90 (2) เคร่ืองมอื ประกอบแบบเสา ประกอบด้วย ค้อนปอนด์ 8 ปอนด์ ,ค้อนหงอน , ดินสอช่างไม้ ,ตลับเมตร ,มีดพร้า ,เล่ือยลันดา ,เลื่อยไฟฟ้า ,เทปวัดระยะ ,ฉาก ,ลูกดิ่ง สายยางระดับ ,เชอื กเอ็น 2) การสร้างแบบเสา เปน็ การนาแบบไมป้ ระกอบกับไม้เคร่า และเพลาะแบบไม้ให้ได้ ขนาดความกวา้ งทตี่ ้องการ ดังนี้ (1) นาไม้เคร่า11 3 0.45 เมตร มาบากบ่า 2 ให้บ่าไม้ท้ังสองข้างห่างกัน 2 0.25 เมตร (2) นาไม้แบบขนาด 8\"และ 10\" มาตีประกอบกับไม้เคร่า วัดระยะจากตีนไม้ แบบ 0.05 เมตร นาไม้เคร่ามาตียึดไม้แบบ และวัดระยะห่างไม้เคร่าแต่ละตัวห่างกัน 0.50 เมตร กาหนดให้ไม้แบบ 8\" ตีไม้เคร่าให้บ่าไม้ที่บากคว่าลง และไม้แบบ 10\" ตีไม้เคร่าให้บ่าไม้ที่บากหงาย ขึ้น ดงั ภาพท่ี 5.5 และทาลม่ิ เพ่ือใช้ในการประกอบตดิ ต้ังแบบหลอ่
91 ภาพท่ี 5.5 แสดงแบบ การประกอบไม้แบบเสา 3) การประกอบแบบและตั้งแบบ ประกอบแบบ 2 ชุดๆละ 2 แผ่น ให้ชุดที่มีเคร่า ท่ีบากบ่าหงายขึ้นอยู่ฝั่งตรงข้ามกัน แล้วนาแบบชุดที่บ่าที่บากคว่าลงมาประกบ และนาลิ่มสอดตาม ร่องบา่ ทบี่ ากไว้มมุ ละ 2 ตวั เร่ง อดั ลม่ิ ให้แนน่ และตอกตะปูเพือ่ บงั คบั ในชว่ งระหวา่ งไม้เคร่าให้ติดแบบ การติดต้งั ไมแ้ บบดาเนินการดงั น้ี (1) หาศูนย์กลางเสา โดยใช้แนวผังช่วยทิ้งด่ิงริมเสาจากผังทั้งสองแนวและวัดสอบ ระยะจากรมิ เสาเข้าหาศนู ยก์ ลางเสา ขดี เสน้ ผา่ ศูนย์กลางเสาทุกต้น และลากเส้นเลยออกมาที่ข้างแบบ คานหรือบนหลงั คาน (2) แบ่งคร่ึงไม้แบบ คือไม้แบบเสากว้าง 0.20 เมตรแบ่งคร่ึงไม้แบบคือ 0.10 เมตร ท้ัง 4 ด้านของไมแ้ บบ
92 (3) วางไม้แบบในตาแหน่ง นาไม้แบบที่ประกบไว้แล้ว มาประกอบติดตั้งบน คาน ให้ตาแหน่งศูนย์กลางเสา ตรงกับเส้นแบ่งครึ่งไม้แบบ นาไม้รัดตีนแบบตียึดไม้แบบกับคาน คอนกรตี (4) การยึดแบบเสา เมื่อยึดตีนไม้แบบได้ตาแหน่งศูนย์กลางแล้ว ใช้ไม้หลักเสี้ยม ปลายแหลม ตีห่างจากแบบเสาประมาณ 2.00 เมตร และตอกอีกหลักหน่ึงให้ทาเป็นมุมฉากกับหลัก แรก แลว้ ใชไ้ มย้ ดึ ตีนแบบกับไม้แบบใหแ้ นน่ ทง้ั สองหลกั (5) หาด่ิงไม้แบบเสา จากยึดตีนแบบแล้วให้ใช้ลูกด่ิงมาท้ิงด่ิงจากปากแบบลงมา ท่ีตีนแบบ ระยะเส้นด่ิงปากแบบให้เท่ากับตีนแบบ ใช้ไม้เคร่าค้าแบบตอนบนตียึดกับหลักและเริ่มหา ดิ่งเสาอีกด้านหนึ่งให้ได้ดิ่งและตียึดไม้เคร่าค้าแบบตอนบนตียึดกับหลัก ประกอบไม้แบบเสาให้ครบ ท้งั 4 ตน้ (6) ใช้ไม้เคร่ายาว 4.00-4.50 เมตร ตีประกับข้างเสาทั้ง 2 ข้าง ให้ต่ากว่าหัว เสาประมาณ 0.50-0.70 เมตรเรียกไม้รัดปากแบบรัดโดยรอบเป็นการช่วยยึดปลายแบบเสาทั้ง 4 ต้น เอาไว้ และให้ผู้ทีเ่ ทคอนกรตี ขน้ึ ไปยนื บนไม้เคร่ารดั ปากแบบ เพ่อื เทคอนกรีตเสาได้สะดวก ดงั ภาพท่ี 5.6 ภาพท่ี 5.6 แสดงแบบ การตั้งแบบเสาและการรัดปากแบบ
93 5.1.3 งานเทคอนกรีต ผู้ท่ีปฏิบัติงานต้องมีความเข้าใจและมีความชานาญการ จึงจะได้งานที่ เรยี บร้อย และมีความแข็งแรง จะต้องปฏิบัติงานตามขั้นตอน และควบคุมให้คอนกรีตเทลงแบบอย่าง ทวั่ ถงึ และเปน็ คอนกรีตที่ดไี ม่แยกตัว ตามลาดบั ดังน้ี 1) การถ่ายระดับหัวเสา ให้ถ่ายระดับจากดินเดิม มาไว้ที่ไม้แบบเสา แล้ววัดระยะจาก ระดับดินเดิมถึงระยะระดับใต้ท้องคานที่ปากแบบ ใช้ตะปูตอกตรงตาแหน่งระดับให้ทะลุเข้าไปในไม้ แบบเสาด้านใน เพื่อเป็นระดับในแบบหล่อ และใช้สายยางระดับถ่ายระดับไปยังเสาต้นอ่ืนๆ ต่อไป ครบ ทุกต้น 2) ราดน้าและน้าปูนทราย ให้ราดน้าสะอาดในแบบเสาทุกต้น เพื่อล้างเศษดิน ส่ิงสกปรก ออก จากหน้าคอนกรีตโคนเสา และทาให้ไม้แบบชุ่มน้า เพื่อป้องกันไม้แบบดูดซึมน้าจากคอนกรีต จะช่วยให้ การเทคอนกรตี ไดง้ ่าย นานา้ ปนู ทรายอัตราส่วนผสม 1:2 ผสมเหลว ๆ เทลงไปในแบบหล่อเพื่อเป็นการ อุดรอยตอ่ แบบเสาตอนตีนแบบ ประสานรอยต่อคอนกรีตคานกบั เสาเข้าดว้ ยกัน 3) การผสมคอนกรีต คอนกรีตท่ีใช้กับงานเทเสา ตามมาตรฐานท่ีกาหนดจะใช้คอนกรีต ในอัตราสว่ นผสม 1:2:3 ส่วนความขน้ เหลวของคอนกรีต ค่าการยุบตัวคอนกรีตไม่เกิน 5 เซนติเมตร ถ้า ค่าความยบุ ตัวเยอะกวา่ นค้ี อนกรตี จะเหลวและรบั กาลงั ไดไ้ ม่ดี 4) การเทคอนกรีต นาไม้แผ่นพาดใกล้ๆเสาบนไม้รัดปากแบบ ใช้สังกะสีมาทาเป็นราง ปากแบบเสา เพ่ือเทคอนกรีตลงราง พยายามเทคอนกรีตให้คอนกรีตกระทบแบบ และเหล็กน้อยท่ีสุด เพราะจะทาให้คอนกรีตเกิดการแยกตัว (การแยกตัวของคอนกรีตคือ วัสดุผสมคละของคอนกรีต แยกตวั ออกจากส่วนผสม จะทาใหค้ อนกรตี ทเ่ี ทเป็นช้ัน หิน ทราย และปูนซิเมนต์) และควรใช้เหล็ก Ø 12 มิลลเิ มตร กระทุ้งคอนกรีต ใหร้ อบๆแบบเสาไม่ควรกระทุ้งซ้าที่เดิม เมื่อเทคอนกรีตถึงปากแบบถ้ามีน้า ปนู ลอยหน้ามาก ใหต้ กั ออกแล้วนาเนือ้ คอนกรีตใหม่ใส่ลงแทน ให้ได้ระดับท่ีทาไว้ 5.1.4 งานถอดแบบหล่อคอนกรีต หลังเทคอนกรีตเสร็จแล้ว ให้ทิ้งแบบไว้ 2 วัน นาน้ามาราด คอนกรีตและไม้แบบให้ชุ่มทั้งแบบ การถอดแบบให้เริ่มค่อยๆ ถอนตะปูข้างๆแบบท้ัง 4 มุมออกก่อน คลายล่ิมรอบๆ และค่อยๆ งัดไม้ยึดแบบออกจากข้างบนลงข้างล่างออก เคาะค่อยๆ แบบก็จะหลุดจาก คอนกรีต ต้องให้เสาคอนกรีตได้รับการกระทบกระเทือนน้อยที่สุด และจะไม่ใช้ชะแลงหรือไม้งัดแบบ แรงๆ เพราะจะทาให้โคนเสาคอนกรตี รา้ วได้ 5.1.5 งานบ่มคอนกรีต เมื่อถอดแบบแล้ว ต้องรีบทาการบ่มคอนกรีตทันที โดยการนา กระสอบปอป่าน มาคลุมหุ้มเสาผูกกระสอบติดเสา ควรรดน้าให้ชุ่มตลอดเวลา 7 วัน เป็นอย่าง น้อยหรือบ่มคอนกรตี ได้นานถึง 21 วนั ได้เป็นดี 5.2 งานคานคอนกรตี เสริมเหลก็ งานคานคอนกรตี เสริมเหล็ก เป็นงานท่ีต้องเริ่มจากงานไม้แบบรับท้องคานก่อน ตามด้วยการผูก เหล็กเสริมคาน ประกอบติดตั้งไม้แบบข้างคานและเทคอนกรีต ถอดแบบและบ่มคอนกรีตที่มีข้ันตอนการ ปฏิบัตงิ านดังนี้ 5.2.1 การต้ังไมแ้ บบคานชั้นบน เป็นการทางานในทีส่ งู ตอ้ งทาโครงรับแบบท้องคาน และ นง่ั ร้านผกู เหล็กและเทคอนกรีต การทาไมต้ ุ๊กตารบั ท้องแบบมีขน้ั ตอนดงั นี้
94 จากแบบแปลน คานคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ขนาด 0.20 0.35 เมตร 1) การเตรยี มไม้แบบและเคร่ืองมือ (1) การเตรยี มไม้ - ไมต้ กุ๊ ตา 11 3 3.00 เมตร (วางระยะหา่ ง 0.75 เมตร) 7 ท่อน 2 - ไม้คาดหัวตุ๊กตา 11 3 1.00 เมตร 7 ท่อน 2 - ไมค้ า้ ยัน 11 3 1.00 เมตร 14 ท่อน 2 - หลักเสยี่ มปลาย 11 3 1.00 เมตร 3 ทอ่ น 2 - ไม้เคร่าประกับเสาตุ๊กตา 11 3 3.00 เมตร 2 ท่อน 2 - ไมแ้ บบ1\" 8\" ยาว 3.00 ม 5 แผ่น - ไม้เคร่าเพลาะแบบ 11 3 0.50 เมตร 14 ทอ่ น 2 - ไมบ้ งั คับแบบกบั ไมส้ ะพานบงั คบั แบบ 11 3 3.00 เมตร6 ทอ่ น 2 - ไม้รัดปากแบบ 1\" 1\" ยาว 0.50 เมตร 7 ท่อน - ตะปู 2\", 3\" (2) เครอื่ งมือประกอบแบบคาน ประกอบดว้ ย คอ้ นปอนด์ 8 ปอนด์ ,ค้อนหงอน ,ดินสอชา่ งไม้ ,ตลบั เมตร ,มดี พร้า ,เล่อื ยลนั ดา ,เลอ่ื ยไฟฟา้ ,เทปวดั ระยะ ,ฉาก ,ลกู ดิ่ง ,สายยางระดบั ,เชือกเอน็ 2) การประกอบไม้ตกุ๊ ตาและตดิ ตัง้ (1) นาไม้คาดหัวตุ๊กตามาวาง กับพ้ืนราบ ไม้ตุ๊กตาวางตรงกลางไม้คาดหัวตุ๊กตา ให้ได้ ฉากกนั แล้วตีตะปู 3\" สกั 2 ตัวยดึ ไมเ้ ป็นรปู ตัวที (2) ไม้ค้ายัน ะตอกจากปลายไม้คาดหัวมาทาบกับไม้ตุ๊กตา ตอกตะปูหัวละ 2 ตัว การค้ายัน จะทาท่ปี ลายไม้คาดหวั ทัง้ สองปลายสลับไมส้ ้ัน ไม้ยาวและต้องจับฉากตอนมมุ ไมค้ าดหัวกับไม้ต๊กุ ตา (3) ใช้สายยางระดับถ่ายระดับท้องคาน ขึงเชือกเอ็นระดับจากหัวเสาถึงหัวเสาแล้วนาไม้ ตุ๊กตามาประกอบติดตั้งข้างเสาคอนกรีตทั้งสองข้างหัวท้าย ให้ไม้รัดหัวตุ๊กตาต่ากว่าเชือกระดับ 0.025 เมตร (เพื่อวางไม้แบบท้องคาน) และวางไม้ตุ๊กตาช่วงกลางให้มีระยะห่างกันประมาณ 0.75 เมตร ใช้ไม้เคร่าตีประกบไม้ตุ๊กตา (เพื่อกันการโก่งเสาตุ๊กตา) ตอกตะปูตียึดไม้ตุ๊กตาให้แน่น ดังภาพ ท่ี 5.7
95 ภาพที่ 5.7 แสดงแบบ การตั้งเสาตกุ๊ ตาตอนหวั เสา (4) วางไม้แบบทอ้ งคาน ใช้เชือกเอ็นขึงแนวแบบท้องคาน นาไม้แบบท้องคานวางลงบนไม้ คาดหัวตุ๊กตาตามแนวเชือกเอ็น ตอกตะปู 2\" จานวน 2 ตัวยึด ทุกไม้คาดหัวตุ๊กตา และนาไม้สะพาน บงั คบั แบบตีติดปลายไมร้ ดั หัวตุ๊กตาทัง้ สองปลายตลอดแนวคาน (5) การติดตั้งไม้แบบขา้ งและการยึด หลงั จากการผูกเหล็กเสริมคานและผูกลูกปูนแล้ว ยก แบบข้างข้ึนประกอบติดตั้ง ตีตะปูยึดแบบข้างกับแบบท้องคานใช้ไม้บังคับตีนแบบตียึดไม้รัดหัวตุ๊กตา จดั แบบขา้ งใหไ้ ดแ้ นวดง่ิ แลว้ ตียึดไม้แบบข้างดว้ ยไมย้ นั แบบ ประกอบแบบข้างส่วนที่เหลือ และยึดด้วย ไม้รดั ปากแบบ ใช้สายยางระดับถ่ายระดับหลงั คาน ตตี ะปูใหค้ ่าระดับไวท้ ี่แบบข้าง 5.2.2 งานเหล็กเสริมคาน จากแบบแปลนคาน และจากแบบรูปตัด รูปขยายคานเป็นคาน คอนกรีตเสริมเหล็กหน้าตัด 0.200.35 เมตรใช้เหล็กเสริมแกนบน Ø 9 มิลลิเมตรจานวน2 เส้น คอม้า Ø12 มิลลิเมตร จานวน 1 เส้น เหล็กเสริมแกนล่าง Ø 12 มิลลิเมตรจานวน 2 เส้น เหล็กปลอก เสา Ø 6 มิลลิเมตร @ 0.15 เมตร ซง่ึ จะตอ้ งปฏิบัติงานดงั น้ี
96 1) งานเหลก็ เสรมิ เสาคอนกรตี ใช้เหล็กเสริมคาน 3 ชนิดคือ เหล็กแกนบนใช้เหล็กเสริม Ø 9 มิลลิเมตร จานวน 2 เส้น คอม้า Ø 12 มิลลิเมตร จานวน 1เส้น เหล็กเสริมแกนล่างØ 12 มิลลิเมตร จานวน 2 เส้น งอขอหัวท้าย ปลายเหล็ก (ความยาวเทา่ กับความยาวของชว่ งคาน) 2) เหลก็ ปลอกคาน ใช้ เหลก็ Ø 6 มิลลิเมตร @ 0.15 เมตร (1) หาจานวนเหลก็ ปลอกคาน คานยาว 3.40 เมตร ความยาวคาน จานวนเหล็กปลอก = ระยะห่างเหลก็ ปลอก + 1 3.40 +1 = 0.15 = 22.66 + 1 ใชเ้ หลก็ จานวน = 24 ปลอกต่อคาน 1 ชว่ ง (2) หาความยาวเหล็กปลอก = 2(A + B) + 10 เซนติเมตร = 2(0.15 + 0.30) + 10 ความยาวปลอก = 1.00 เมตรต่อเหลก็ ปลอก 1 ปลอก เมอื่ A เทา่ กบั ระยะกว้างปลอก ดา้ นหน่ึง B เทา่ กับระยะกว้างปลอกอกี ด้านหน่ึง เผอื่ ระยะการงอปลายเหลก็ ปลอก 10 เซนติเมตร 3) การดัดเหลก็ จากการเตรียมเหล็กเสรมิ โดยตดั เหล็กตามความยาวและตามจานวนที่ทาการ ประมาณการ นาเหล็กมาดดั ตามแบบที่กาหนด ดังน้ี (1) เหล็กเสริมคานประกอบด้วย เหล็กเสริมแกนบนเหล็กเสริมคอม้า และเหล็ก เสริมแกนลา่ ง การดัดเหลก็ เสริมปฏิบัติดงั ภาพท่ี 5.8, ภาพที่ 5.9 ภาพที่ 5.8 แสดงแบบ การดัดเหล็กเสริมแกน และเหล็กคอม้า
97 ภาพที่ 5.9 แสดงแบบ เหล็กเสรมิ แกนบน แกนลา่ ง และเหลก็ คอม้า 4) การผูกเหล็กเสรมิ คาน เหลก็ เสรมิ คานมีลักษณะยาว มีน้าหนักพอสมควร การประกอบ ผกู เหลก็ เสริมคาน จึงต้องผูกประกอบเหล็กเสริมคานในท่ี การผูกเหล็กเสริมคาน ในที่เป็นการทางานใน ที่สูง มีความยากในการทางาน การวางเหล็กเสริมแกนและสอดเหล็กปลอกเข้าด้วยกัน นาเหล็กเสริม แกนวางตามแนวคาน สอดเหล็กปอกตามจานวนที่คานวณหาไว้ มาสอดกับเหล็กเสริมแกน เร่ิมผูก เหล็กปลอกกับเหลก็ แกนบน ใหเ้ หล็กปลอกมรี ะยะห่างกนั 0.15 มิลลิเมตร และจดั เหล็กปลอกให้ได้ดิ่ง จงึ ผกู เหลก็ เสรมิ แกนล่างกับเหล็กเสริมคอม้า จนครบทกุ จุดใหแ้ น่น 5.2.3 งานเทคอนกรีต ผู้ที่ปฏิบัติงานเทคานคอนกรีต ต้องมีความเข้าใจและมีความชานาญ การ จะต้องปฏิบัตงิ านตามข้นั ตอน และควบคุมให้คอนกรีตเทลงแบบอย่างทั่วถึงและเป็นคอนกรีตที่ดี ไมแ่ ยกตวั ตามลาดับดังน้ี 1) ตรวจแบบและเหล็กเสรมิ ใหถ้ กู ต้องตามแบบทกี่ าหนด เก็บเศษลวด ข้ีเลื่อย สิ่งสกปรก ออกจากแบบหล่อ ดูรอยต่อแบบและรอยต่อหัวเสาไม่ให้มีรอยรั่ว หากแบบ หล่อรั่ว ต้องทาการอุด แบบให้เรยี บร้อย และตรวจสอบระดบั หลงั คานให้ถูกตอ้ ง 2) ราดนา้ และน้าปูนทราย ให้ราดนา้ สะอาดในแบบคาน ทาให้ไม้แบบชุ่มน้า เพื่อป้องกัน ไม้แบบดูดซึมน้าจากคอนกรีต จะช่วยให้การเทคอนกรีตและถอดแบบได้ง่าย นาน้าปูนทรายอัตรา ส่วนผสม 1:2 ผสมเหลวๆ เทลงไปในแบบหล่อคาน เพ่ือเป็นการอุดรอยรั่วจากการต่อไม้แบบ ประสานรอยต่อคอนกรตี คานกบั คอนกรตี เสาด้วย 3) การผสมคอนกรตี คอนกรีตทีใ่ ช้กบั งานเทคาน ตามกาหนดจะใชค้ อนกรตี ในอัตรา สว่ นผสม 1:2:3 ทเี่ ปน็ อตั ราส่วนผสมของคอนกรีตโครงสร้าง
98 4) การเทคอนกรีต ควรเริ่มจากมุมคาน เมื่อเทคอนกรีตลงแบบแล้ว ให้ทาการกระทุ้ง คอนกรตี เพ่อื ให้คอนกรตี แน่นตวั เทคอนกรีตเตม็ มุมแล้ว ให้เทคอนกรีตให้ต่อเน่ืองไปจนเต็มคาน การ กระทงุ้ คอนกรีต ควรกระท้งุ ให้กระจายทวั่ หน้าคอนกรีตไม่ควรกระทุ้งอยู่ที่เดียว ปาดหน้าปูนคอนกรีต ได้ระดบั แล้วหากหนา้ คานตา่ กว่าระดบั ให้ใชป้ ูนทรายปรับแต่งให้ได้ระดับ และคลุมหน้าคอนกรีตด้วย ถงุ ปนู ตอ่ 1 วนั เพื่อเป็นการควบคมุ อณุ หภูมิของคอนกรตี 5.2.4 งานถอดแบบหล่อคอนกรีต หลังเทคอนกรีตเสร็จแล้ว ให้ทิ้งคอนกรีตให้แข็งในแบบโดย ปกตจิ ะใชเ้ วลา 2 วันจึงทาการถอดแบบ นานา้ มาราดคอนกรีตและไม้แบบให้ชุ่มท้ังแบบ การถอดแบบ ให้เร่ิมค่อยๆ ถอดไม้ค้ายันข้างแบบออก เคาะแบบข้างคานเบาๆ แบบก็จะหลุดออกมา สาหรับแบบ ท้องคานยังคงต้องทิ้งไว้อีก 7 วัน เป็นอย่างน้อย เมื่อครบกาหนดถอดแบบท้องคานออกแล้วให้ใช้ไม้ ค้ากลางคานต่อไปอีก 28 วัน (ปกติแบบท้องคานจะท้ิงไว้ 14 วัน) จึงค่อยทาการถอดไม้ตุ๊กตา และ แบบท้องคานออกได้ 5.2.5 งานบ่มคอนกรีต เมื่อถอดแบบต้องทาการบ่มคอนกรีตทันที ให้นากระสอบมาคลุมหุ้ม ให้รอบคานคอนกรีต และฉีดน้ารดให้ชุ่มตลอดเวลา 7 วัน เป็นอย่างน้อย หรือทาการบ่ม คอนกรีต ได้นานถึง 21 วันได้เป็นดี จะได้คานคอนกรีตที่มีความแข็งแรง ควรจัดคนงานให้มีหน้าท่ี รดนา้ บ่มคอนกรีต ให้กระสอบชุ่มน้าตลอดเวลาท่ีทาการบม่ 5.3 งานพ้ืนคอนกรีตเสริมเหลก็ งานพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก เป็นงานที่ต้องเริ่มจากงานไม้แบบพื้นหรือทาแบบพร้อมแบบ คาน และผกู เหล็กเสรมิ พ้ืน ประกอบติดต้ังไม้แบบข้างคานและเทคอนกรีต ถอดแบบและบ่มคอนกรีต ที่มีขั้นตอนการปฏบิ ตั งิ านดังน้ี 5.3.1 การต้ังไม้แบบพ้ืนและคาน เป็นลักษณะการทางานในที่สูง ต้องทาโครงรับแบบพื้นและ คาน นั่งร้านผูกเหล็กและเทคอนกรีต โดยทาเป็นไม้ตุ๊กตารับท้องแบบ มีขั้นตอนดังน้ี จากแบบแปลน คาน พ้ืนคอนกรตี เสรมิ เหล็ก 1) การเตรยี มไมแ้ บบและเคร่อื งมือ (1) การเตรียมไม้ - ไม้ตุ๊กตา 11 3 3.00 เมตร (วางระยะหา่ ง 0.75 เมตร) 2 - ไม้คาดหัวตุก๊ ตา 11 3 1.00 เมตร 2 - ไมค้ ้ายนั 11 3 0.70 – 1.00 เมตร 2 - หลกั เสย่ี มปลาย 11 3 1.00 เมตร 3 ทอ่ น 2 - ไม้เครา่ ประกบั เสาต๊กุ ตา 11 3 3.00 เมตร 2 - ไม้แบบ 1\" 8\" ยาว 3.00 ม
99 - ไมเ้ ครา่ เพลาะแบบ 1 3 0.50 เมตร 1 2 - ไม้บงั คับแบบกับไมส้ ะพานบังคับแบบ 11 3 3.00 เมตร 2 - ไม้รดั ปากแบบ 1\" 1\" ยาว 0.50 เมตร - ตะปู 2\", 3\" (2) เคร่ืองมือประกอบแบบพน้ื ใชเ้ คร่ืองมือชุดเดียวกับการประกอบแบบคาน 2) การประกอบแบบพ้นื ใช้สายยางระดับถ่ายระดับท้องพ้ืน ข้างไม้แบบคาน ขึงเชือกเอ็นระดับท้องพน้ื คอนกรีต นาไมต้ ุ๊กตามาประกอบติดตงั้ กบั ไม้รดั หัวตกุ๊ ตา วดั ระดบั ให้ต่ากวา่ เชอื กระดับ 0.025 เมตร (เพ่ือวางไม้แบบท้องพน้ื ) และวางไม้ตุ๊กตาช่วงกลางเรียงให้ได้แนวมีระยะห่างกันประมาณ 0.75 เมตร ใช้ไม้เคร่าตีประกบยึดกับไม้ตุ๊กตา ตอกตะปูตีให้แน่นทุกตัว นาไม้แบบพื้น 1\" 8\" มาปูพ้ืนวางบน ไม้รัดหัวตุ๊กตา อัดไม้แบบให้สนิทจนเต็มพ้ืนท่ี ตามแบบคอนกรีตพ้ืน หาระดับความหนาของคอนกรตี พ้นื ดงั ภาพท่ี 5.10 ภาพที่ 5.10 แสดงแบบ การตง้ั แบบหล่อคานและพืน้ คอนกรีต
100 5.3.2 งานเหล็กเสริมพ้ืน จากแบบแปลนเสริมเหล็กพื้น และแบบรูปตัด รูปขยายพื้น เป็นพื้นคอนกรตี เสริมเหล็ก ใช้เหลก็ เสริมตะแกรง Ø 6 มลิ ลิเมตร @ 0.10 มลิ ลเิ มตร เหลก็ คอมา้ Ø 6 มลิ ลิเมตร@ 0.10 มลิ ลิเมตร เหลก็ เสริมพเิ ศษ Ø 6 มิลลเิ มตร @ 0.10 เมตร ซึ่งจะต้องปฏิบตั ิงานดังนี้ วางเหล็กเสรมิ ตะแกรง Ø 6 มลิ ลเิ มตร @ 0.10 มิลลิเมตรเส้นเวน้ เส้นสลบั กบั เหล็กเสรมิ คอม้า Ø 6 มิลลเิ มตร@ 0.10 มลิ ลิเมตร เสน้ เว้นเส้นเหมือนกนั ผูกให้แน่น แลว้ นาเหล็กตะแกรง Ø 6 มลิ ลเิ มตร@ 0.10 มิลลเิ มตรมาเสริมเปน็ เหล็กตะแกรงบนสลบั เสน้ เวน้ เส้นกับเหล็กเสรมิ พเิ ศษ Ø 6 มิลลเิ มตร @ 0.10 เมตร เส้นเว้นเส้นเหมอื นกนั ผกู เหล็กเสริมให้แนน่ ทกุ จุดผกู ลูกปูนรองเหล็กตะแกรง ภาพท่ี 5.11 แสดงแบบ การเสริมเหล็กพืน้ 5.3.3 งานเทคอนกรตี ก่อนทาการเทคอนกรีต ควรตรวจสอบเหล็กเสริมและไมแ้ บบ โดยละเอียด ให้ถูกต้องตามแบบและหลกั การ การก่อสร้าง 1) ตรวจแบบและการเสรมิ เหลก็ เกบ็ เศษลวด ขเ้ี ลอ่ื ย สิง่ สกปรก ออกจากแบบหลอ่ ทาการอุดแบบใหเ้ รยี บร้อย ตรวจสอบระดบั ให้ถูกต้อง 2) ราดน้าและนา้ ปูนทราย ราดนา้ สะอาดบนแบบพื้น ทาให้ไม้แบบชุ่มน้า เพื่อ ป้องกันไม้แบบดูดซึมน้าจากคอนกรีตและช่วยให้การเทคอนกรีต ถอดแบบได้ง่าย นาน้าปูนทราย อัตราส่วนผสม 1:2 ผสมเหลวๆ เทลงไปในแบบหล่อเพื่อเป็นการอุดรอยรั่วจากการต่อไม้แบบ ประสาน รอยตอ่ คอนกรตี คานกับคอนกรีตพ้ืน
101 3) การผสมคอนกรีต คอนกรีตท่ีใช้กับงานเทคานและพ้ืน ตามกาหนดจะใช้ คอนกรตี ในอตั ราส่วนผสม 1:2:3 ทเี่ ปน็ อัตราส่วนผสมของคอนกรตี โครงสร้าง 4) การเทคอนกรีตพื้น เริ่มเทจากคานต่อเนื่องมาที่ระดับพื้น ทาการกระทุ้ง คอนกรีตและปาดหน้าด้วยไม้สามเหลี่ยมให้พื้นเรียบและได้ระดับจนเต็ม เสร็จแล้วคลุมหน้า คอนกรตี ดว้ ยถงุ ปูนหรือกระสอบ เพ่ือเป็นการควบคุมอุณหภูมิของคอนกรตี ใช้เวลา 1 วัน 5.3.4 งานถอดแบบหล่อคอนกรีต หลังเทคอนกรีตเสร็จแล้ว ให้ท้ิงคอนกรีตให้แข็งใน แบบโดยปกตจิ ะใชเ้ วลา 2 วัน จงึ ทาการถอดแบบข้าง นาน้ามาราดคอนกรีตและไม้แบบให้ชุ่มทั้งแบบ การถอดแบบให้เริ่มค่อย ๆ ถอดไม้ค้ายันข้างแบบออก เคาะแบบข้างคาน พ้ืน เบาๆ แบบก็จะหลุด ออกมา สาหรับแบบท้องคานและพื้น ยังคงต้องทิ้งไว้อีก 7 วัน เป็นอย่างน้อย เมื่อครบกาหนด ถอดแบบท้องพื้นออกแล้ว ให้ใช้ไม้ค้ากลางท้องพ้ืนต่อไปอีก 28 วัน (ปกติแบบท้องคานพ้ืน จะท้ิงไว้ 14 วนั เหมือนกบั การถอดแบบ) 5.3.5 งานบ่มคอนกรีต เมื่อถอดแบบต้องทาการบ่มคอนกรีตทันที ให้นากระสอบมา คลุมปิดผิวหน้าคอนกรีต และฉีดน้าให้ชุ่มตลอดเวลา 7 วัน เป็นอย่างน้อยหรือบ่มคอนกรีตได้นาน ถึง 21 วันได้เป็นดี จะได้คอนกรีตที่มีความแข็งแรง ต้องไม่ลืมรดน้าให้กระสอบชุ่มน้าตลอดเวลา ที่ทาการบม่ ควรจัดคนงานให้มีหน้าที่รดน้าบ่มคอนกรีต บทสรปุ งานโครงสร้างอาคาร เป็นส่วนที่สาคัญของอาคาร ที่ประกอบด้วยโครงสร้างเสาคอนกรีต เสริมเหล็ก คานคอนกรีตเสริมเหล็ก และพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งในการปฏิบัติงานจะ มี ขน้ั ตอนการทางานและมีชา่ งหลายสาขางานมาประกอบกนั เชน่ ช่างไม้แบบ ทาการประกอบแบบไม้เพ่ือ เป็นแบบหล่อคอนกรีต ส่วนประกอบของอาคาร ช่างเหล็กทาการเสริมเหล็กโครงสร้างอาคาร และช่าง ปูน ผสมคอนกรีต ลาเลียงคอนกรีต การเทคอนกรีตลงในแบบหล่อคอกรีต การทาให้คอนกรีตแน่น ตัว การถอดแบบไม้ และบ่มคอนกรีต ผู้ที่ปฏิบัติงานจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ ในงานคอนกรีต โครงสร้างอาคาร และควรปฏบิ ตั งิ านให้ถกู ตอ้ งตามหลักวชิ าการด้วย
102 แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยท่ี 5 เรื่องงานโครงสรา้ งอาคาร เวลา 10 นาที คาชี้แจง 1. แบบทดสอบมีทง้ั หมด 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน 2. ใหน้ ักศกึ ษาทาเคร่อื งหมาย ในตวั เลือกท่เี หน็ วา่ ถูกตอ้ งที่สดุ ลงในกระดาษคาตอบ 1. ในงานเสาคอนกรตี เสริมเหล็ก ควรมรี ะยะคอนกรตี ห้มุ เหล็กเสรมิ เท่าไร ก. 1.00 เซนตเิ มตร ข. 1.50 เซนตเิ มตร ค. 2.00 เซนตเิ มตร ง. 2.50 เซนติเมตร 2. ปกตกิ ารเสรมิ เหล็กแกนเสาตอ้ งเสริมเหลก็ แกนอยา่ งน้อยก่ีเส้น ก. 2 เส้น ข. 3 เส้น ค. 4 เสน้ ง. 5 เส้น 3. การประกอบไมแ้ บบเสาคอนกรีตเสรมิ เหล็กขนาด 0.15 0.15 ม.จะใช้ไม้แบบขนาดใดบ้าง ก. 1\" 6\" จานวน 4 แผน่ ข. 1\" 8\" จานวน 4 แผ่น ค. 1\" 6\" จานวน 2 แผ่นและ 1\" 8\" จานวน 2 แผน่ ง. 1\" 6\" จานวน 4 แผน่ และ 1\" 8\" จานวน 4 แผ่น 4. เมอื่ เทคอนกรีตเสรมิ เหล็กเสาเสร็จแลว้ ควรทาการบ่มคอนกรตี อยา่ งน้อยก่ีวนั ก. 3 วนั ข. 7 วัน ค. 14 วนั ง. 21 วนั 5. การหักมุมเหล็กคอมา้ หกั มุมเท่าไร ก. 15 องศา ข. 30 องศา ค. 45 องศา ง. 60 องศา 6. ข้อใดไม่ใชก่ ารปฏบิ ตั ิงานก่อนการเทคอนกรตี เสรมิ เหล็กคาน ก. การตรวจเหลก็ เสริม ทาความสะอาดหวั เสา เกบ็ เศษลวดผกู เหล็ก ข. ราดน้าและนา้ ปนู ทรายในแบบคาน ค. การเทคอนกรีตควรเรม่ิ จากมุมคานและควรเทคอนกรตี อยา่ งต่อเนอื่ ง ง. เม่ือประกอบไม้แบบเสรจ็ แล้วใหร้ ีบเทคอนกรีต
103 7. เมอื่ เทคอนกรีตคานคอนกรีตเสรมิ เหล็กแลว้ กีว่ ันถึงจะถอดแบบท้องคานได้ ก. 10 วัน ข. 14 วนั ค. 18 วนั ง. 20 วนั 8. การบ่มคอนกรตี โครงสรา้ งอาคารควรบ่มคอนกรีตกว่ี ัน ก. 7 วัน ข. 14 วัน ค. 21 วนั ง. 28 วนั 9. หลังจากถอดแบบท้องคานแลว้ ให้เอาไมต้ ๊กุ ตาค้าใต้ทอ้ งคานอีกกว่ี นั ก. 7 วัน ข. 14 วนั ค. 21 วนั ง. 28 วนั 10. น้าปูนทรายใช้อตั ราสว่ นผสมเทา่ ไร ก. 1:1 ข. 1:2 ค. 1:3 ง. 1:4
104 แบบทดสอบกอ่ นเรียน เฉลยแบบทดสอบ หนว่ ยท่ี 5 10. ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. คง ค ขคงคขข 10. ข แบบทดสอบหลงั เรยี น 4. 5. 6. 7. 8. 9. ขคงขคง 1. 2. 3. งคค
105 เอกสารอ้างองิ พิภพ สุนทรสมยั . เทคนิคการกอ่ สร้างอาคารเบื้องตน้ . กรุงเทพฯ: โปรเฟรสช่นั แนลพบั ลชิ ช่ิง, 2524. พิภพ สนุ ทรสมยั . เทคนคิ การกอ่ สรา้ งอาคารคอนกรีตเสรมิ เหล็ก(ปรบั ปรุง). พิมพ์ครง้ั ท่ี 2. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีป่นุ ), 2538. บญุ เลิศ นอ้ ยสระและประเสริฐ ธงไชย.เทคนิคงานคอนกรตี เสริมเหลก็ . พิมพค์ รัง้ ที่ 1.กรุงเทพฯ: เอมพนั ธ์, 2544. มนสั กลอ่ งเพช็ ร. เทคนคิ ก่อสร้าง 1. พิมพ์ครั้งท่ี 1.กรงุ เทพฯ: เอมพนั ธ์, 2543. เริงศักดิ์ นนทเิ มธากุล และ อภิศกั ด์ิ จุฑาศิรวิ งศ.์ ปูนซเิ มนตแ์ ละการประยุกต์ใช้งาน.พิมพ์คร้ังท่ี 2 กรงุ เทพฯ: ปนู ซเิ มนต์ไทยอุตสาหกรรม, 2548. วินติ ชอ่ วเิ ชยี ร.คอนกรตี เทคโนโลย.ี กรุงเทพฯ:คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั , 2544. สิทธโิ ชค สุนทรโอภาส. เทคโนโลยอี าคาร. กรุงเทพฯ: สกายบุก๊ ส์, 2543. เอกสิทธิ์ ล้มิ สวุ รรณ. แบบหล่อคอนกรีต. กรุงเทพฯ:คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย, 2529.
106 แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 6 เรื่อง งานโครงสร้างหลงั คา สาระสาคัญ โครงสร้างหลังคาเป็นส่วนประกอบที่สาคัญของอาคาร ใช้กันแดด ฝนลม หรือความร้อน โครงสร้างหลังคา ยังเป็นส่วนท่ีทาให้อาคารมีความสวยงาม ดังนั้นโครงสร้างหลังคาจึงต้องได้รับการ ออกแบบ ประณีต ได้สัดส่วน มีแข็งแรงและแน่นหนา สามารถรองรับน้าหนักวัสดุมุง แรงลม และ ทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศได้เป็นอย่าง โครงสร้างหลังคาท่ัวๆ ไปมีส่วนประกอบท่ีคล้ายกันจะ แตกต่างกันตรงวัสดุท่ีใช้ประกอบเป็นโครงสร้าง เช่น โครงสร้างหลังคาไม้ โครงสร้างหลังคาเหล็ก และ โครงสร้างหลังคาคอนกรีตเสริมเหล็ก จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ จดุ ประสงคท์ ่ัวไป 1. เพอ่ื ใหม้ ีความร้คู วามเข้าใจเกี่ยวกับงานโครงสร้างหลงั คา 2. เพื่อใหม้ ีความรู้ความเข้าใจ จัดเตรียมเคร่ืองมือ วสั ดุ อุปกรณ์ งานโครงสร้างหลงั คา 3. เพอื่ ใหม้ ีทักษะในงานโครงสร้างหลังคาไม้ 4. เพื่อใหม้ ที ักษะในงานโครงสรา้ งหลังคาเหล็ก 5. เพอ่ื ใหม้ ีทักษะในงานโครงสร้างหลังคาคอนกรีตเสรมิ เหล็ก 6. เพอ่ื ใหม้ ีเจตคตแิ ละกจิ นสิ ัยที่ดใี นการเรียนและการปฏิบตั งิ าน 7. เพื่อให้มีคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. อธบิ ายส่วนประกอบของโครงสรา้ งหลงั คาได้ 2. จาแนกเครอื่ งมอื วสั ดุ อุปกรณ์ ในงานโครงสร้างหลังคาได้ 3. ปฏิบัติงานโครงสร้างหลงั คาไม้ได้ 4. ปฏิบัติงานโครงสรา้ งหลังคาเหล็กได้ 5. ปฏบิ ตั ิงานโครงสร้างหลงั คาคอนกรีตเสริมเหล็กได้ 6. มีเจตคติทีด่ ีต่อการเรยี นและการปฏิบตั งิ าน 7. ปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความรับผดิ ชอบและมีระเบียบวินยั 8. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ สาระการเรียนรู้ หน่วยที่ 6. ประกอบด้วยหัวข้อสาระการเรยี นรู้ ดงั นี้ 6.1 รปู แบบทรงหลังคา 6.2 งานโครงสรา้ งหลังคาไม้ 6.3 งานโครงสรา้ งหลงั คาเหล็ก 6.4 งานโครงสรา้ งหลังคาคอนกรีตเสริมเหลก็
107 กิจกรรมการเรยี นการสอน 1. แจ้งจดุ ประสงคใ์ หผ้ เู้ รียนเขา้ ใจก่อนเรียน 2. ให้ผเู้ รียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยท่ี 6 3. ครบู รรยายนาเขา้ ส่บู ทเรียน 4. ผู้เรียนศึกษาเนื้อหาความรู้ในเอกสารประกอบการสอน เร่อื ง การศึกษาแบบก่อสร้าง 5. การอภิปรายและการซักถามเก่ยี วกับบทเรียนร่วมกัน 6. ผู้เรียนแบ่งกลุม่ ๆ ละ 6 คน ฝกึ ปฏบิ ตั งิ านตามใบงานท่ี 9,ใบงานที่ 10 7. ผู้เรยี นและครู ร่วมกันสรปุ เนอ้ื หาประกอบสอ่ื 8. ผู้เรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน สือ่ การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอนวชิ างานก่อสร้างอาคาร 1 2. แผน่ ใสประกอบการบรรยาย 3. แผ่นภาพ 4. แบบก่อสร้างอาคารและรายการประกอบแบบ 5. ชุดฝกึ ปฏบิ ตั งิ าน งานกอ่ สรา้ งอาคาร 1 (งานโครงสรา้ งหลังคา) การวัดผล ประเมนิ ผล 1 วดั ผลตามจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 2 วธิ วี ดั ประเมนิ ผล 2.1 สงั เกต เจตคติ คุณธรรม จรยิ ธรรม ในการเรียนรูแ้ ละปฏบิ ตั ิงาน 2.2 สงั เกต และตรวจผลงาน จากการปฏบิ ตั ิงานตามใบงาน 2.3 ประเมนิ ผลจากแบบทดกอ่ นหลงั เรยี น 2.4 ประเมนิ ผลจากแบบทดสอบหลังเรียน 3. เคร่อื งมือวัด ประเมนิ ผล 3.1 แบบประเมนิ เจตคติ คณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ 3.2 แบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน 3.3 แบบทดสอบก่อนเรียน 3.4 แบบทดสอบหลงั เรยี น
108 แบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยที่ 6 เวลา 10 นาที เร่อื งงานโครงสรา้ งหลังคา คาชแ้ี จง 1. แบบทดสอบมีทง้ั หมด 10 ขอ้ คะแนนเตม็ 10 คะแนน 2. ใหน้ ักศึกษาทาเครื่องหมาย ในตวั เลือกทีเ่ ห็นวา่ ถกู ตอ้ งทีส่ ดุ ลงในกระดาษคาตอบ 1. แบบหลังคาทีม่ ีรางนา้ อยรู่ ะหวา่ งกลาง ซ่ึงเป็นจุดอ่อนของหลงั คา เปน็ หลังคาแบบใด ก. แบบหลังคาแบน ข. แบบหลังคาเพิงหมาแหงน ค. แบบหลงั คาปีกผีเสื้อ ง. แบบหลงั คาทรงจัว่ 2. โครงสรา้ งส่วนใด ของหลงั คาที่รบั น้าหนกั จาก จันทันเอก จันทนั พลางแล้วถ่ายนา้ หนักลงสู่ดั้ง ก. ขื่อ ข. อะเส ค. ดง้ั ง. อกไก่ 3. โครงสรา้ งสว่ นใด ของหลังคาที่รับนา้ หนกั จากจนั ทนั พลางแล้วถา่ ยนา้ หนักลงสู่หวั เสา ก. ขื่อ ข. อะเส ค. ดง้ั ง. อกไก่ 4. โครงสรา้ งสว่ นใด ของหลังคาท่ที าหนา้ ท่เี หมือน อะเส ก. ขอื่ ข. อะเส ค. ดง้ั ง. อกไก่ 5. โครงสร้างเหล็กส่วนใด ของโครงหลังคาทีท่ าหน้าทเ่ี หมอื น อกไก่ อะเส ในโครงสร้างหลงั คาไม้ ก. โครงหลงั คาเหล็ก ข. โครงเหลก็ ยึดทแยงโครงหลังคาเหลก็ ค. โครงเหล็กยึดโครงหลังคา ง. เหล็กยดึ แป 6. เหล็กยดึ แปในโครงสรา้ งหลงั คาใช้เหล็กชนิดใด ก. เหลก็ ตัวซี ข. เหล็กฉาก ค. เหลก็ กล่อง ง. เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต
109 7. เหล็กยดึ แปในโครงสรา้ งหลังคาเหลก็ ทาหนา้ ที่ ก. รองรับวสั ดมุ ุงหลัง ข. เอาไวย้ ึดเหล็กขอ ป.ปลา ค. เอาไวย้ ึดโครงหลังคา ง. กนั การโกง่ ตัวของแปจากความร้อนทาใหบ้ ิดตวั 8. การยาร่องอดุ รอยตามความยาวเรียงระหวา่ งพ้ืนส่วนหลังคาท่ีเปน็ ดาดฟา้ ควรยาก่อนเท คอนกรีตทับหนา้ กีน่ าที ก. 15 นาที ข. 30 นาที ค. 45 นาที ง. 60 นาที 9.การเทคอนกรีตทับหนา้ พื้นสาเรจ็ รูป สว่ นหลังคาหรอื ดาดฟา้ ควรเทคอนกรีตหนาไม่น้อยกวา่ ไร ก. 2.5 เซนติเมตร ข. 5 เซนติเมตร ค. 7.5 เซนตเิ มตร ง. 10 เซนตเิ มตร 10. การวางเหล็กเสริมตะแกรงคอนกรตี เททับหนา้ พนื้ สาเร็จใช้เหล็กขนาดเท่าไร ก. Ø 6 มลิ ลเิ มตร ข. Ø 9 มลิ ลเิ มตร ค. Ø 12 มลิ ลิเมตร ง. Ø 15 มลิ ลิเมตร
110 หนว่ ยที่ 6 งานโครงสรา้ งหลังคา หลังคาเป็นส่วนประกอบที่สาคัญส่วนหนึ่งของอาคาร เนื่องจากใช้กันแดด ฝนลม หรือความ ร้อนยังใช้รองรับน้าฝน นอกจากนั้นหลังคายังเป็นส่วนที่ทาให้ตัวอาคารหรือมีความสวยงาม ดังน้ัน หลังคาจึงต้องได้รับการออกแบบ ประณีต ได้สัดส่วน โครงหลังคาจะต้องแข็งแรงและแน่นหนา สามารถรองรับน้าหนักวัสดุมุง และทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศได้เป็นอย่าง โครงหลังคาทั่วไปมี ส่วนประกอบที่คล้ายๆ กันจะแตกต่างกันตรงวัสดุที่ใช้ประกอบเป็นโครงสร้าง เช่น โครงสร้าง ไม้ และโครงสร้างเหล็ก โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก นอกจากนั้นยังมีลักษณะและรูปทรง หลงั คาทแี่ ตกต่างกันไปดังน้ี 6.1 รปู แบบทรง หลงั คา 6.1.1 โครงหลังคาแบน เป็นหลังคาที่แบนราบ โดยวัสดุมุงจะถูกวางบนเคร่าเพดาน ช่องว่าง ระหว่างหลังคากับฝ้าเพดานจะน้อย จึงทาให้ภายในบ้านอบอุ่น เนื่องจากการถ่ายความ ร้อนจาก หลังคาสู่ภายในอาคารได้ดี มี่เหมาะกับประเทศที่มีฝนตกชุกกันฝนไม่ได้ดี ส่วนมากใช้เป็นหลังคาตึก หรอื อาคารช่ัวคราว ดงั ภาพที่ 6.1 ภาพท่ี 6.1 แสดงแบบ โครงหลังคาแบน 6.1.2 โครงหลังคาเพิงหมาแหงน เป็นหลังคาที่ดัดแปลงมาจากหลังคาแบน ด้วยการยกให้อีก ด้านหนึ่งสูงข้ึน ทาให้หลังคามีความลาดชัน จึงสะดวกต่อการระบายน้า ฝ้าเพดานของโครงหลังคา แบบนี้ อาจจะแยกออกต่างหากหรือติดกับโครงสร้างหลังคาก็ได้ จะทาให้มีช่องว่างเหนือห้องมากขึ้น ทา ให้สามรถระบายอากาศไดด้ ี ส่วนมากใชก้ บั อาคารที่พักชว่ั คราว ดงั ภาพท่ี 6.2
111 ภาพท่ี 6.2 แสดงแบบ โครงหลงั คาเพิงหมาแหงน 6.1.3 โครงหลังคาปีกผีเสื้อ เป็นโครงหลังคาท่ีดัดแปลงมาจาก โครงหลังคาเพิงหมาแหงน ด้วยการนาโครงหลังคาแบบเพิงหมาแหงนมาหันหลังชนกัน แลว้ ใสร่ างระบายน้าระหว่างกลาง ซงึ่ เป็น จดุ อ่อนที่สาคัญของโครงหลังคาแบบน้ี ถา้ รางน้ามีขนาดไม่ถูกต้อง ทาให้มีปัญหารางน้าร่วั ลน้ เขา้ ใน บ้านได้ จึงหมดความนิยมไป ดังภาพท่ี 6.3 ภาพท่ี 6.3 แสดงแบบ โครงหลงั คาปกี ผีเสอ้ื 6.1.4 โครงหลังคาทรงจ่ัว เป็นโครงหลังคาท่ีดัดแปลงมาจากโครงหลังคาแบบเพิงหมา แหงนเช่นกัน ด้วยการนาหลังคาแบบเพิงหมาแหงนมาหันหน้าชนกัน โครงหลังคาแบบน้ีเป็นท่ีนิยมสร้าง กันมากกับบ้านท่ีพักอาศัย เพราะประหยัด มีปัญหาน้อย กันฝนได้ดี เน่ืองจากโครงหลังคาลาดเอียงออก ด้านขา้ งท้ังสองด้าน สามารถระบายนา้ ฝนได้สะดวกนอกจากนั้นยังมีความสวยงาม ดงั ภาพท่ี 6.4
112 ภาพที่ 6.4 แสดงแบบ หลังคาทรงจว่ั 6.1.5 โครงหลังคาปั้นหยา เป็นโครงหลังคาท่ีมีลักษณะคล้ายๆ กับโครงหลังคาทรงจ่ัว แต่โครง หลังคาแบบน้ีจะลาดเททั้งสี่ด้าน จึงสามารถกันฝนได้ทุกทิศทุกทาง โครงหลังคาแบบน้ีสวยงาม แต่ โครงสร้างหลังคายุ่งยาก สลับซับซ้อน เปลืองวัสดุ น้าหนักมาก จุดอ่อนของโครงหลังคาแบบน้ี คือ สนั หลังคาหรือตะเข้สนั ดังภาพที่ 6.5 ภาพท่ี 6.5 แสดงแบบ โครงหลงั คาป้นั หยา 6.2 งานโครงสร้างหลงั คาไม้ 6.2.1 ส่วนประกอบโครงสร้างหลังคาไม้ โดยปกติจะเป็นโครงสร้างหลังคาแบบท่ัวๆ ไปนาไม้มา ประกอบเป็นโครงหลังคาแบบต่างๆ โครงหลังคาจะประกอบด้วยโครงสร้างหลักดังนี้
113 ภาพที่ 6.6 แสดงแบบ รปู ตดั โครงหลงั คา 1 ) ขอ่ื คือไม้สว่ นที่เป็นฐานของโครงจ่วั ปลายทั้งสองข้างจะวางพาดและยึดติดกับหัวเสา จะอยู่ในระดับเดียวกันกับอะเส หรือซ้อนอยู่บนอะเส ทาหน้าที่ยึดปลายของจันทันใหญ่แต่ละข้างให้ ทรงตัวเป็นรูปสามเหล่ียมและใช้เป็นตัวรับน้าหนักจันทัน แป และวัสดุมุงหลังคา ถ่ายน้าหนัก ลงสู่เสา นอกจากน้นั ยงั ใช้ยดึ ระหวา่ งเสากบั เสา ไมท้ ่นี ยิ มใช้ทาขือ่ เปน็ ไม้เนือ้ แขง็ ขนาด 2\"4\" ถึง 2\"8\" 2 ) อะเส ทาหน้าที่เป็นคานรับน้าหนักจากจันทันพรางถ่ายน้าหนักลงสู่เส า นอกจากนั้นยังช่วยยึดหัวเสาโดยรอบตัวอาคาร ไม้ท่ีนิยมใช้ทาอะเส เป็นไม้เนื้อแข็งขนาด 2\"6\" ถึง 2\" 8\" 3) ดั้ง ทาหน้าที่เป็นไม้ค้ายันของโครงจั่ว อยู่ระหว่างขื่อกับจันทันใช้เป็นตัวรองรับ อกไก่และรับน้าหนักจากส่วนบนของหลังคาถ่ายน้าหนักให้กับขื่อ ไม้ที่นิยมใช้ทาดั้งเป็นไม้เนื้อแข็ง ขนาด 2\"4\" คู่ หรอื 11 6 และ 2\"8\" 2 4) อกไก่ ทาหน้าท่ีรับน้าหนักจากจันทันเอกและจันทันพราง ถ่ายน้าหนักลงสู่ดั้ง เป็นไม้ท่ี พาด หรือฝังอยู่กบด้ัง หรือขนาบด้านข้างทั้งสองด้านของด้ัง เป็นแนวตามความยาวของหลังคา นอกจากน้ันยังช่วยยึดจั่วทุกตัวเข้าด้วยกัน ไม้ท่ีนิยมใช้ทาอกไก่ เป็นไม้เน้ือแข็งขนาด 2\"6\" ถงึ 2\"8\" 5) จันทันเอก ทาหน้าที่รองรับแปและวัสดุมุงหลังคา แล้วถ่ายน้าหนักลงสู่เสา เป็นไม้ โครงจ่ัว ท่ีปลายข้างหนึ่งพาดและยึดตรึงกับกับดั้งหรืออกไก่ และปลายอีกข้างพาดและยึดติดกับ ปลายข่ือ จันทันเอกจะวางอยู่บนหัวเสา ไม้ที่นิยมใช้ทาจันทันเป็นไม้เนื้อแข็งขนาด 1 8\" ถึง 1 2 2\" 6\"
114 6) จันทันพราง ทาหน้าที่เหมือนจันทันเอกเป็นการช่วยผ่อนแรงจันทันเอกแล้วถ่าย น้าหนักจากวัสดุมุงและแป ให้กับอกไก่ ดั้ง และขื่อ ที่ปลายข้างหนึ่งพาดและยึดตรึงกับดั้ง หรือ อกไก่ และปลายอีกข้างพาดและยึดติดกับปลายอะเส จันทันพรางจะอยู่ระหว่างจันทันเอก ระยะห่างจันทันพรางจะอยู่ระหว่าง 1.00 ถึง 1.50 เมตร ไม้ที่นิยมใช้ทาจันทันเป็นไม้เนื้อแข็ง ขนาด 11 8\" ถึง 2\"6\" 2 7) แป เป็นทาหน้าที่ยึดระหว่างจันทันและถ่ายน้าหนักที่ได้รับจากวัสดุมุงให้กับจันทัน ขนาดและระยะของแปขึ้นอยู่กับชนิดของวัสดุมุงและระยะห่างของจันทัน ขนาดไม้แปที่นิยมใช้ ทัว่ ไป11 3, 2\"3\" และ 2\" 4\" 2 8) ตุ๊กตา ทาหน้าท่ีเหมือนด้ัง รับจันทันไม่ให้อ่อนตัว ยังเป็นตัวยึดรับสะพานรบั จนั ทัน เป็นตัวถา่ ยนา้ หนกั ที่ไดร้ ับจากสะพานรับจันทัน จันทันพราง และวัสดุมุงหลังคาให้กับขื่อ เป็นไม้ที่ค้า อยู่ระหว่างขื่อกับจันทันเอกโดยอยู่ระหว่างดั้งกับปลายขื่อ ใช้กับโครงหลังคาที่มีขนาดกว้าง ไม้ที่ นิยมใชท้ าตุ๊กตาเป็นไม้เนอ้ื แขง็ ขนาด11 4\",11 6\",2\"4\" และ 2\" 6\" 22 9) ค้ายัน ทาหน้าท่ีรับนา้ หนักจากจันทันเอกถ่ายน้าหนักลงสู่ขื่อ ค้ายันเป็นไม้ที่ใช้ค้ายัน ด้านทแยงระหว่างดั้งกับตุ๊กตา ทาให้โครงจั่วเกิดความแข็งแรง ไม้ที่นิยมใช้ทาค้ายันเป็นไม้เนื้อแข็ง ขนาด 2\"4\" ถึง 2\"6\" 10) สะพานรับจันทัน ทาหน้าที่ช่วยรับนา้ หนักช่วงกลางจันทันพราง สะพานรับจันจะ วางพาดอยู่บนขื่อคัดและยึดติดกับตุ๊กตาท่ีใช้ค้ายันส่วนกลางของจันทันเอกจะยาวไปตามแนวความ ยาวหลงั คา ไม้ท่ีนยิ มใช้ทาสะพานรบั จนั ทันเป็นไมเ้ น้ือแขง็ ขนาด 2\"6\" ถงึ 2\"8\" 11) ขื่อคัด ทาหน้าที่รองรับสะพานรับจันทัน ขื่อคัดเป็นไม้แนวนอนที่ยึดระหว่าง ตุ๊กตากบั จนั ทันเอก ในกรณที ีต่ ้องการความแขง็ แรงจะใช้ขือ่ คัดสองตัว ไม้ท่ีนิยมใช้ทาข่ือคัดเป็นไม้เน้ือ แขง็ ขนาด11 3 ถึง 2\"6\" 2 12) ป้ันลม ทาหน้าท่ีปิดไม้แปหรือระแนงทาให้เกิดความสวยงาม ปั้มลมเป็นไม้แผ่นที่มี ขนาด 3 ถงึ 1\" กว้าง 6\", 8\",10\" 4 13) เชงิ ชาย ทาหนา้ ทกี่ ารยดึ ร้งั ปลายจันทัน ทาใหเ้ กดิ ความสวยงาม เชิงชายเป็นไม้แผ่นท่ีมี ขนาด 3 ถึง 1\" กว้าง 6\", 8\",10\" 4 14) ไมป้ ิดนก เป็นไม้ที่ใช้ปิดร่องระหว่างกระเบื้องมุงหลังคากับเชิงชาย ปิดไม่ให้นกเข้าไป ทารังใต้หลังคาภายในบ้าน ไม้ที่ใช้เป็นไม้ขนาด 1 กว้าง 4\" ปัจจุบันมีพลาสติกขึ้นรูปลอนกระเบ้ือง 2 สะดวกต่อการใชง้ าน 6.2.2 การประกอบติดต้งั โครงสร้างหลังคาไม้ จากโครงสร้างเสา คาน แล้วงานโครงสรา้ งหลังคาจะ ดาเนินการต่อ ซึ่งมีข้ันตอนการปฏบิ ัติงานดังนี้
115 1) การติดตั้งอะเส เริ่มจากการหาระดับหลังอะเส ที่หัวเสาทุกต้น เพื่อให้ได้แนว ระดับหลังอะเส วัดความกว้างหน้าอะเส ท่ีหัวเสา เพ่ือทาการบากเสารับอะเส ให้ความลึกของบ่าเสา เท่ากับความหนาของอะเส นาไม้อะเสที่เตรียมไว้มาประกอบติดตั้งที่หัวเสาที่ดาเนินการบากบ่าเสา ไว้แล้ว ใช้ตะปูตียึดให้ได้ตาแหน่งแล้วเจาะยึดให้แน่นด้วยโบลท์ขนาด Ø 3 – 1 ความยาวเท่ากับ 82 ความหนาของหนา้ เสาเผ่ือความยาวเกลยี ว 1\" จานวน 2 ตัว ภาพท่ี 6.7 แสดงแบบ การบากบ่าเสาเพ่ือตดิ ตั้งอะเส 2) การวางข่ือ โดยปกติจะวางข่ือบนหลังอะเส เพ่ือรับน้าหนักของจันทัน ถ่ายน้าหนักของ โครงจั่วและวัสดุมุงลงบนหัวเสา ถึงแม้จะวางอยู่บนอะเส แต่อะเสฝังอยู่กับเสา การยกข่ือติดตั้งกับเสา ช่วงบนของเสาหลังอะเส กอ่ นยกข้ึนวางตอ้ งแบง่ กงึ่ กลางของข่ือก่อน และอะเสทุกตัวต้องยึดกับหัวเสา
116 ให้แน่น และไม้ค้าเสาต้องยึดเสาไว้ก่อน ยกขื่อข้ึนวางและเย็บรอยต่อท่ีวางบนอะเสให้ข่ือต้ังใน ตาแหนง่ พอดีกับแนวอะเส ดังภาพท่ี 6.8 ภาพท่ี 6.8 แสดงแบบ การบากบา่ เสาติดตัง้ จนั ทันเอก 3) การติดตั้งใบดั้ง ใบด้ังจะวางอยู่ตอนกลางของขื่อ ทาหน้าท่ีรับอกไก่ท่ีวิ่งตลอดสัน หลังคา การท่ีรับอกไก่ ต้องบากกลางความกว้างของไม้ใบด้ัง ให้ได้ความหนาของไม้อกไก่ ความลึก ที่บาก ก็วัดความลึกของหน้าไม้ที่ใช้ทาอกไก่ นาอกไก่มาประกอบกับขื่อตรงตาแหน่งตอนกลางขื่อ ตีตะปูยึดโคนดั้ง ใช้ไม้ยึดระหว่างใบดั้ง กับขื่อ เพื่อทาการหาแนวดิ่งของใบทั้งท้ังสองด้านให้ใบด้ังได้ ด่งิ ยึดให้แน่น เพราะเมอ่ื นาอกไก่มาติดตั้งจะต้องรับไว้และยึดอกไก่ได้ 4) การติดตั้งอกไก่ ทาหน้าที่ยึดใบดั้งให้ได้ดิ่ง และรับน้าหนักจันทันที่วางพาดอกไก่ ความยาวอกไกจ่ ะยาวเท่ากบั ความยาวอะเส จากการท่ียึดใบด้ังไว้แน่นแล้ว ยกใบดั้งติดต้ังลงในช่องท่ี บากไว้ในใบดั้ง การยึดอกไก่ใช้ตะปู 3\" ตีจากด้านข้างรอยบากใบดั้งให้ยึดกับด้านข้างอกไก่ ใน ส่วนทอ่ี ยู่ในรอยบากเพียงไม่ให้อกไก่หลุดหรือเลื่อนได้ แต่ถ้าวางจันทันแล้ว อกไก่จะถูกยึดแน่นอยู่กับ โครงหลังคา เพราะการตอกยึดของจันทัน
117 ภาพที่ 6.9 แสดงแบบ แปลนโครงหลงั คา การวางอะเส อกไก่ จนั ทัน 5) การติดตั้งจันทันเอก การติดตั้งจะขึ้นแนวหัว ท้ายของอาคารก่อน เพราะจะ เทา่ กันตลอด การตดิ ตงั้ ให้เอาไมจ้ นั ทนั เอกตวั ด้านซ้าย ด้านขวาขึ้นประกอบบนหลังอกไก่และอะเส ใช้ ตะปู 3\" ตอกยึดจันทันกับพุกบนอกไก่ ส่วนล่างของจันทันที่ประกบหัวเสาตอกตะปูยึดติดกับหัวเสา เช่นกัน 6) การติดตั้งจันทันพราง จันทันพรางจะวางพาดกับอกไก่ และอะเส รับน้าหนักจากแป ระยะจันทันพรางประมาณ 1.00 ถึง 1.50 เมตรจะติดต้ังเหมือนจันทันเอก เมื่อติดต้ังจันทันพรางทุก ตัวแล้ว ใหใ้ ชไ้ ม้แปตียดึ แนวจนั ทนั พรางไว้เพือ่ เตรียมการตดิ ตัง้ แป 7) การติดตั้งตุ๊กตา นาไม้ที่ใช้ทาตุ๊กตา มาติดตั้งระหว่างขื่อกับจันทัน ด้านซ้ายและ ด้านขวาของโครงหลังคา ใหต้ วั ตุ๊กตาตัง้ ฉาก กบั ขอื่ หรือได้แนวด่ิง 8) การติดต้ังขื่อคัด เป็นไม้ทาหน้าที่รองใต้อกไก่ ตอกยึดติดจันทัน บังคับให้จันทันคงรูป แน่นขน้ึ ดังภาพที่ 6.9
118 ภาพที่ 6.10 แสดงแบบ การติดต้งั จั่วและขื่อคัด 9) การติดตั้งแป เป็นไม้ที่ใช้รับวัสดุหลังคาวัดระยะห่างของไม้แปตามความยาวของ จันทัน ติดตั้งไม้พุกรองรับไม้แป ระยะห่างของแปขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้ในการมุงหลังคา ถ้าใช้ กระเบื้องลอนคู่มุงหลังคา 05.01.20 เมตร ระยะห่างของไม้แป จะวัดจากริมในของไม้แปตัวล่างถึง ริมนอกของไม้แปตัวบน ห่างกันประมาณ 1.00 เมตร เป็นต้น การติดต้ังแปให้วัดระยะความกว้างไม้ แปท่ีตัวจนั ทันหัว ท้ายอาคารแลว้ ขงึ แล้วเชอื กตพี ุกตลอดแนว แล้วจงึ นามาแปมาติดต้ังให้ครบทุกตัว ภาพที่ 6.11 แสดงแบบ การติดตัง้ ระยะห่างแป
119 6.3 งานโครงสรา้ งหลงั คาเหล็ก 6.3.1 ส่วนประกอบโครงสร้างหลังคาเหล็ก ปัจจุบันนิยมใช้กันท่ัวไปเป็นที่แพร่หลาย สว่ นประกอบของโครงสร้างหลังคาเปน็ เหลก็ รูปพรรณ มสี ว่ นประกอบสาคญั ดังน้ี ภาพที่ 6.12 แสดงแบบ ส่วนประกอบโครงหลังคาเหล็ก 1) แปเหล็ก เป็นช้ินส่วนของโครงสร้างหลังคาท่ีรองรับวัสดุมุง ถ่ายน้าหนักลงสู่โครง หลังคาเหล็กที่จุดต่อของโครงหลังคาเหล็ก และช่วยในการเกาะยึดระหว่างโครงหลังคากับ โครง หลังคาเหล็กทใ่ี ช้ในการทาแป เป็นเหลก็ รปู พรรณ เหลก็ ฉาก เหล็กตวั ซี หรอื เหลก็ กล่อง 2) เหลก็ ยดึ แป เป็นชนิ้ ส่วนโครงหลังคาท่ียึดระหว่างแปเหล็กกับแปเหล็ก เพ่ือยึดแปให้ แน่นกันการโก่งตัวของแปจากความร้อนและบิดตัว อาจทาให้วัสดุหลุดออกจากแปได้ โดยท่ัวไป เหล็กยึดแปจะใช้เหลก็ เสน้ ในงานกอ่ สรา้ ง และจะยดึ ระหว่างชว่ งแนวกลางแป
120 เหลก็ ยดึ แป แป ส่วนประกอบโครงหลงั คาเหลก็ 1:100 ภาพท่ี 6.13 แสดงแบบ สว่ นประกอบโครงหลังคาเหล็ก 3) คานโครงเหล็กยึดโครงหลังคาเหล็ก เป็นช้ินส่วนโครงสร้างหลังคา ที่ยึดระหว่าง โครงหลังคาเหล็ก เพื่อช่วยยึดโครงหลังคาและรับแรงลมด้านข้างบางส่วน ช่วยยึดโครงหลังคา ไม่ให้เกิดการเคลื่อนตัวหรือสั่นไหว โดยการนาเหล็กรูปพรรณ มาถักเชื่อมเป็นโครงและยกขึ้นยึด ประกอบโครงหลังคาตามแนวยาวของอาคาร ทาหน้าที่เหมือนกับ อกไก่หรือ อะเสในโครงสร้างไม้ดัง ภาพที่ 6.13 ภาพที่ 6.14 แสดงแบบ คานโครงเหลก็ เหลก็ ยึดโครงหลังคาเหลก็ 4) เหล็กยึดทแยงโครงหลังคาเหล็ก เป็นชิ้นส่วนโครงหลังคาที่ยึดแนวทแยง ระหว่างโครงหลังคาเหล็ก เพื่อลดการเคลื่อนตัว และสั่นไหวของโครงสร้าง ส่วนมากจะใช้ เหล็กเสน้ หรอื ลวดสลิง และมตี วั ปรบั ความตงึ ตัวของเส้นลวด ดังภาพท่ี 6.14
121 ภาพที่ 6.15 แสดงแบบ แปลนการยดึ ทแยงโครงหลังคาเหลก็ 5) โครงหลงั คาเหลก็ เป็นโครงเหล็กที่รับน้าหนกั จากส่วนต่างๆของหลังคา ถ่ายน้าหนัก สู่โครงสร้างเสาหรือคานรับโครงหลังคา เป็นชิ้นส่วนของโครงหลังคา เป็นการนาเหล็กรูปพรรณมา ประกอบกันเป็นรปู ต่างๆ ช้นิ สว่ นแต่ละชนิ้ มีช่อื เรยี กตามลกั ษณะดงั น้ี ภาพท่ี 6.16 แสดงแบบ รูปตัดส่วนประกอบโครงหลงั คาเหลก็ ① ช้ินส่วนดา้ นบน (Upper Member) ② ชิน้ ส่วนด้านล่าง (Lower Member) ③ ช้นิ ส่วนตัวตั้ง (Vertical Member) ④ ชนิ้ ส่วนตัวทแยง (Diagonal Member) 6.3.2 ฐานรองรับ เป็นโครงสร้างรองรับโครงหลังคา เช่น หัวเสา คานคอนกรีต และกาแพงคอนกรีต ลักษณะการยึด โดยให้ปลายข้างหน่ึงยึดแน่นกับที่และปลายอีกข้างหนึ่งให้ขยับได้อิสระ เพื่อต้องการ ให้มีการขยายหรอื หดตัว จากการเปล่ียนแปลงอุณหภูมิ ทาให้วัสดุที่ใช้ทาโครงหลังคายืดหดได้ โดยไม่ รัง้ หรือดนั ฐานรองรบั ซงึ่ มรี ายละเอยี ดดงั นี้
122 1) ฐานรองรับแบบยึดแน่น คือโครงหลังคาท่ียึดติดกับฐานรองรับในลักษณะแบบยึดแน่น โดยการวางลงบนแผ่นเหล็กที่ร้อยสลักเกลียวฝังบนฐานรองรับ เพื่อให้น้าหนักกระจายลง บนแผ่น เหล็ก นาเหล็กฉากเชอ่ื มติดยดึ โครงหลังคาเจาะรยู ึดสลกั เกลยี วแผ่นเหล็กบนฐานรองรบั 2) ฐานรองรับแบบการขยับได้อิสระ คือการยดึ โครงหลังคาตดิ กบั ฐานรองรบั ในลักษณะ ให้ขยับได้ โดยการวางลงบนแผ่นเหล็กที่เช่ือมติดสลักเกลียวฝังฐานรองรับ นาเหล็กฉากท่ีเช่ือมติด โครงหลังคาเจาะรูให้ยาวเป็นรูปไข่ ทาจาระบีส่วนที่สัมผัสกับแผ่นเหล็กฐานรองรบั ยึดสลกั เกลียวติดแผน่ เหลก็ บนฐานรองรับ 6.4 งานโครงสรา้ งหลงั คาคอนกรตี เสรมิ เหล็ก โครงหลังคาคอนกรีตเสริมเหล็กเป็นโครงหลังคา ท่ีมีโครงสร้างแบบเดียวกับพื้นคอนกรีตแบบ วางบนคานคอนกรีต เป็นพ้ืนคอนกรีตท่ีถ่ายนา้ หนักให้กับคานที่รองรับ เช่น พ้ืนคอนกรีตเสริมเหล็ก ทางเดียว พื้นคอนกรีตเสรมิ เหลก็ สองทาง พน้ื คอนกรีตยนื่ และพื้นคอนกรีตสาเรจ็ รูปซึง่ มีข้นั ตอนการ ปฏิบตั ดิ ังนี้ ภาพที่ 6.17 แสดงแบบ การปพู ื้นสาเรจ็ รูปในงานหลังคาคอนกรตี เสริมเหล็ก 6.4.1 ข้ันตอนการวางพน้ื สาเร็จรูป แผน่ พ้ืนสาเรจ็ รปู Hollow Core 1) คานที่ประกบด้านข้างของแผ่นพื้น จะต้องมีขนาดความกว้างของคาน ถูกต้อง ตามแบบ ไม่มสี ิง่ หนึ่งสิ่งใด เช่นเหล็กหรือเศษคอนกรีตขรุขระติดข้างคาน ควรให้ส่วนท่ีแผ่นพ้ืนชิดมีส่วน แคบกว่าและหลวมประมาณ 2 เซนติเมตร หรือจะทาการหล่อคานติดกับพื้น ภายหลังการติดตั้งแผ่น พ้นื เสร็จเรยี บร้อยแลว้ และเทคอนกรีตทบั หนา้ จะสะดวกทสี่ ุด
123 ภาพท่ี 6.18 แสดงแบบ คานทีป่ ระกบด้านข้างพ้ืน 2) การจะวางแผน่ พ้ืนสาเรจ็ รูป ควรจะทาการตรวจ และปรบั ระดับหลงั คาน ทีจ่ ะวางแผ่น พื้นให้ได้ระดับและสะอาดเรียบร้อยเสียก่อน เพื่อจะวางแผ่นพื้นได้สะดวกรวดเร็วและป้องกันการ แตกรา้ วของแผ่นพ้นื 3) การจดั เรยี งแผ่นพ้นื ใหช้ ิดกนั ตลอด ต่อจากน้ันควรยาร่อง รอยต่อระหว่างแผ่นพ้ืนทันที เพราะหากปล่อยท้ิงไว้อาจจะมีเศษวัสดุ ตกลงในร่อง ซ่ึงยุ่งยากต่อการเก็บขึ้นภายหลัง การยาร่อง คือ การอดุ รอยตอ่ ความยาวเรยี งกันระหว่างพื้น วัสดุท่ีใช้ในการยาร่องคือ ซีเมนต์มอร์ต้า ซ่ึงเป็นส่วนผสม ของปูนซิเมนต์ ทรายและน้าในอัตราส่วน 1:1:4 โดยปริมาตร การยาร่องมีประโยชน์ในการกระจาย น้าหนักระหว่างแผ่นพื้นสาเร็จรูปในกรณีที่เป็นพื้นชั้นดาดฟ้าควรทาการยา ร่องนาหน้า การเท คอนกรีตทับหน้าไม่เกิน 30 นาที ทั้งน้ีเพื่อให้ ซีเมนต์มอร์ต้า เป็นเนื้อเดียวกับคอนกรีตทับหน้า ซ่ึงจะ ชว่ ยกันน้าซมึ ผ่านร่องได้ดขี ้ึน
124 ภาพที่ 6.19 แสดงแบบ การยาแนวร่องรอยตอ่ พื้น 4) เมื่อทาการจัดวางแผ่นพ้ืนสาเร็จรูปและทาการยาแนวร่องระหว่างแผ่นพ้ืนด้วยซีเมนต์ มอร์ต้า แล้วทาความสะอาดเศษวัสดุที่อยู่บนพื้นออกให้หมด แล้วจัดวาง เหล็กตะแกรงขนาด Ø 6 มิลลิเมตร เป็นเหลก็ ตะแกรงระยะหา่ ง 0.20 เมตร หรอื เหลก็ เสรมิ พเิ ศษท่กี าหนดไวใ้ นแบบกอ่ สร้าง ภาพที่ 6.20 แสดงแบบ การเสรมิ เหลก็ ตะแกรงและเหลก็ เสริม 5) การเทคอนกรีตทับหน้า(Topping) เม่ือทาการจัดวางเหล็กตะแกรงเสร็จเรียบร้อยตามแบบ ท่ีกาหนด ทาความสะอาดแผ่นพื้นอีกครั้ง เพื่อล้างเศษวัสดุต่างๆ แล้วจึงทาการเทคอนกรีตทับหน้า หนา ตามแบบที่กาหนด ใช้คอนกรีตอัตราส่วนผสม 1:2:4 โดยปริมาตรและให้มีกาลังอัดประลัยไม่น้อยกว่า 210 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร แล้วปาดหน้าปูนให้เรียบหรือขูดรอยเพื่อปูกระเบ้ือง หากกรณีเป็นพ้ืน คอนกรตี ดาดฟา้ ซึง่ เป็นสว่ นท่ตี อ้ งถกู แดด ถกู ฝน จึงทาให้เกิดรอยแตกร้าว จึงควรปฏิบัติงานดังนี้ คอนกรีตทับ หนา้ ควรมีความหนากว่าปกติ และไม่นอ้ ยกวา่ 5 เซนติเมตร ผสมนา้ ยากันซมึ ควรยาร่อง ซีเมนต์มอร์ต้า ให้เต็ม ก่อนเทคอนกรตี ทบั หนา้ ไม่เกนิ 30 นาที และตอ้ งปรับความลาดเอียงของพนื้ อย่าให้น้าขัง ควรบ่มคอนกรีตอยู่ ตลอดเวลาประมาณ 7 วัน
125 ภาพที่ 6.21 แสดงแบบ การเทคอนกรีตทบั หนา้ บทสรปุ โครงสร้างหลังคาเป็นส่วนประกอบที่สาคัญส่วนหนึ่งของอาคาร หลังคามีรูปทรงที่ แตกต่างกันตาม มีช่ือเรียกตามลักษณะของโครงสร้างหลังคา โครงสร้างหลังคาแบ่งตามประเภทของ วัสดทุ ีใ่ ช้ทาโครงสร้างหลงั คา คือ โครงสร้างหลังคาไม้ เป็นโครงสร้างหลังคาที่นิยมใช้ท่ัวไปโดยการนา ไมม้ าประกอบเป็นโครงสร้างแบบต่างๆ ซึ่งแตล่ ะชนิ้ ส่วนมหี น้าที่และชื่อเรียกแตกต่างกันไป โครงสร้าง หลังคาเหล็ก ปัจจุบันนิยมใช้เป็นที่แพร่หลาย ส่วนประกอบโครงสร้างหลังคาเป็นเหล็กรูปพรรณ ท่ี นามาประกอบและติดตั้งเป็นโครงสร้างหลังคา และโครงสร้างหลังคาคอนกรีตเสริมเหล็ก นิยม ใช้กับอาคารคอนกรีตท่ีมีช้ันดาดฟ้าและช้ืนชั้นบนสุดเป็นหลังคา ซึ่งโครงสร้างหลังคาทั้งสามชนิด มขี น้ั ตอน วธิ ีการทาทแี่ ตกต่างกนั
126 แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยที่ 6 เวลา 10 นาที เรือ่ งงานโครงสร้างหลังคา คาชี้แจง 1. แบบทดสอบมีทง้ั หมด 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน 2. ใหน้ ักศกึ ษาทาเครือ่ งหมาย ในตวั เลือกทีเ่ ห็นว่าถกู ต้องท่สี ุดลงในกระดาษคาตอบ 1. แบบหลงั คาทมี่ รี างนา้ อย่รู ะหวา่ งกลาง ซ่ึงเป็นจุดอ่อนของหลงั คา เป็นหลังคาแบบใด ก. แบบหลงั คาแบน ข. แบบหลงั คาเพิงหมาแหงน ค. แบบหลงั คาปีกผเี สื้อ ง. แบบหลังคาทรงจ่ัว 2. โครงสรา้ งส่วนใด ของหลังคาที่รับน้าหนกั จากจันทนั พลางแล้วถา่ ยนา้ หนักลงสู่หัวเสา ก. ขอื่ ข. อะเส ค. ดง้ั ง. อกไก่ 3. โครงสร้างส่วนใด ของหลังคาทรี่ ับน้าหนกั จาก จันทันเอก จนั ทนั พลางแล้วถา่ ยน้าหนักลงสูด่ ้งั ก. ขือ่ ข. อะเส ค. ดง้ั ง. อกไก่ 4. โครงสรา้ งสว่ นใด ของหลงั คาท่ที าหน้าท่เี หมือน อะเส ก. ขอ่ื ข. อะเส ค. ดง้ั ง. อกไก่ 5. โครงสร้างเหล็กส่วนใด ของโครงหลงั คาที่ทาหน้าทีเ่ หมือน อกไก่ อะเส ในโครงสร้างหลังคาไม้ ก. โครงหลังคาเหล็ก ข. โครงเหลก็ ยึดทแยงโครงหลังคาเหลก็ ค. โครงเหลก็ ยดึ โครงหลงั คา ง. เหล็กยดึ แป 6. เหล็กยึดแปในโครงสร้างหลังคาเหล็กทาหนา้ ท่ี ก. รองรบั วสั ดมุ งุ หลัง ข. เอาไว้ยึดเหล็กขอ ป.ปลา ค. เอาไว้ยดึ โครงหลังคา ง. กนั การโกง่ ตัวของแปจากความรอ้ นทาให้บิดตวั
127 7. เหลก็ ยดึ แปในโครงสรา้ งหลังคาใช้เหลก็ ชนิดใด ก. เหลก็ ตวั ซี ข. เหลก็ ฉาก ค. เหลก็ กลอ่ ง ง. เหลก็ เส้นเสริมคอนกรีต 8. การเทคอนกรตี ทบั หน้าพื้นสาเรจ็ รปู สว่ นหลงั คาหรอื ดาดฟา้ ควรเทคอนกรีตหนาไมน่ ้อยกวา่ ไร ก. 2.5 เซนตเิ มตร ข. 5 เซนติเมตร ค. 7.5 เซนตเิ มตร ง. 10 เซนติเมตร 9. การยารอ่ งอุดรอยตามความยาวเรยี งระหว่างพ้นื ส่วนหลังคาทีเ่ ป็นดาดฟ้าควรยาก่อนเท คอนกรีตทับหน้ากน่ี าที ก. 15 นาที ข. 30 นาที ค. 45 นาที ง. 60 นาที 10. การวางเหลก็ เสรมิ ตะแกรงคอนกรตี เททับหน้าพ้นื สาเร็จใชเ้ หลก็ ขนาดเทา่ ไร ก. Ø 6 มิลลิเมตร ข. Ø 9 มลิ ลเิ มตร ค. Ø 12 มลิ ลิเมตร ง. Ø 15 มิลลิเมตร
128 แบบทดสอบกอ่ นเรียน เฉลยแบบทดสอบ หนว่ ยท่ี 6 10. ก 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. คค ข กค ง ง ขข 10. ก แบบทดสอบหลงั เรยี น 4. 5. 6. 7. 8. 9. กค ง ง ขข 1. 2. 3. คข ง
129 เอกสารอ้างองิ ประณต กลุ ประสตู ร.เทคนคิ งานไม้. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พรนิ้ ต้ิงแอนด์พับลิชชิ่ง, 2540. พภิ พ สนุ ทรสมัย. เทคนิคการกอ่ สรา้ งอาคารเบื้องต้น. กรงุ เทพฯ:โปรเฟรสชน่ั แนล พับลชิ ชงิ่ , 2524. พิภพ สนุ ทรสมัย. เทคนคิ การกอ่ สร้างอาคารตคอนกรีตเสริมเหล็ก (ปรบั ปรงุ ). พมิ พ์คร้งั ท่ี 2 กรุงเทพฯ: สมาคมสง่ เสรมิ เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2538. พิภพ สุนทรสมัย. การซ่อมและตกแต่งอาคาร. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย-ญ่ีปุ่น), 2534. บญุ เลิศ นอ้ ยสระและประเสริฐ ธงไชย.เทคนิคงานคอนกรตี เสรมิ เหล็ก. พิมพค์ ร้ังท่ี 1.กรุงเทพฯ: เอมพันธ์, 2544. มนสั กล่องเพช็ ร. เทคนิคก่อสรา้ ง 1. พมิ พ์ครั้งท่ี 1. กรุงเทพฯ: เอมพันธ์, 2543. สทิ ธิโชค สุนทรโอภาส. เทคโนโลยีอาคาร. กรุงเทพฯ: สกายบกุ๊ ส์, 2543. ศภุ กิจ มลู ประมุข. การซ่อมบารุงรกั ษาท่ีอยู่อาศัย เล่ม 1. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์อกั ษรไทย, 2542. http://www.vconthai.com/prep_at_site.html#M6
บรรณานุกรม คณะทำงำนอำสำสมคั ร กรรมกำรฝ่ ำยวชิ ำชีพ สมำคมสถำปนิกฯ. รายการประกอบแบบก่อสร้าง. กรุงเทพฯ: สมำคมสถำปนิกสยำมในพระบรมรำชูปถมั ภ,์ 2549. ประณต กุลประสูตร.เทคนิคงานไม้. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนดพ์ บั ลิชชิ่ง, 2540. พภิ พ สุนทรสมยั . เทคนิคการก่อสร้างอาคารเบือ้ งต้น. กรุงเทพฯ:โปรเฟรสชน่ั แนล พบั ลิชชิ่ง, 2524. พภิ พ สุนทรสมยั . เทคนิคการก่อสร้างอาคารตคอนกรีตเสริมเหลก็ (ปรับปรุง). พมิ พค์ ร้ังที่ 2 กรุงเทพฯ: สมำคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ีป่ ุน), 2538. พิภพ สุนทรสมยั . การซ่อมและตกแต่งอาคาร.กรุงเทพฯ: สมำคมส่งเสริมเทคโนโลย(ี ไทย-ญี่ป่ ุน), 2534. บุญเลิศ นอ้ ยสระและประเสริฐ ธงไชย. เทคนิคงานคอนกรีตเสริมเหลก็ . พมิ พค์ ร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ: เอมพนั ธ์,2544. มนสั กล่องเพช็ ร. เทคนิคก่อสร้าง 1. พมิ พค์ ร้ังท่ี 1. กรุงเทพฯ: เอมพนั ธ์, 2543. เริงศกั ด์ิ นนทิเมธำกลุ และอภิศกั ด์ิ จุฑำศิริวงศ.์ ปนู ซิเมนต์และการประยุกต์ใช้งาน. พิมพค์ ร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ: ปนู ซิเมนตไ์ ทยอุตสำหกรรม, 2548. เริงศกั ด์ิ นนทิเมธำกุลและอภิศกั ด์ิ จุฑำศิริวงศ.์ ปูนซิเมนต์และการประยุกต์ใช้งาน. พิมพค์ ร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: ปนู ซิเมนตไ์ ทยอุตสำหกรรม, 2548. สุโขทยั ธรรมาธิราช, มหาวิทยาลยั . เอกสารงานสอนชุดวชิ า 31303 งานสนาม. พิมพค์ ร้ังท่ี 5. กรุงเทพ: มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช, 2542. สมโชค เฉตะการ. เอกสารประกอบการสอนวชิ า เขียนแบบก่อสร้าง1. ร้อยเอด็ : วทิ ยาลยั เทคนิคร้อยเอด็ , 2544. สิทธิโชค สุนทรโอภำส. เทคโนโลยอี าคาร. กรุงเทพฯ: สกำยบุก๊ ส์, 2543. สมศรี กำญจนสุต. การอ่านแบบ. กรุงเทพฯ: บริษทั ประชำชน จำกดั , 2537. ศุภกิจ มลู ประมุข. การซ่อมบารุงรักษาทอี่ ยู่อาศัย เล่ม 1. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พอ์ กั ษรไทย, 2542. อินทิรำ ศตสุข. เขียนแบบช่างเทคนิคสถาปัตยกรรม. กรุงเทพฯ: หจก.สีทองกิจพศิ ำล, 2526. เอกสิทธ์ิ ลิ้มสุวรรณ. แบบหล่อคอนกรีต.กรุงเทพฯ: คณะวศิ วกรรมศำสตร์ จุฬำลงกรณ์ มหำวทิ ยำลยั , 2529. http://www.vconthai.com/prep_at_site.html#M6
ภาคผนวก
แบบอาคารคอนกรีตเสริมเหลก็ ช้ันเดยี ว
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176