โครงหลงั คา หลังคา คือส่วนท่ีคลุมอยู่บนสุดของอาคารทาหน้าที่ป้องกันแดดและฝนให้แก่ชั้นบนสุดของอาคาร โครงหลังคาแต่เดิมจะเป็นโครงไม้และต่อมาจะใช้เป็นโครงเหล็กมักมีน้าหนักเบาเน่ืองจากรับเพียง น้าหนักของวสั ดุมุงและแรงลม รปู ที่ 8.1 หลงั คาประเภทต่างๆ ประเภทของหลังคารูปแบบต่างๆ ท่ีนิยมใช้อยู่ท่ัวไป ซ่ึงหลังคาแต่ละประเภทก็มีข้อดีข้อเสียแตกต่าง กันออกไป ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้ ตามความเหมาะสม รูปแบบของหลังคาสามารถแบ่งออกเป็น รูปแบบตา่ งๆ กันได้ดงั นี้ 1) หลังคาแบน (Flat Slab) มีลักษณะแบนราบคล้ายกับเป็นพื้นจึงมักถูกใช้เป็นพื้นดาดฟ้า แต่ เน่ืองจากรับความร้อนมาก และกันแดดกันฝน ไม่ค่อยได้ จึงไม่ใคร่เหมาะกับบ้านเราสักเท่าไร แตท่ ่เี หน็ นามาใช้กันได้ก็เห็นจะเป็นอาคารตึกแถวหรืออาคารพาณิชย์สูงหลาย ชั้น และอาคารท่ี ไมเ่ นน้ ความสวยงามของรูปทรงหลังคา การกอ่ สรา้ งหลงั คาประเภทน้ีคล้ายๆ กับการก่อสร้างพ้ืน แต่มีข้อควรทาคือ ควรจะผสมน้ายากันซึม หรือควรมีวัสดุกันซึมปูทับอีกชั้นหนึ่ง ซ่ึงทาให้บน พ้ืนทห่ี ลงั คาประเภทนีข้ ้นึ ไปใช้ประโยชนไ์ ด้ 2) หลังคาเพิงหมาแหงน (Lean To) เป็นหลังคาที่ยกให้อีกด้านสูงกว่าอีกด้านหนึ่ง เพ่ือให้ สามารถระบายน้าฝนได้ เหมาะสมสาหรับบ้านขนาดเล็ก เน่ืองจากก่อสร้างง่าย รวดเร็ว ราคา CE Drawing 08 : Roof Frame By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 67
ประหยัด แต่ต้องระวังควรให้หลังคามีองศาความลาดเอียงมากพอ ที่จะระบายน้าฝนออกได้ทัน ไม่ไหลย้อนซึมกลับเข้ามาได้ โดยอาจพิจารณาร่วมกับปัจจัยอื่น เช่น ความชันจากขนาดของ หลังคา วัสดุมุงหลังคา และระยะซ้อนของหลังคา เป็นต้น ในกรณีท่ีมีโอกาสหรือความเสี่ยงที่ น้าฝนจะไหลย้อนซึมเข้ามาได้ ก็ควรใช้ความลาดชันมากข้ึนตามลาดับ เพื่อให้สามารถระบาย น้าฝนได้รวดเร็วขึ้น 3) หลังคาแบบผีเส้ือ (Butterfly) หลังคาชนิดนี้ประกอบด้วยหลังคาเพิงหมาแหงน 2 หลังหัน ด้านท่ีต่ากว่ามาชนกัน ไม่ค่อยเหมาะกับ สภาพภูมิอากาศ ท่ีฝนตกชุกแบบเมืองไทยสักเท่าไร เนอื่ งจากตอ้ งมีรางน้าทร่ี องรบั นา้ ฝนจากหลงั คาทง้ั 2 ดา้ น ทาให้รางน้ามีโอกาสร่ัวซึมได้สูง จึงไม่ เป็นทน่ี ยิ มสรา้ งกันมากนกั ยกเวน้ อาคารทต่ี ้องการลกั ษณะเฉพาะพเิ ศษท่แี ปลกตาออกไป 4) หลังคาทรงหน้าจ่ัว (Gable Roof) เป็นหลังคาท่ีเหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศร้อนช้ืนแบบ เมอื งไทยเรา มลี กั ษณะเป็นหลงั คาเพิงหมาแหงน 2 หลงั มาชนกัน มีสนั สูงตรงกลาง เป็นหลังคาท่ี มีความสะดวกในการก่อสร้าง สามารถกันแดดกันฝนได้ดี และสามารถระบายความร้อน ใต้ หลงั คาได้ดอี ีกดว้ ย 5) หลงั คาทรงป้นั หยา (Hip Roof) เป็นหลังคาที่กันแดดกันฝนได้ดีทุกๆดา้ น มีความโอ่อ่าสง่างาม แต่หลงั คาชนดิ น้ีมรี าคาแพง เนื่องจากเปลืองวสั ดุมากกว่าหลังคาชนิดอื่นๆ ตลอดจนต้องใช้ช่างที่ มีฝมี อื พอสมควรในการก่อสร้าง เพราะมรี ายละเอียดเยอะกวา่ หลงั คาชนดิ อ่นื ๆ 6) หลังคาแบบร่วมสมัย (Modern& Contemporary) เป็นหลังคาที่มีรูปทรงทันสมัย แตกต่าง จาก 5 แบบข้างตน้ และใช้วัสดุที่ทันสมัย ก่อให้เกิดรูปทรงแปลกตา แต่ต้องระวังเรื่องความร้อน และการรวั่ ซมึ ส่วนประกอบของหลงั คา CE Drawing 08 : Roof Frame By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 68
1) อะเส คือสว่ นของโครงหลงั คาทว่ี างพาดอย่บู นหัวเสา ลักษณะคลา้ ยๆคาน ทาหน้าที่ยึดและรัดหัวเสา และ ยงั ทาหนา้ ทร่ี บั แรงจาก โครงหลังคาถ่ายลง สู่เสาอกี ดว้ ย โดยทวั่ ไปแลว้ ในการวางอะแส มักจะวางทางด้าน รมิ นอกของเสา และวางเฉพาะด้านที่มีความลาดเอียงของหลังคา ดังนั้นหลังคามะนิลา (Gable Roof) จะ มีอะเสหลักเพยี ง 2 ดา้ นในขณะทห่ี ลงั คาปั้นหยา (Hip Roof) จะมีอะเสหลกั 4 ดา้ น 2) ขื่อ คือส่วนของโครงสร้างท่ีว่าอยู่บนหัวเสาในทิศทางเดียวกัน กับจันทันทาหน้าที่รับทั้งแรงดึงและยึดหัว เสา ในแนวคานสกดั และช่วยยดึ โครงผนัง 3) ด้ังเอก คือส่วนของโครงสร้างที่อยู่ในแนวสันหลังคา โดยวางอยู่บนขื่อตัวฉากตรงขึ้นไป โดยมีอกไก่วาง พาดตามแนวสนั หลงั คาเป็นตวั ยึด 4) อกไก่ คอื ส่วนของโครงสรา้ งที่วางพาดอยู่บนด้งั บริเวณสนั หลังคา ทาหน้าทรี่ ับจนั ทัน 5) จันทนั คือสวนของโครงสรา้ งที่วางอย่บู นหัวเสา โดยวางพาดอยูบ่ นอะเสและอกไก่รองรบั แป หรือระแนงที่ รบั กระเบ้ืองมุงหลังคา จันทนั ยงั แบ่งเปน็ จันทันเอกคือ จันทนั ทว่ี างอยบู่ นหวั เสาและจันทันท่ีมิได้วางพาด อยู่บนหัวเสา โดยท่ัวไปจันทันจะวางทุกระยะประมาณ 1.00 ม. โดยระยะห่างของจันทัน ขึ้นอยู่กับ น้าหนักของวัสดุมุงหลังคาและระยะแปด้วย 6) แปหรือระแนง คือส่วนของโครงสร้างที่วางอยู่บนจันทัน รองรับวัสดุมุงหลังคาประเภทต่างๆ โดยวาง ขนานกับแนวอกไก่ เร่มิ จากส่วนท่ตี ่าสดุ ไปสสู่ ่วนทีส่ ูงสุดของหลงั คา 7) เชิงชาย คือส่วนของโครงสร้างที่ปิดอยู่บริเวณปลายจันทัน เพ่ือปกปิดความไม่เรียบร้อยของปลายจันทัน อกี ทงั้ ยงั เป็นส่วนที่ใชย้ ดึ เหล็ก รับรางนา้ และยงั ทาหน้าท่ีเป็นแผ่นปิดด้านสกัดของจันทันท่ีช่วยกันมิให้ฝน สาดย้อนกลับ ด้วย 8) ปั้นลม คือส่วนของโครงสร้างที่ปิดไม่ให้เห็นสันกระเบื้องทางด้านหน้าจ่ัว และปิดหัวแป จะใช้กับอาคาร ประเภทมหี น้าจ่วั เท่าน้ัน CE Drawing 08 : Roof Frame By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 69
9) ไม้ปิดลอน หรือไม้เซาะตามลอนกระเบื้อง เป็นไม้ท่ีมีลักษณะโค้งตามขนาดลอนของวัสดุมุงหลังคา เพ่ือ ปิดชอ่ งวา่ งระหว่าง ปลายกระเบือ้ ง กับเชิงชายกันนกและแมลงเล็ดลอดเข้าไปก่อความราคาญในบ้าน 10) ตะเฆ่สัน จะอยู่บริเวณครอบมุมหลังคา ที่ความลาดเอียง 2 ด้านมาบรรจบกัน โดยหันหน้าออกจากกัน โดยมีครอบกระเบื้องและวสั ดมุ ุงอกี ที 11) ตะเฆร่ าง เป็นสว่ นท่คี วามลาดเอียงของหลังคาสองด้านมาชนกันเป็นราง ซึ่งบริเวณส่วนน้ีจาเป็นจะต้องมี รางนา้ เพื่อระบายนา้ ออกจาก หลังคา หลังคาทรงหน้าจัว่ (Gable Roof) เป็นรปู แบบหลังคาท่เี รียบง่ายซึง่ มผี วิ หลงั คาลาดเอียงลงจากแนวสนั หลงั คาท่ีก่งึ กลางอาคารดว้ ยมมุ ลาดเอียงเท่ากนั แบบแปลนของหลังคาทรงจั่วจะแสดงจันทันในทิศทางต้ังฉากจากอกไก่ที่สันหลังคา โดยมีเสา รับจันทันเอก และอะเสรับจันทันพราง โดยปกติจันทันจะวางห่างกัน 1.00 เมตร และแปจะวางใน CE Drawing 08 : Roof Frame By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 70
ทศิ ทางท่ีตัง้ ฉากกบั จันทนั โดยมรี ะยะห่างตามชนิดของวสั ดมุ งุ เชน่ ถ้าเป็นกระเบื้องซีแพ็คโมเนีย แปจะ วางห่างกัน 0.30 ม. แตถ่ า้ เป็นกระเบื้องลอนคู่ จะวางห่างกัน 1.00 ม. 100x50x2.3mm 100x50x2.3mm 100x50x2.3mm @ 1.00 m 25x25x1.6mm @ 0.30 m หลังคาทรงปัน้ หยา (Hip Roof) เป็นรปู แบบหลงั คาที่มักนิยมสาหรบั บ้านพักอาศัยโดยมีความซับซ้อนมากขึ้นคือ นอกจากหลังคาลาด เอยี งลงจากแนวสันหลังคาทก่ี ่ึงกลางอาคารแลว้ ยังตดั มมุ หัวทา้ ยของหลังคาใหล้ าดเอียงเชน่ กัน ในรูปแปลนซึ่งเป็นมุมมองจากด้านบน แปลนหลังคาปั้นหยาจะมีลักษณะดังในรูปข้างล่างคือ สันหลังคา “อกไก่” ท่ีกึ่งกลางจะไม่ยาวตลอดทั้งแนว และจะมีสันหลังคาเอียงซ่ึงเกิดจากการตัดมุม เรียกว่า “ตะเฆ่สัน” เอียงทามุม 45o จากมุมฉากทั้ง 4 ด้านเข้ามาบรรจบกับอกไก่ท่ีก่ึงกลาง บนแต่ ละผิวหลังคาจะเขียนลูกศรแสดงทศิ ทางของความลาดเอยี ง และบอกมุมเอยี งกากับไว้ CE Drawing 08 : Roof Frame By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 71
45o SLOPE 45o 45o 45o SLOPE SLOPE 45o SLOPE 45o 45o 45o ที่จุดบรรจบของอกไก่และตะเฆ่สันจะต้องมีเสาสั้นหรือ “ด้ัง” มารองรับ และเสา คานหรือ ผนังมารองรบั ดัง้ อกี ทหี นึ่ง ดงั แสดงในรปู ขา้ งลา่ ง แบบแปลนของหลังคาปั้นหยาจะมีลักษณะดังในรูปคือมีจันทันและแปท้ัง 4 ทิศทางโดยรอบ ตะเฆ่สนั วางเอียงทามมุ 45o ออกจากมมุ ทง้ั สี่มาบรรจบกบั อกไก่ท่ีก่ึงกลาง 100x50x2.3mm A 100x50x2.3mm 100x50x2.3mm 100x50x2.3mm @ 1.00 m 25x25x1.6mm @ 0.30 m A รูปตัด A-A ดา้ นข้างแสดงการรองรับอกไก่และตะเฆ่สันของหลังคาโดยดัง้ CE Drawing 08 : Roof Frame By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 72
50x50x2.3mm 100x50x2.3mm 100x50x2.3mm @ 1.00 m 100x50x2.3mm 150x50x2.3mm A ROOF SECTION SCALE 1:20 หลังคาปัน้ หยาเปิดจ่ัว (Dutch Hip Roof) เป็นรูปแบบผสมของหลังคาแบบปั้นหยาและแบบจ่ัว คือด้านล่างเป็นแบบป้ันหยาแต่ส่วนบนเป็น แบบจว่ั ทาให้มีความสวยงามและระบายอากาศไดด้ ี A 100x50x2.3mm 100x50x2.3mm A 100x50x2.3mm CE Drawing 08 : Roof Frame 100x50x2.3mm @ 1.00 m 25x25x1.6mm @ 0.30 m By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 73
50x50x2.3mm 100x50x2.3mm 100x50x2.3mm @ 1.00 m 100x50x2.3mm 150x50x2.3mm A ROOF SECTION SCALE 1:20 หลังคารูปตวั L หรอื ตวั T เป็นหลังคาท่ีมีความซับซ้อนมากขึ้นโดยมีหลังคาจากสองทิศทางมาบรรจบกัน จะเกิดมีร่องที่รอยต่อ หลังคา เรียกว่า “ตะเฆ่ราง” มีหน้าที่รับจันทันจากท้ังสองทิศทางเช่นเดียวกับตะเฆ่สัน ที่จุดต่อ ระหว่างอกไกข่ องท้งั สองทิศทางจะมดี งั้ มารองรับ อย่างไรก็ตามหลังคาบ้านพักอาศัยท่ีทากันอยู่อาจจะมีความซับซ้อนมากกว่านี้ตามการ ออกแบบทางด้านสถาปัตยกรรม ในการเขียนแบบให้ยึดตามหน้าของหลังคา โดยแปอยู่ในแนวนอน จะวางเรียงขน้ึ ไปตามความลาดเอียงหลังคา จันทันจะเอียงลงมาต้ังฉากกับแปเพ่ือเป็นจุด รองรับให้แก่แป ที่รอยต่อระหว่างหน้าหลังคาจะ เปน็ ตะเฆ่สนั หรือตะเฆ่ราง จากน้ันที่จุดบรรจบจะมี ดง้ั เพ่อื เปน็ จุดรองรบั ของหลงั คา ในหลังคาทมี่ ีช่วงยาวมากอาจต้องเปล่ียนบาง จันทันเปน็ โครงถักเข้ามาผสมผสานซ่ึงจะกล่าวถึงใน บทตอ่ ไป CE Drawing 08 : Roof Frame By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 74
150x50x2.3mm 150x50x2.3mm 100x50x2.3mm @ 1.00 m 25x25x1.6mm @ 0.30 m 100x50x2.3mm 100x50x2.3mm ในหลงั คาท่มี ีความซบั ซ้อน บางคร้งั อาจมกี ารระบตุ าแหนง่ ของด้ังรองรับ และอาจมผี งั คานที่ ระดับหัวเสาเพ่ือรองรับหลังคา CE Drawing 08 : Roof Frame By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 75
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: