Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์1

เชื่อมอาร์กด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์1

Published by pakasit120212, 2020-12-10 04:50:55

Description: หน่วยที่2 การเชื่อมไฟฟ้าต่อตัวที่ท่าราบ

Search

Read the Text Version

หน่วยการสอนทL่ี O2 GO การเช่ือมไฟฟ้าต่อตัวทที ่าราบ วชิ า งานเช่ือมไฟฟ้า 1 รหสั วชิ า 2103 - 2001

การเช่ือมไฟฟ้าต่อตวั ทที ่าราบ ข้นั ตอนเชื่อมไฟฟ้าต่อตวั ทีท่าราบ เทคนิควิธีการเชื่อมไฟฟ้า ขอ้ เสนอแนะ งานเช่ือมไฟฟ้าต่อตวั ทีท่าราบ 2 NAPARAT THANGWEANG

การเช่ือมไฟฟ้าต่อตวั ทที ่าราบ  การต่อชิ้นงานรูปตวั ทีเป็นรอยตอ่ ที่ใชก้ นั มากในงานเช่ือม ผทู้ ี่จะปฏิบตั ิงานเช่ือม รอยตอ่ รูปตวั ทีตอ้ งมีทกั ษะการเชื่อมที่ดีจึงจะสามารถปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ งานมีความแขง็ แรงและสวยงาม การท่ีจะมีทกั ษะการเช่ือมตอ่ รูปตวั ที่จาเป็นตอ้ งมี การฝึกใหเ้ กิดความชานาญ เพอื่ ใหส้ ามรถปฏิบตั ิงานไดม้ ีคุณภาพ 3 NAPARAT THANGWEANG

การเชื่อมไฟฟ้าต่อตวั ทที ่าราบ 2.1 ข้นั ตอนเช่ือมไฟฟ้าต่อตวั ทที ่าราบ 2.1.1ปรับกระแสเช่ือมในช่วง 80 – 120 แอมแปร์ 2.1.2 เชื่อมยดึ ชิ้นงานใหไ้ ดฉ้ าก โดยใชอ้ ุปกรณ์ช่วยในการวางตาแหน่งชิ้นงาน และเช่ือมยดึ ชิ้นงานท้งั สองดา้ นใหแ้ น่น รูปท่ี 2.1 เช่ือมยดึ ชิ้นงานใหไ้ ดฉ้ าก NAPARAT THANGWEANG 4

การเชื่อมไฟฟ้าต่อตวั ทที ่าราบ 2.1 ข้นั ตอนเช่ือมไฟฟ้าต่อตัวทที ่าราบ 2.1.3 วางชิ้นงานใหอ้ ยตู่ าแหน่งท่าราบ เริ่มเชื่อมจากขอบชิ้นงานทางขอบซา้ ย ใหม้ ุมเดินลวดประมาณ 60o - 70o และมุมงานประมาณ 45o - 70o รูปที่ 2.2 มุมเดินลวดประมาณ 60o - 70o รูปที่ 2.3 มุมงานประมาณ 45o - 70o 5 NAPARAT THANGWEANG

การเชื่อมไฟฟ้าต่อตวั ทที ่าราบ 2.1 ข้ันตอนเช่ือมไฟฟ้าต่อตวั ทีท่าราบ 2.1.4 เคลื่อนท่ีลวดเชื่อมใหส้ ม่าเสมอ และส่ายลวดเชื่อมเลก็ นอ้ ย เพอ่ื ใหแ้ นว เชื่อมหลอมละลายลึกไดส้ มบูรณ์ โดยพยายามใหร้ ะยะอาร์กส้ันท่ีสุด รูปท่ี 2.4 การเคลื่อนท่ีลวดเชื่อม และส่ายลวดเชื่อม 6 NAPARAT THANGWEANG

การเชื่อมไฟฟ้าต่อตวั ทที ่าราบ 2.1 ข้นั ตอนเชื่อมไฟฟ้าต่อตวั ทที ่าราบ 2.1.5 เม่ือเคล่ือนลวดเช่ือมจนถึงจุดสุดแนวเช่ือม ไม่ควรยกลวดเชื่อมข้ึน โดยเร็ว ตอ้ งเดิมลวดเช่ือมใหเ้ ตม็ แนว รูปที่ 2.5 การเดิมลวดเช่ือมใหเ้ ตม็ แนว NAPARAT THANGWEANG 7

การเชื่อมไฟฟ้าต่อตวั ทที ่าราบ 2.2 เทคนิควธิ ีการเชื่อมไฟฟ้า 2.2.1 เทคนิคการส่ายลวดเชื่อม บางคร้ังขณะเคลื่อนลวดเช่ือม จาเป็นตอ้ งมีการส่ายลวดเชื่อมเพอื่ ช่วยใหแ้ นว เชื่อมมีการละลายลึกไดส้ มบูรณ์ และมีขนาดตามตอ้ งการ นอกจากน้ียงั ช่วยให้ แนวเชื่อไม่เกิดการกดั แหวง่ บริเวณขอบแนวเชื่อม และเกิดการลน้ แนว ลกั ษณะของการส่ายลวดเช่ือม 8 NAPARAT THANGWEANG

การเชื่อมไฟฟ้าต่อตวั ทที ่าราบ 2.2 เทคนิควธิ ีการเช่ือมไฟฟ้า 2.2.2 เทคนิคการเชื่อมต่อตวั ทีท่าราบ ชิ้นงานจะเอียงประมาณ 45o กบั พ้นื มุมของลวดเช่ือมกบั ชิ้นงานประมาณ 65 -70o และมุมงานประมาณ 40 – 50 oถา้ ตอ้ งการเชื่อแนวที่ 2 มุมขอองลวดเชื่อมจะเท่ากบั แนวแรก แต่จะตอ้ งส่ายหวั เช่ือมซา้ ยขวาเลก็ นอ้ ย เพ่อื ใหแ้ นวเชื่อมนูนมากเกินไป ดงั แสดงในรูป 2.6 รูปท่ี 2.4 การเคลื่อนที่ลวดเช่ือม และส่ายลวดเชื่อม 9 NAPARAT THANGWEANG

การเชื่อมไฟฟ้าต่อตวั ทที ่าราบ 2.2 เทคนิควธิ ีการเชื่อมไฟฟ้า 2.2.2 เทคนิคการเช่ือมต่อตัวทีท่าราบ ชิ้นงานจะเอียงประมาณ 45o กบั พ้ืน มุมของลวดเช่ือมกบั ชิ้นงานประมาณ 65 -70o และมุมงานประมาณ 40 – 50 oถา้ ตอ้ งการเช่ือแนวท่ี 2 มุมขอองลวดเช่ือมจะเท่ากบั แนวแรก แตจ่ ะตอ้ งส่ายหวั เช่ือมซา้ ยขวาเลก็ นอ้ ย เพือ่ ใหแ้ นวเชื่อมนูนมากเกินไป ดงั แสดงในรูป 2.6 รูป 2.6 เชื่อมไฟฟ้าต่อตวั ทีท่าราบ 10 NAPARAT THANGWEANG

การเช่ือมไฟฟ้าต่อตวั ทที ่าราบ 2.2 เทคนิควธิ ีการเชื่อมไฟฟ้า 2.2.2 เทคนิคการเช่ือมต่อตวั ทีท่าราบ ชิ้นงานจะเอียงประมาณ 45o กบั พ้นื มุมของลวดเชื่อมกบั ชิ้นงานประมาณ 65 -70o และมุมงานประมาณ 40 – 50 oถา้ ตอ้ งการเช่ือแนวท่ี 2 มุมขอองลวดเชื่อมจะเท่ากบั แนวแรก แตจ่ ะตอ้ งส่ายหวั เช่ือมซา้ ยขวาเลก็ นอ้ ย เพื่อใหแ้ นวเชื่อมนูนมากเกินไป ดงั แสดงในรูป 2.6 รูปที่ 2.4 การเคล่ือนท่ีลวดเช่ือม และส่ายลวดเช่ือม 11 NAPARAT THANGWEANG

การเช่ือมไฟฟ้าต่อตวั ทที ่าราบ 2.2 เทคนิควธิ ีการเชื่อมไฟฟ้า 2.2.2 เทคนิคการเช่ือมต่อตวั ทีท่าราบ ชิ้นงานจะเอียงประมาณ 45o กบั พ้นื มุมของลวดเชื่อมกบั ชิ้นงานประมาณ 65 -70o และมุมงานประมาณ 40 – 50 oถา้ ตอ้ งการเช่ือแนวท่ี 2 มุมขอองลวดเชื่อมจะเท่ากบั แนวแรก แตจ่ ะตอ้ งส่ายหวั เช่ือมซา้ ยขวาเลก็ นอ้ ย เพื่อใหแ้ นวเชื่อมนูนมากเกินไป ดงั แสดงในรูป 2.6 รูปที่ 2.4 การเคล่ือนท่ีลวดเช่ือม และส่ายลวดเช่ือม 12 NAPARAT THANGWEANG

การเช่ือมไฟฟ้าต่อตวั ทที ่าราบ 2.3 ข้อเสนอแนะ 2.3.1 การตอ่ แนวเชื่อมเมื่อลวดเช่ือมหมดเสน้ ควรเริ่มอาร์กบริเวณห่างจาก จุดสิ้นสุดลวดเช่ือมเลก็ นอ้ ย เมื่อเกิดการอาร์กจึงเคลื่อนลวดเชื่อมกลบั มาบริเวณ จุดสุดแนวเช่ือม 2.3.2 ถา้ ตอ้ งการเชื่อมแนวท่ี 2 ทบั แนวแรก ตอ้ งทาความสะอาดแนวเช่ือมแนวแรก ใหส้ ะอาดเสียก่อนจึงเช่ือมได้ และใชเ้ ทคนิคเหมือนเดิม อาจเพิม่ อตั ราการเติม ลวดเชื่อมใหม้ ากข้ึน เพราะแนวเชื่อมจะกวา้ งกวา่ แนวที่ 1 2.3.3 อยา่ ส่ายลวดเชื่อมกวา้ งเกินไป จะทาใหเ้ กิดรอยกดั แหวง่ บริเวณขอบของแนว เช่ือม 13 NAPARAT THANGWEANG

การเชื่อมไฟฟ้าต่อตวั ทที ่าราบ 2.3 ข้อเสนอแนะ รูปท่ี 2.6 รอยกดั แหวง่ บริเวณขอบของแนวเชื่อม 14 NAPARAT THANGWEANG

การเชื่อมไฟฟ้าต่อตวั ทที ่าราบ 2.3 ข้อเสนอแนะ 2.3.1 ขนาดของแนวเชื่อมจะอยรู่ ะหวา่ ง 0.2t-0.7t เม่ือt = ความหนาชิ้นงาน 2.3.2 ควรจบั หวั เช่ือมท้งั สองมือ และใชห้ นา้ กากสวมหวั จะทาใหก้ ารเดินลวดเชื่อม เท่ียงตรง 15 NAPARAT THANGWEANG


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook