Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนที่ 3 การเขียนแบบสั่งงาน

หน่วยการเรียนที่ 3 การเขียนแบบสั่งงาน

Published by pakasit120212, 2020-06-05 23:24:58

Description: Working Drawing

Search

Read the Text Version

63 การเขียนแบบสง่ั งาน (Working Drawing) iLLuSioN Home 63

บทที่ 3 การเขยี นแบบส่ังงาน สาระสาคญั แบบสั่งงานเป็ นแบบที่ช่างเทคนิคนาไปอ่านแล้วสามารถทางานได้ โดยไม่ติดขดั หรือ เกิดความขดั แยง้ กนั ฉะน้นั ผเู้ ขียนและผอู้ อกแบบตอ้ งพจิ ารณาตรวจสอบใหค้ รบถว้ นก่อนที่จะนาไป ผลิตชิ้นงาน เพ่ือไม่ให้เกิดการสูญเสียท้งั เวลาและค่าใชจ้ ่ายภายหลงั แบบส่ังงานประกอบไปดว้ ย แบบประกอบและแบบแยกชิ้น แสดงความสัมพนั ธ์หนา้ ที่ของชิ้นงานท่ีเขียนเพื่อใหก้ ารปฏิบตั ิงาน ในการประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ไดง้ ่ายและรวดเร็ว ในการเขียนแบบประกอบหรือแยกชิ้นบางส่วน ของชิ้นงานแสดงไม่ชดั เจนหรือชิ้นงานเล็กเกินไป จาเป็ นอย่างย่ิงตอ้ งเขียนแบบขยาย เฉพาะส่วน ของชิ้นงานให้ชัดเจนและอ่านง่าย ตลอดจนการใช้ตารางมาตรฐานแสดงส่วนประกอบที่เป็ น มาตรฐานของการเขียนแบบ เนื้อหา 3.1 ความหมายของแบบสัง่ งาน 3.2 ประโยชน์ของแบบสง่ั งาน 3.3 ตารางรายการ 3.4 การเขียนแบบประกอบ 3.5 การเขียนแบบแยกชิ้นส่วน จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของแบบสง่ั งานได้ 2. สามารถบอกถึงประโยชน์ของแบบสงั่ งานได้ 3. สามารถเขียนและใชต้ ารางรายการแบบได้ 4. สามารถเขียนแบบประกอบชิ้นส่วนต่าง ๆ ได้ 5. สามารถเขียนแบบแยกชิ้นส่วนงานต่าง ๆ ได้

3. การเขยี นแบบส่ังงาน 3.1 ความหมายของแบบสั่งงาน แบบส่ังงาน หมายถึง แบบท่ีเขียนแสดงรายละเอียดของงาน เพ่ือส่ังให้กระบวนการผลิต ผลิตชิ้นงานออกมาถูกต้องตามแบบ สามารถใช้งานตรงตามวตั ถุประสงค์ และมีมาตรฐาน โดยแบบสัง่ งานจะตอ้ งมีรายละเอียดท่ีถูกตอ้ ง สมบูรณ์ ครบถว้ น สามารถสื่อสารระหวา่ งผอู้ อกแบบ กบั ผูผ้ ลิตได้อย่างถูกต้องชัดเจน การเขียนแบบสั่งงานจะต้องประกอบด้วยแบบภาพประกอบ และรายละเอียดท่ีสามารถอธิบายรูปร่างและขนาดท่ีสมบูรณ์ ตลอดจนแสดงถึงกระบวนการผลิต ที่ตอ้ งการของชิ้นส่วนตา่ ง ๆ 3.2 ประโยชน์ของแบบสั่งงาน ในการผลิตชิ้นงานหรือชิ้นส่วนต่าง ๆ การเขียนแบบส่ังงานจะเป็ นสิ่งสาคญั ท่ีสามารถ กาหนดรายละเอียดและปัจจยั ในกระบวนการผลิตดงั ต่อไปน้ี 1) การผลิตและการประกอบชิ้นงาน แบบสั่งงาน เป็ นตวั บ่งช้ีวา่ ควรใช้เครื่องมือหรือ เคร่ืองจกั รชนิดใดในการผลิต โดยวิธีใดและประกอบชิ้นงานอย่างไร ถึงจะได้ผลผลิตตรงตาม จุดประสงคข์ องแบบที่ถูกตอ้ ง 2) การสั่งงานและวางแผนงาน เป็นองคป์ ระกอบหลกั ท่ีใชใ้ นการดาเนินงานของการผลิต โดยจะอ่านจากแบบสั่งงาน วางแผนการผลิตและออกรายการสั่งงานให้ปฏิบตั ิอะไรบา้ ง ตลอดจน เนน้ วา่ จุดหมายที่ตอ้ งการของแบบน้ีมีจุดเนน้ ตรงไหนบา้ งที่ควรระมดั ระวงั 3) การคดิ ราคาและประมาณการ แบบส่ังงานจะเป็นตวั กาหนดในการคิดราคาของชิ้นงาน ท่ีจะผลิตว่ามีความยากง่ายเพียงใด พิจารณาจากวสั ดุท่ีใช้ ข้นั ตอนการผลิต ขนาดพิกัดของงาน ลกั ษณะผวิ งาน เพอื่ นามาประมาณราคาและคิดราคาของชิ้นงานไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 4) การออกแบบ แบบสั่งงานเป็ นองคป์ ระกอบสาหรับผูอ้ อกแบบวา่ ชิ้นงานน้ีสามารถ รับภาระในดา้ นต่าง ๆ ไดม้ ากน้อยแค่ไหน เพ่ือจะหาขนาดชิ้นงานที่ไดอ้ อกมามีรูปร่างที่เหมาะสม ทางคุณสมบตั ิทางกลและฟิ สิกส์อยา่ งไร 5) การตรวจสอบ แบบสั่งงานเป็ นองคป์ ระกอบในการตรวจสอบว่างานท่ีผลิตออกมา ถูกตอ้ งหรือไมแ่ ละสามารถใชง้ านตรงตามวตั ถุประสงคแ์ ละมีคุณภาพเป็นอยา่ งไร 6) การเสนอรูปแบบต่อลูกค้า แบบส่ังงานเป็ นขอ้ กาหนดในการส่งงานให้ลูกคา้ โดย พิจารณาจากแบบสั่งงานเป็ นบรรทดั ฐานของชิ้นงาน ถ้าชิ้นงานผิดไปจากแบบส่ังงาน ลูกคา้ ก็จะ ไม่รับชิ้นงานน้ันได้ แต่ถ้าชิ้นงานที่ผลิตตรงตามแบบลูกค้าจะไม่รับชิ้นงานน้ีก็ไม่ได้ จึงเป็ น ขอ้ ตกลงกนั ระหวา่ งผผู้ ลิตกบั ผวู้ า่ จา้ งในงานอุตสาหกรรมทวั่ ไป

3.3 ตารางรายการ (Title Block) ต า ร า ง ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร เ ขี ย น ร า ย ล ะ เ อี ย ด ข อ ง ชิ้ น ง า น โ ด ย เ ขี ย น ต า ร า ง ร า ย ก า ร แ บ บ ไ ว ้ ทางด้านล่างขวามือของกระดาษเขียนแบบ ในตารางประกอบด้วยการเขียนรายช่ือชิ้นงาน หมายเลขชิ้นงานวสั ดุท่ีใชง้ าน ขนาดวสั ดุ จานวนชิ้นงานท่ีตอ้ งการ ชื่อผเู้ ขียนแบบ ชื่อผูอ้ อกแบบ ชื่อผตู้ รวจแบบ ชื่อชิ้นงาน หมายเลขแบบและมาตราส่วน (ดงั แสดงในรูปท่ี 3.1 ถึง 3.3) รูปท่ี 3.1 แสดงขนาดตารางรายการแบบและตารางรายการวสั ดุแบบภาษาไทย รูปท่ี 3.2 แสดงตารางรายการแบบและตารางรายการวสั ดุ แบบภาษาองั กฤษ รูปที่ 3.3 แสดงตวั อยา่ งการเขียนรายการวสั ดุ

ตวั อยา่ งการเขียนตารางรายการในกระดาษเขียนแบบ

ตวั อยา่ งการเขียนตารางรายการในกระดาษเขียนแบบ

งานเขียนแบบเก่ียวกบั งานผลิตที่เป็ นชิ้นส่วนต่าง ๆ เป็ นการเขียนแบบเพ่ือการสั่งงาน ด้านการผลิตในโรงงานท่ีเก่ียวกบั การสร้างเครื่องจกั รกล เคร่ืองมือกลและการสร้างงานในดา้ น ต่าง ๆ โดยที่วิศวกรหรือสถาปนิกได้เป็ นผูท้ าการออกแบบและเขียนแบบงานข้ึนมาอยา่ งสมบูรณ์ ท่ีสุด พร้อมท่ีจะนาเอาไปทาการสร้างหรือผลิตให้เป็ นชิ้นงานสาเร็จตามที่ต้องการได้ทันที ฉะน้นั แบบทางานจึงตอ้ งมีรายละเอียดต่าง ๆ ที่ตอ้ งแสดงลงไปในแบบงานอยา่ งครบถว้ น การเขียนแบบทางานหรือแบบสั่งงาน (Working Drawing) แบ่งออกเป็ น 2 ลกั ษณะดว้ ยกนั คือ แบบประกอบ (Assembly Drawing) และแบบแยกชิ้นส่วน (Detail Drawing) ซ่ึงจะไดก้ ล่าวถึง รายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี 3.4 การเขียนแบบประกอบ แบบประกอบ คือ แบบงานท่ีเขียนข้ึนเพื่อแสดงรูปร่าง ลกั ษณะ ตลอดจนขนาดสัดส่วน ของเครื่องจกั ร เครื่องมือกลและงานโครงสร้างต่าง ๆ ที่มีจานวนต้งั แต่ 2 ชิ้นข้ึนไปประกอบกนั อยู่ในภาพเดียวกนั โดยท่ีแบบประกอบน้ีจะแสดงให้ทราบวา่ ชิ้นส่วนต่าง ๆ เหล่าน้นั ประกอบกนั อยอู่ ยา่ งไร ชิ้นไหนอยูต่ าแหน่งใด การถอดชิ้นส่วนหรือการประกอบชิ้นส่วนเขา้ ดว้ ยกนั เพ่ือทาให้ เป็นชิ้นงานสาเร็จได้ ตอ้ งอาศยั การดูจากแบบประกอบน้ีเป็นสาคญั (ดงั แสดงในรูปท่ี 3.4) รูปท่ี 3.4 แสดงการเขียนแบบประกอบ แบบประกอบมีความสาคญั และจาเป็ นสาหรับช่างผูผ้ ลิต ตลอดจนสถาปนิกและวิศวกร ในการนาเอาแบบงานไปใช้สาหรับการทางานด้านการผลิตในโรงงาน โดยใช้แบบประกอบน้ี สาหรับการวางแผนงาน การสง่ั งานและการควบคุมการผลิต ใหเ้ ป็นไปตามแผนงานที่กาหนดเอาไว้

แบบประกอบอาจเขียนในลกั ษณะของภาพฉาย 3 ดา้ นหรือเขียนเพียง 2 ดา้ น ในบางลกั ษณะ ก็อาจจะเขียนด้วยภาพฉายเพียงด้านเดียวเท่าน้นั เช่น งานทรงกลม งานทรงกระบอกหรืองานที่มี ลกั ษณะกลมทุกชนิด แต่ในบางคร้ังก็อาจจะเขียนในลกั ษณะของภาพไอโซเมตริกก็ได้ ท้งั น้ีข้ึนอยู่ กบั งานน้นั ๆ การเขียนแบบประกอบก็เพ่ือแสดงให้ทราบวา่ ชิ้นงานที่ประกอบกนั อยู่มีดว้ ยกนั กี่ชิ้น แต่ละชิ้นประกอบกนั อย่างไร และมีความสัมพนั ธ์ในการใช้งานกันอย่างไรบ้าง หากมีการถอด ชิ้นส่วนออกจากกนั หรือประกอบเขา้ ดว้ ยกนั กส็ ามารถทราบข้นั ตอนไดจ้ ากแบบประกอบน้ี ดงั น้นั การเขียนแบบประกอบ จึงเป็ นการเขียนเพ่ือแสดงรูปร่าง ลกั ษณะ ตลอดจนชิ้นส่วน ของงานที่ประกอบกนั อยู่ โดยเขียนแสดงสดั ส่วนเท่าที่จาเป็น แสดงภาพดา้ นให้นอ้ ยท่ีสุดแต่สามารถ แสดงชิ้นส่วนให้ผูอ้ ่านแบบเขา้ ใจไดม้ ากท่ีสุด ฉะน้ันการเขียนแบบในส่วนที่มีความยุ่งยาก เช่น เส้นประ ซ่ึงเป็นส่วนท่ีถูกบงั อยู่ ส่วนใดไมจ่ าเป็นก็ใหต้ ดั ทิง้ ไป 1) หลกั การเขยี นแบบประกอบ (ดงั แสดงในรูปที่ 3.5) 1.1) การเลือกภาพท่ีจะเขียน หรือตดั สินใจว่าจะเลือกเขียนกี่ภาพ มีหลกั เกณฑ์อยูว่ า่ เขียนใหน้ อ้ ยภาพมากที่สุด แต่ตอ้ งมีความชดั เจนมากท่ีสุด และเขา้ ใจไดท้ ้งั หมด โดยคานึงถึงชิ้นงาน ประกอบกนั อยา่ งไร ในแตล่ ะชิ้นมีหนา้ ท่ีอยา่ งไร ท้งั แบบจะตอ้ งบอกรายละเอียดในภาพประกอบให้ สมบูรณ์ 1.2) การแสดงภาพตดั ในภาพประกอบชิ้นส่วนตอ้ งแสดงความสัมพนั ธ์กนั ในภาพ จะบงั หรือซอ้ นกนั อยู่ หากเป็ นส่วนสาคญั ของแบบ การแสดงการซ้อนกนั ดว้ ยเส้นประจะดูยงุ่ ยาก จึงควรเปลี่ยนเส้นประเป็ นเส้นเต็ม โดยหลกั การของภาพตดั ส่วนจะเลือกการตดั ภาพแบบไหนน้นั กข็ ้ึนอยกู่ บั รูปร่างของชิ้นงานและดุลพินิจของช่างเขียนแบบ 1.3) การแสดงเส้นประ ปกติภาพประกอบถา้ ไม่จาเป็ นจะไม่ใส่เส้นประไว้ นอกจาก ตอ้ งการเนน้ ชิ้นงานในตาแหน่งต่าง ๆ ของภาพเทา่ น้นั 1.4) การโยงช้ีหมายเลขชิ้นงาน ควรแสดงดงั น้ี ก. โยงเส้นจากชิ้นงานไปยงั ตวั เลขที่อยใู่ นวงกลม โดยใชเ้ ส้นเตม็ บาง ข. ปลายเส้นใหท้ าเป็นจุดดาเลก็ ๆ ไวใ้ หช้ ดั เจนเพือ่ เนน้ ชิ้นส่วนของงาน ค. ระยะห่างของเส้นโยงควรเทา่ กนั ง. ตวั เลขจะตอ้ งเขียนเป็นสองเทา่ ของตวั เลขที่ใชก้ าหนดขนาด

รูปท่ี 3.5 แสดงการเขียนภาพประกอบและรายการชิ้นส่วน 2) การเขียนหมายเลขแบบ แบบประกอบและแบบแยกชิ้น จะตอ้ งเขียนหมายเลขแบบ กากับไวใ้ นแบบงานทุกแผ่น ท้งั น้ีเพื่อให้ทราบว่าแบบงานเป็ นชิ้นส่วนใด และเป็ นชิ้นงานใด ท้งั น้ีการทางานด้านการผลิต อาจมีการผลิตชิ้นงานหลายชิ้น จะทาให้เกิดการสับสนได้ ดังน้ัน การกาหนดหมายเลขแบบจะเป็ นตวั บอกให้ทราบว่าแบบงานน้นั เป็ นของชิ้นส่วนใด ดงั ตวั อย่าง การเขียนหมายเลขแบบดงั ต่อไปน้ี

CP. – 01 คือหมายเลขแบบของแบบประกอบ CP. หมายถึง สัญลกั ษณ์หรือโคต๊ ยอ่ ท่ีกาหนดข้ึนมาแทนชื่อบริษทั , ช่ือของงาน หรือ เป็นช่ือยอ่ ของชิ้นส่วนน้นั ๆ ในที่น้ี CP. หมายถึง ชื่อยอ่ ของชิ้นงานคือ Center Punch 01 หมายถึง หมายเลขแบบของแบบประกอบท่ีเขียนข้ึนเป็นชิ้นท่ีเทา่ ไร ในที่น้ีหมายถึง แบบประกอบที่เขียนเป็นชิ้นที่ 1 CP.- 01 หมายถึง แบบประกอบของ Center Punch ซ่ึงเป็นผลงานท่ีเขียนข้ึนเป็นงานชิ้นที่ 1 CP. – 01 – 03 คือหมายเลขแบบของแบบแยกชิ้นส่วน CP. หมายถึง ชื่อยอ่ ของงานคือ Center Punch 01 หมายถึง แบบประกอบ ชิ้นที่ 1 03 หมายถึง แบบแยกชิ้นส่วนของชิ้นงาน ชิ้นท่ี 3 ในการออกแบบและเขียนแบบเพื่อทาการผลิตชิ้นงานท่ีเป็ นเครื่องจกั รกล และเครื่องมือกล ต่าง ๆ น้นั อาจมีมากกวา่ 1 ชิ้นข้ึนไป ดงั น้นั แบบงานท่ีเขียนข้ึนชิ้นต่อไปการเขียนหมายเลขแบบ ตอ้ งเรียงตามลาดบั ก่อนหลงั ดงั น้ีคือ 02 , 03 และ 04 ตามลาดบั เช่น สมมุติวา่ การผลิตงานชิ้นต่อไป เป็นการผลิตพดั ลมไฟฟ้า ก็อาจใชส้ ญั ลกั ษณ์ และหมายเลขแบบวา่ FAN – 02 เป็นตน้ 5.5 การเขยี นแบบแยกชิ้นส่วน แบบแยกชิ้น หมายถึง แบบงานที่เขียนแสดงชิ้นส่วนของเคร่ืองจกั รกลอุปกรณ์และ เครื่องมือกลเป็ นการเฉพาะในแต่ละชิ้น โดยแยกออกมาทาการเขียนเป็ นแบบภาพฉาย ท้งั น้ีเพ่ือ แสดงให้เห็นรูปร่าง ลกั ษณะ ตลอดจนสัดส่วนและรายละเอียดต่าง ๆ ของชิ้นงานอย่างละเอียด ลงไวใ้ นแบบงาน แบบแยกชิ้นแต่ละชิ้นจะแสดงรูปร่างของงานเป็ นภาพฉาย 3 ดา้ น ซ่ึงงานบาง ลกั ษณะอาจแสดงไวเ้ พียง 2 ด้าน หรืองานบางชนิดจะแสดงไวเ้ พียงด้านเดียวเท่าน้ันเอง เช่น งานทรงกลม งานเพลากลมหรืองานทรงกระบอกตา่ ง ๆ เป็นตน้ นอกจากน้นั แบบแยกชิ้นยงั ตอ้ งมีการกาหนดขนาด การกาหนดลกั ษณะผิวงาน จานวนชิ้น ที่ตอ้ งการผลิต ชนิดของวสั ดุ ตารางรายการแบบ และตารางรายการชิ้นส่วน เพื่อที่จะนาส่งให้ช่าง ในโรงงานทาการผลิตตามแบบที่กาหนดต่อไป การเขียนแบบแยกชิ้นส่วน สามารถแสดงรูปร่าง ลกั ษณะของชิ้นงานแตล่ ะชิ้นไวอ้ ยา่ งละเอียด (ดงั แสดงในรูปท่ี 3.6)

รูปที่ 3.6 แสดงแบบแยกชิ้นส่วนท่ีเขียนเป็ นภาพฉายดา้ นเดียว การเขียนแบบแยกชิ้นส่วนจะต้องมีความถูกต้องและสมบูรณ์ สามารถนาชิ้นงานน้ี ไปทาการผลิตหรือสร้างข้ึนไดท้ นั ที ดงั น้ันแบบจึงตอ้ งมีการกาหนดขนาด สัดส่วน รายละเอียด ต่าง ๆ เอาไวอ้ ยา่ งครบถว้ น 1) หลกั การเขยี นแบบแยกชิ้น (ดงั แสดงในรูปท่ี 3.7) 1.1) เลือกเขียนด้านที่เหมาะสม โดยใช้หลกั เกณฑ์การเขียนภาพฉาย แต่จะมีหลกั อยู่ว่าภาพดา้ นหน้าจะตอ้ งแสดงตาแหน่งการใช้งาน สภาวะการผลิตและรูปร่างท่ีสามารถแสดง รายละเอียดไดช้ ดั เจนท่ีสุด

1.2) จานวนภาพท่ีเขียนในแบบแยกชิ้นจะเลือกเขียนด้านเท่าที่จาเป็ นเท่าน้ัน บางชิ้นส่วนจะเขียน 3 ด้าน บางชิ้นส่วนจะเขียนเพียง 2 ด้านหรือบางชิ้นส่วนอาจเขียนเพียง ดา้ นเดียว แต่สามารถบอกรายละเอียดไดช้ ดั เจนมากที่สุด 1.3) ชิ้นส่วนที่เป็ นมาตรฐาน เช่น สลักเกลียว นัต บูช อาจไม่ต้องเขียนไวแ้ ต่ใช้ การกาหนดชนิดและขนาดลงในแบบงานในตารางรายการชิ้นส่วน 1.4) การเลือกสเกล เพ่ือให้แบบชัดเจน อ่านเขา้ ใจง่าย ควรใช้มาตราส่วนเต็มคือ 1 : 1 หากเป็ นชิ้นส่วนเล็กใหใ้ ชม้ าตราส่วนขยาย แต่ถา้ ขนาดใหญ่ก็ใหใ้ ชม้ าตราส่วนยอ่ ตามความ เหมาะสม 1.5) การให้ขนาดของแบบแยกชิ้น ให้ขนาดตามหลกั การเขียนภาพฉายเช่นเดียวกนั โดยบอกขนาดใหล้ ะเอียดชดั เจนและครบถว้ น 1.6) การเขียนแบบแยกชิ้น ตามปกติจะเขียนแบบชิ้นงาน 1 ชิ้นต่อกระดาษเขียนแบบ 1 แผน่ พร้อมดว้ ยรายละเอียดต่าง ๆ อยา่ งครบถว้ น เช่น - ภาพฉายท้งั 3 ด้านหรือภาพใดภาพหน่ึงตามลกั ษณะของหลกั การเขียนแบบ แยกชิ้น ขอ้ 1.2 - ขนาดสดั ส่วนท้งั หมดของแบบใหก้ าหนดลงในแบบงาน - ลกั ษณะของผวิ งาน - ช่ือชิ้นส่วน และชื่อชิ้นงาน - ชิ้นท่ีเท่าไรของแบบ - จานวนชิ้นที่ตอ้ งใช้ - ชนิดของวสั ดุ - มาตราส่วนในการเขียนแบบ - หมายเลขแบบ ช่ือผเู้ ขียน ช่ือผตู้ รวจ วนั ที่และอ่ืน ๆ

รูปท่ี 3.7 แสดงตวั อยา่ งการเขียนแบบแยกชิ้นส่วนพร้อมรายละเอียด

ตวั อยา่ งการเขียนแบบแยกชิ้นส่วนจากแบบประกอบชิ้นส่วนชุดยดึ เกจวดั ชิ้นท่ี 1

ตวั อยา่ งการเขียนแบบแยกชิ้น (ชิ้นที่ 1) ของชุดยดึ เกจวดั

ตวั อยา่ งการเขียนแบบแยกชิ้น (ชิ้นที่ 2) ของชุดยดึ เกจวดั

ตวั อยา่ งการเขียนแบบแยกชิ้น (ชิ้นที่ 3 , 4) ของชุดยดึ เกจวดั

สรุป ในงานผลิตชิ้นส่วนตา่ ง ๆ จะตอ้ งมีการประกอบและแยกชิ้น จะเห็นไดว้ า่ ชิ้นงานที่ประกอบ กนั ต้งั แต่ 2 ชิ้นข้ึนไป บางคร้ังอาจดูไม่ออกวา่ รูปร่างลกั ษณะท่ีแทจ้ ริงน้นั เป็ นอย่างไร จึงตอ้ ง แสดงรูปร่างของชิ้นงานโดยการเขียนแบบแยกชิ้นให้เห็นส่วนต่าง ๆ เพ่ือนาไปสู่กระบวน การผลิตท่ีไม่ผิดพลาด เช่นเดียวกนั ในกระบวนการผลิตก็ต้องมีการประกอบชิ้นงานให้ได้ รูปร่างและขนาดตามต้องการ จาเป็ นต้องเขียนแสดงการประกอบชิ้นงานให้ฝ่ ายผลิตได้ ทราบถึงกระบวนการการประกอบชิ้นงานแต่ละชิ้นเขา้ ดว้ ยกนั อยา่ งถูกตอ้ ง ในการเขียนแบบ ประกอบและแยกชิ้นน้ัน ส่ิ งหน่ึงท่ีจะขาดไม่ได้ก็คือ การกาหนดรายละเอียดลงใน ตารางรายการ ผูเ้ ขียนแบบตอ้ งกาหนดรายละเอียดของแบบแต่ละชิ้น ลงในตารางรายการให้ ถูกตอ้ งตามความตอ้ งการของการผลิตชิ้นงาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook