Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์1

เชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์1

Published by pakasit120212, 2020-12-10 04:55:09

Description: หน่วยที่4 ทฤษฎีงานเชื่อมไฟฟ้า อุปกรณ์ในงานเชื่อมไฟฟ้า

Search

Read the Text Version

หน่วยการสอนทL่ี O4 GO ทฤษฎงี านเช่ือมไฟฟ้า อปุ กรณ์ในงานเช่ือมไฟฟ้า วชิ า งานเชื่อมไฟฟ้า 1 รหสั วชิ า 2103 - 2001

4. ทฤษฎงี านเชื่อมไฟฟ้า อุปกรณ์ในงานเช่ือมไฟฟ้า กระบวนการเช่ือมไฟฟ้าดว้ ยลวดเช่ือมหุม้ ฟลกั ซ์ เคร่ืองเชื่อมไฟฟ้า 2 NAPARAT THANGWEANG

4. ทฤษฎงี านเชื่อมไฟฟ้า อุปกรณ์ในงานเชื่อมไฟฟ้า  เป็ นกระบวนการเชื่อมอาร์กดว้ ยไฟฟ้า ท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงพลงั งานความ ร้อน โดยความร้อนจะเกิดจากการอาร์กระหว่างลวดเช่ือมกบั ดลหะชิ้นงาน ซ่ีงมี อุณหภูมิสูงจนสามารถทาให้โลหะชิ้นงานเกิดการหลอมละลายและเติมลงในลวด เชื่อม  ลวดเช่ือมท่ีถูกเติมลงในแนวเช่ือมจะมีส่วนผสมต่างๆ มากมายข้ึนอยู่กบั การ เลือกใชง้ านใหเ้ หมาะสม นอกจากน้ีแลว้ ฟลกั ซ์ที่หุม้ อยรู่ อบแกนของลวดเช่ือมยงั มี คุณสมบตั ิช่วยใหก้ ารเชื่อมมีประสิทธิภาพ และแนวเชื่อมมีคุณภาพดีอีกดว้ ย 3 NAPARAT THANGWEANG

4. ทฤษฎงี านเช่ือมไฟฟ้า อุปกรณ์ในงานเชื่อมไฟฟ้า 4.1 กระบวนการเชื่อมไฟฟ้าด้วยลวดเช่ือมหุ้มฟลกั ซ์ เป็นกระบวนการเชื่อมท่ีอาศยั ความร้อนที่เกิดจากการ Arc ของไฟฟ้าระหวา่ ง ลวดเชื่อมท่ีมีสาพอกหุม้ กบั ชิ้นงานท่ีทาการเชื่อมและในขณะท่ีเกิดการ Arc น้นั ความร้อนจะหลอมละลายบางส่วนของเน้ือโลหะงานที่ทาการเช่ือมและ ขณะเดียวกนั นน่ั เองปลายของลวดเช่ือมกห็ ลอมละลายลงไปดว้ ย บริเวณการหลอม ละลายรวมกนั ระหวา่ งเน้ือโลหะงานกบั ลวดเช่ือม เรียกวา่ Weld Metal ซ่ึงกค็ ือแนว เช่ือมหรือรอยเช่ือมนน่ั เอง ในขณะการอาร์คสารพอกหุม้ ท่ีเรียกวา่ Fluxes จะหลอม ละลายแตกตวั เกิดเป็นกลุม่ แกส๊ ข้ึน๙งทาหนา้ ท่ีปกคลุมแนวเชื่อมเพอ่ื ป้องกนั มิให้ ไนโตรเจน , ออกซิเจนซ่ึงมีอยใู่ นอากาศเขา้ ไปรวมตวั กบั น้าโลหะที่กาลงั หอม ละลายและบางส่วนของฟลกั ซ์จะกลายสภาพเป็น Slag เคลือบอยบู่ นผงิ ของแนว เชื่อมทาใหแ้ นวเช่ือมเยน็ ตวั ลงอยา่ งชา้ ๆ 4 NAPARAT THANGWEANG

4. ทฤษฎงี านเชื่อมไฟฟ้า อุปกรณ์ในงานเช่ือมไฟฟ้า 4.2 เครื่องเช่ือมไฟฟ้า เคร่ืองเช่ือมไฟฟ้า จดั เป็นอุปกรณ์ท่ีสาคญั ในงานเช่ือม มีหนา้ ที่ผลิต กระแสไฟฟ้าเช่ือม สามารถแบ่งออกเป็น 2 คือ เคร่ืองเช่ือมชนิดกระแสคงท่ี Content Current และเครื่องเช่ือมชนิดแรงเคลื่อนคงที่ Constant Voltage ความแตดต่างของเครื่องเชื่อมท้งั สองชนิดน้ี พิจารณาไดจ้ าก การเปรียบเทียบ คุณลกั ษณะของ Volt Ampere Curves ซ่ึงไดจ้ ากการกาหนดจุดระหวา่ งกระแส เชื่อมกบั แรงเคลื่อนในขณะเชื่อมโดยกาหนดใหแ้ กนนอนเป็นกระแสเช่ือมและ กระแสต้งั เป็นแรงเคล่ือน 5 NAPARAT THANGWEANG

4. ทฤษฎงี านเช่ือมไฟฟ้า อปุ กรณ์ในงานเชื่อมไฟฟ้า(ต่อ) 4.2 เคร่ืองเชื่อมไฟฟ้า(ต่อ) 4.2.1 เครื่องเชื่อมชนิดกระเสคงที่ (CC) เครื่องเช่ือมชนิดกระแสคงท่ี เป็นระบบท่ีใชก้ บั เครื่องเช่ือมธรรมดา ลวด เชื่อมหุม้ ฟลกั ซ์เคร่ืองเช่ือม TIG เครื่องคาร์บอนอาร์ก เคร่ืองเซาะร่อง (Guging) และ เคร่ืองใชอ้ ม stud เครื่องเช่ือมชนิดน้ีจะมีแรงเคล่ือนสูงสุดเม่ือไม่มีกระแสและแรง เคลื่อนท่ีต่าเม่ือกระแสเชื่อมเพิมข้ึนสูง ในภาวะการเชื่อมปกติจะมีแรงเคล่ือนอาร์ก (Arc voltage) ระหวา่ ง 20-40 โวลต์ ในขณะทีแรงเคลื่อนวงจรเปิ ด (open circuit voltage)อยรู่ ะหวา่ ง 60-80 โวลต์ เคร่ืองเชื่อมระบบกระแสคงที่มีท้งั กระแสไฟตรง และกระแสไฟสลบั รวมกนั หรืออาจมีท้งั แบบเครื่องหมุนหรือแบบไม่หมุนกไ็ ด้ 6 NAPARAT THANGWEANG

4. ทฤษฎงี านเชื่อมไฟฟ้า อุปกรณ์ในงานเช่ือมไฟฟ้า(ต่อ) 4.2.2 เครื่องเช่ือมชนิดแรงเคล่ือนคงท่ี (CV) เครื่องเชื่อมชนิดแรงเคล่ือนคงที่ เคร่ืองเช่ือมชนิดน้ีจะใหแ้ รงเคลื่อนคงท่ี จะ ไม่เปลี่ยนแปลงตามขนาดของกระแสเชื่อมสามารถใชก้ บั การเช่ือมแบบก่ึงอตั โนมตั ิที่ ใชร้ ะบบการป้อนลวดแบบอตั โนมตั ิ และผลิตเฉพาะ กระแสไฟตรงเท่าน้นั ซ่ึงอาจจะ เป็นแบบขบั ดว้ ยมอเตอร์ไฟฟ้าหรือเครื่องยนตห์ รือแบบหมอ้ แปลง แบบ เรียง กระแส รูปที่ 2.1 กราฟแสดงเครื่องเชื่อมชนิดแรงเคล่ือนคงที่ 7 NAPARAT THANGWEANG

4. ทฤษฎงี านเช่ือมไฟฟ้า อปุ กรณ์ในงานเชื่อมไฟฟ้า(ต่อ) 4.2.3 เคร่ืองเช่ือมแบ่งตามลกั ษณะกาลงั ดา้ นการผลิต เคร่ืองเชื่อมไฟฟ้าท่ีใชง้ านกนั ทวั่ ๆ ไปน้นั จะเป็นแบบชนิดกระแสตรง (Direct current) เรียกวา่ เคร่ืองเชื่อม DC กบั แบบชนิดกระแสสลบั ซ่ึงเรียกส้นั ๆ วา่ เครื่องเชื่อม AC กไ็ ด้ 1. เครื่องเชื่อมกระแสตรง (DC) เคร่ืองเชื่อมไฟฟ้าชนิดกระแสตรงมีหลายแบบ เช่น 1.1 แบบเยนเนอเรเดอร์ที่ขบั ดว้ ยมอเตอร์ไฟฟ้า (Electric Motor Drivenmoter Generator) 1.2 ขบั ดว้ ยเครื่องยนต(์ Engine Motor Generator) 1.3 แบบเรกดิไฟเออร์ (Rectifier) 8 NAPARAT THANGWEANG

4. ทฤษฎงี านเชื่อมไฟฟ้า อุปกรณ์ในงานเช่ือมไฟฟ้า(ต่อ) 2. เครื่องเชื่อมกระแสสลบั (AC) เคร่ืองเช่ือมชนิดกระแสสลบั จะมีลกั ษณะการทางานเหมือนหมอ้ แปลงไฟฟ้า (Transfomer)โดยเครื่องเช่ือมจะทาหนา้ ที่เปล่ียนแรงเคลื่อนไฟฟ้าจาก Line volttge ใหเ้ ป็นแรงเคลื่อนไฟฟ้าสาหรับเช่ือมเคร่ืองเช่ือมแบบ ทรานส์ฟอร์เมอร์ยงั สามารถ แบ่งออกได้ 3 ชนิด ซ่ึงการแบ่งน้ีจะแบ่งตามวธิ ีที่ใชใ้ นการปรับกระแสตอ่ •การปรับกระแสโดยการปรับรีแอกเตอร์ (Adjustable ReactorType) •การปรับกระแสโดยการเคล่ือนที่คอยล์ (Movable coiI Type) •การปรับกระแสโดยใชแ้ กนเหลก็ (Movable core Type) 9 NAPARAT THANGWEANG


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook