Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มาตรฐานการเขียนแบบก่อสร้าง

มาตรฐานการเขียนแบบก่อสร้าง

Published by pakasit120212, 2021-02-23 12:49:22

Description: มาตรฐานการเขียนแบบก่อสร้าง

Search

Read the Text Version

Title Block คือสวนแสดงรายละเอยี ดของแผน งาน ซึ่งจะ แสดงรายละเอยี ดเกยี่ วกบั ช่ือโครงการ ลกู คา ผอู อกแบบ ช่ือ ของแบบ และขอ มลู เกี่ยวกับการจัดการแบบทีจ่ ําเปนสาํ หรบั การใชแผนงาน จะเรยี งลาํ ดบั จากบนลงลา งดงั น้ี 1. ขอ มูลผอู อกแบบ 2. ขอ มลู โครงการ 3. ขอมลู การปรบั ปรุงแกไ ขแบบ o แกไขอะไร / วนั ท่ี 4. ขอ มลู การจดั การเกี่ยวกับแบบ เพื่อการสบื คน o Project Number o File name o ผูเขียน o ผตู รวจ 5. ชอื่ งาน 6. หมายเลขของแผนงาน ตามสารบัญ สวนที่ 5 และ 6 น้ันจะตอ งอยทู ่ีมุมขลางเสมอจะอยูในมุม ดา นขวาลา งเสมอ เพอ่ื วาเมอื่ พบั แบบแลว Title Block จะอยทู ี่ ดา นหนา



ความหมาย และวธิ ีการแสดงผงั พ้นื Index มาตรฐานการเขียนแบบกอ สรา ง ผงั พืน้ เปน การแสดงภาพตัดทางแนวนอน โดยแสดง รายละเอียดเกย่ี วกบั รปู รา ง, ขนาด, พืน้ ทใี่ ชสอย, โครงสราง, การกอสรา ง และวัสดุกอสรา ง โดยแสดงออกมาในลักษณะ ของสัญลักษณ, เสน , ตวั เลข, ตวั อกั ษรประกอบกันเพ่อื ส่ือ ความหมาย การ เขยี นผงั พนื้ มาตรฐานการการเขยี นแบบ • แนวตัด และวธิ ีการเขยี นผงั พืน้ หลกั การใชเสน ในการเขยี นแบบ 1. โดยทั่วไปนยิ มตัดที่ประมาณความสงู 1.20 ม. การใหม ิติ (Dimension) จากระดบั พ้นื ภายใน ซง่ึ กไ็ มใ ชเปนระดับใน ระบบกริด การตัดทตี่ ายตวั แทจริงแลว ส่งิ ที่ตอ งการสอ่ื สัญลกั ษณ 1 ถึงก็คือสว นทเ่ี ปน Solid, Void ท้ังหมด ซึ่งก็ คอื เหนือวงกบลา งของหนาตา ง นั่นเอง สัญลักษณ 2 2. ในการเขยี นแบบแปลน 1 ภาพน้นั อาจจะเปน สญั ลกั ษณ 3 ประตู หนา ตาง การตัดดว ยระนาบที่ความสงู ไมเ ทา กนั เชน โดยท่วั ไปตัดที่ระดบั 1.20 ม.แตเมอื่ ตัดผา น สัญลักษณวสั ดุ ผนงั สวนท่ีมหี นา ตาง หรือทอ่ี ยสู งู (เชน กระดาษมาตรฐาน และการจดั วาง หอ งน้าํ ) ก็จะขยบั ไปตัดผานหนา ตา งนนั้ โดย สรปุ ก็คอื ในการเขยี นแบบแปลนควรจะ ตัวอักษร ขอ ความ แสดงหนา ตา ง และชองแสงทัง้ หมดไมว าจะ มาตรฐานในการเขยี นผงั พน้ื ตั้งอยทู ีค่ วามสงู เทาใดกต็ าม 3. เมอื่ เคล่ือนยายสวนท่ีถูกตัดออกไปแลว มอง มาตราสว นในการเขียนแบบ ตง้ั ฉากลงมาท่พี ืน้ ตามหลักการเขียนภาพฉาย ภาพตดั ก็จะเหน็ ขอบเขต และการจัดพนื้ ทีท่ ัง้ ช้นั • แบบกอ สรา งตอ งแสดงผังพนื้ ใหครบทุกชน้ั มีสวนท่ี เช่ือมโยงกันอยคู อื เสา บนั ได ชองลิฟต ชอ ง Shaft ตางๆ • บนั ได และระดบั ของพ้นื ทตี่ า งกนั ตองมลี ูกศรช้ี ทศิ ทางข้นึ ลงเสมอ • มีตัวเลขกาํ กบั แสดงระดบั ของพ้ืนในแตละสวน • มตี วั อกั ษรบอกชือ่ งาน และมาตราสวนที่ใชกํากบั

เสมอ • มเี ครือ่ งหมายกํากบั แสดงทศิ • มีเสน และเครอื่ งหมายแสดงแนวตัด และทศิ ทางการ มองรูปดาน

ดูรายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ >> มาตราสวน ในการเขยี นแบบแปลนอาคารน้ัน มาตราสวนทน่ี ิยมใช มี 2 ขนาด คือ 1:100 (10 มิลลิเมตร = 1 เมตร) และ 1:50 (20 มลิ ลเิ มตร = 1 เมตร) กฏกระทรวงฉบับที่ 10 (พ.ศ.2528) ออกตามความใน พ.ร.บ.ควบคมุ อาคาร พ.ศ. 2522 ระบใุ หใ ชมาตราสว นไมเ ล็กกวา 1:100 ในผงั พ้ืน รูปดา น และรปู ตดั อาคาร ผงั คาน และผงั ฐานราก ยกเวน อาคารท่มี ีความกวาง ความยาว และความสูงมากกวา 90 ม.จะมมี าตราสวนทีเ่ ลก็ กวา 1:100 ก็ได แตตอ งไมเล็กกวา 1:250 ดูรายละเอยี ดเพมิ่ เติม >> การบอกขนาด (Dimension) ระบบการใหมิติ หรือระยะในการเขียนแบบแปลน 1. การใหมิติระยะในแบบแปลน ตองเรียงลําดับจากมติ ิ ใหญข า หามิตยิ อ ยดงั นี้ o มติ แิ สดงอาคารทง้ั หลงั (Overall Dimension) ƒ มิตแิ สดงขนาดหรอื ระยะทส่ี าํ คญั (Breaks in Building) ƒ มติ ิแสดงระยะหางของแนว เสา (Column line) หรอื ตาํ แหนง โครงสรางอาคาร (Column Center) ƒ มติ แิ สดงระยะของ

ผนังภายนอก และ ชอ งเปด (Column Center and Opening) ƒ มิตแิ สดง รายละเอีย ด, ความ หนา ขนาด หรอื ระยะ ของผนัง และ โครงสราง สว นอน่ื ๆ o 2. การใหระยะบอกตาํ แหนง ตอ งพจิ ารณาวาจะใหม ติ ทิ ี่ ตาํ แหนงใดคือท่ขี อบ หรอื ที่กง่ึ กลาง คือถา ตองการ บังคบั หรือควบคุม ระยะ แนวใดเปน สาํ คญั ก็ควรให มิตทิ แี่ นวนนั้ เปน หลกั โดยตองคํานึงถงึ วธิ ีการกอ สราง, วัสดกุ อสราง, วิธกี าร ตดิ ตั้งดว ย

3. ทม่ี า: จรลั พัฒน ภูวนนั ท, การเขยี นแบบกอสรางงาน สถาปต ยกรรม ดูรายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ >> ระบบกริด และระบบพิกดั (Grid System & Coordinate System) ระบบกรดิ ระบบใชอางองิ ตาํ แหนง ของโครงสรา ง ชวยใหผูอานแบบ สามารถรตู ําแหนงในแบบแผน อ่นื ๆ ไดท นั ท่ี เชน ในรปู ดาน รูปตดั และแบบขยายตางๆ การเขียนแนวเสาในผงั พ้นื ประกอบดว ยเสน กรดิ ในแนวระดับ และในแนวดิ่ง • จะมเี สนกํากบั แนวเสาหรอื ไมมีกไ็ ด ถา มเี สน กาํ กับแนวเสา จะตอ งลากผานเขาไปในรปู หรือหยดุ อยใู กลๆ เพื่อแสดงตาํ แหนงใหชดั เจน • โดยปกตแิ ลว นยิ มวางตาํ แหนงไวท ก่ี ่งึ กลางเสา (เพอื่ กําหนดตาํ แหนงในการกอ สรา ง) แตก ไ็ มจําเปน ตองอยทู ศ่ี นู ยก ลางทุกตน เสมอไป เชน ในบางโครงการอาจจะมกี ารกําหนดตําแหนงเสาไวท ่ี ขอบ ในผนังแนวชดิ เขตท่ีดนิ หรอื ในโครงการท่ใี ช ระบบประสานทางพิกดั (Modular) เน่ืองจากระบบ การใหระยะมที ม่ี ามาจากโมดุล (Module) ตางๆ • ดา นทมี่ ่ตี ําแหนงเสานอ ย จะเขียนกํากบั ดว ยตวั อกั ษร สว นดานทม่ี ตี าํ แหนงเสามากกวานิยมแสดงเปน ตัวเลขกาํ กับในวงกลม • โดยปกตจิ ะเขยี นเสน กรดิ แนวไวท ีด่ านบนของผงั และเสน กรดิ ในแนวด่ิงจะอยทู ีด่ านซายของผัง แตใ น บางกรณีจเขยี นไวทด่ี านขวา หรอื ท้งั สองฝง กไ็ ดเพื่อ

ความสะดวกในอานแบบแปลน การใชเ สน ในการเขยี นแบบผงั อาคาร ขนาดของเสน (Line Weight) หลกั การในการใชน าํ้ หนกั ของเสนในการเขยี นแบบแปลน ใน แปลน และรูปตดั จะใชลกั ษณะวิธกี ารเนนสว นท่ถี ูกตดั เปน หลกั (Cutting Plane Technique) ซ่ึงตางกับการเขยี นรูปดา นซงึ่ ใชเ ทคนิคเนน องคป ระกอบหลกั (Major Feature Technique) ซ่งึ จะกลาวในบท ตอไป การเนนเสนทถ่ี กู ตองจะทําใหผ ูที่อา นแบบเขาใจไดง ายขน้ึ เมอ่ื เราทาํ ความเขา ใจในความแตกตางของสวนท่ีถกู ตดั และไมถ ูกตดั แลว ก็จะเปน การนาํ ไปสคู วามถกู ตองของการใช (ตั้งคา) ของการเขยี นแบบสว นประกอบตางๆ ของอาคารไดใ นการ เขยี นแปลน ระนาบตดั จะตัดผานโครงสรางทีอ่ ยูทางตงั้ ท้ังหมด ไดแ ก หนา ตดั เสา ผนงั วงกบตง้ั ของประตหู นา ตา ง จะถูกเนนดว ยเสนทห่ี นกั กวา เสนท่ัวไป แบบของเสน (Line Weight) ดูรายละเอียดเพม่ิ เติม >>



ตวั อยางการใชน ํา้ หนกั ของเสน ในการเขยี นแบบแปลนอาคาร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook