทิ ธิ์เปนของบริษัท สาํ นกั พมิ พเ อมพนั ธ จาํ กัด 105วชิ า งานเชอ่ื มโลหะ 2 บทที่ 7 แผนที่ 12


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook