หนว่ ยท่ี 2 กระบวนการเชอ่ื มอาร์กโลหะแก๊สคลมุ
1.กระบวนการเชื่อมอารก์ โลหะแกส๊ คลุม การเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุม (Gas Metal Arc Welding) GMAW เป็นการเชื่อมชนิดอาร์ก ด้วยไฟฟ้าแบบกึ่งอัตโนมัติ โดยใช้ ลวดเชื่อมส้ินเปลืองขนาดเล็กเป็นม้วนสามารถเชื่อมต่อเน่ืองได้ เป็นตัวอาร์ก และเติมเน้ือโลหะเชื่อมลงในบ่อหลอมเหลวภายใต้แก๊สปก คลมุ แนวเช่ือมจากชัน้ บรรยากาศ 1.1 ความเป็นมาของการเชือ่ มอารก์ โลหะแกส๊ คลมุ เร่ิมต้นในชว่ งปี คศ. 1925 ประเทศทางยุโรปไดม้ ีบรษิ ัทแหง่ หนึ่งเริ่มทาการทดลองการใช้งาน ซึ่งในช่วง 25 ปีแรกผลในการใช้งาน ไม่ประสบผลสาเร็จเท่าที่ควร ต่อมาในปี คศ. 1950 ได้มีการคิดค้นนาแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เข้ามาใช้เป็นแก๊สปกคลุมงานเช่ือม ทาให้ เชื่อมเหล็กกล้าคาร์บอนได้สาเร็จ และได้มีพัฒนาการผสมแก๊สปกคลุมข้ึน ระหว่างปี คศ. 1960 – 1985 ต่อมาประเทศญ่ีปุ่น ได้นาระบบ การเช่ือมอาร์กโลหะแก๊สคลุม เข้ามาใช้ในการผลิตสินค้าอย่างแพร่หลาย ซึ่งมียอดการใช้ระบบการเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุมมากเป็น อนั ดบั 2 ของการผลิต โดยได้รบั ความนิยมอย่างมากในอตุ สาหกรรมประกอบรถยนต์ งานโครงสรา้ งเหล็ก สะพาน และการต่อเรือ เป็นตน้ ปัจจุบันการเชื่อมอาร์กโลหะแก๊สคลุมน้ีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในงานอุตสาหกรรม เพราะสามารถทาการเช่ือมได้อย่างรวดเร็ว ให้ความแขง็ แรงสงู และสามารถเชอื่ มโลหะไดห้ ลายชนดิ เช่น เหล็กกลา้ คาร์บอน เหลก็ กล้าไร้สนิม อลมู เิ นยี มเป็นตน้
การเช่ือมอารก์ โลหะแกส๊ คลมุ
1.2 หลักการเชอื่ มเบื้องตน้ ของการเชอ่ื มอาร์กโลหะแกส๊ คลุม หลักการเบื้องต้นของกระบวนการเช่อื มโลหะแกส๊ คลมุ
1.3 วงจรเครอื่ งเชื่อมและอุปกรณใ์ นการเชอ่ื มอาร์กโลหะแกส๊ คลุม วงจรเครอื่ งเช่อื มและอุปกรณใ์ นการเช่ือมอาร์กโลหะแก๊สคลมุ
1.4 การนาไปใชง้ าน ในกระบวนการเชื่อมอารก์ โลหะแกส๊ คลมุ ลวดเชื่อมจะถกู ป้อนมายังหัวเชือ่ มด้วยระบบอัตโนมตั ิทสี่ ามารถควบคมุ ความเร็วการ ปอ้ นได้ สาหรับการส่ายหวั เชอ่ื มขนึ้ อยู่กับระบบการเชื่อม ดังน้ี (Semi Automatic Welding) เป็นกระบวนการเชอ่ื มแบบกงึ่ อตั โนมตั ิ ซึ่งอุปกรณค์ วบคุมการเชือ่ มจะถกู ควบคุมการทางานดว้ ยมอื ยกเว้นการป้อนลวดสชู่ ้นิ งาน
ขอ้ ดี ขอ้ เสีย ของการเชื่อมอารก์ โลหะแกส๊ คลมุ
ข้อดขี องการเช่ือมอาร์กโลหะแกส๊ คลุม 1. สามารถเคล่ือนท่ีหัวเช่ือมให้รวดเร็วได้ ทาให้ปริมาณความร้อนเข้าสู่รอยเชื่อมต่า จึงมีผลกระทบต่อโครงสร้างการเช่ือมตรง บริเวณรอบรอยเชื่อม ซ่ึงจะเกิดการจัดเรียงตัวของโมเลกุลและการเปลี่ยนเกรนใหม่ไม่มาก (Grain Growth) เน่ืองจากมีบริเวณกระทบ รอ้ นแคบ การถ่ายโอนความร้อนเขา้ สู่งานไม่มากทาให้งานเชอ่ื มบดิ ตัวน้อย 2. ใหค้ ุณสมบตั ติ ่อการหลอมลึกดี จงึ มีประสิทธิภาพในการเชือ่ มบากมมุ แคบ และยังลดขนาดของรอยเช่ือมฉาก (Fillet Weld) ได้ อกี ดว้ ยเมอื่ เปรยี บเทยี บกับวธิ ีการเช่อื มแบบอื่น 3. เมือ่ เปรียบเทียบการเช่อื มอาร์กโลหะแก๊สคลุมกบั การเชือ่ มไฟฟ้าดว้ ยลวดเชือ่ มแล้วนั้น การเชอื่ มอาร์กโลหะแก๊สคลุมจะสามารถ เช่ือมงานได้รวดเร็วกว่า และสามารถเดินแนวเช่ือมได้ยาวและต่อเนื่องทาให้มีความสะดวก เนื่องจากการเช่ือมแนวยาวนั้น ไม่ต้อง เสียเวลาในการเปล่ยี นลวดเชอื่ มบอ่ ย ๆ
ข้อดขี องการเช่ือมอาร์กโลหะแกส๊ คลุม 4. สามารถเช่อื มตอ่ เนือ่ งได้โดยไม่ตอ้ งหยุดเปลย่ี นลวดเชื่อมทาใหเ้ ช่ือมรอยเชอ่ื มทมี่ คี วามยาวมากได้ 5. สามารถเช่ือมได้ท้งั แบบธรรมดาและ แบบออโตเมตกิ 6. สามารถเช่อื มไดท้ กุ ตาแหนง่ แนวเชื่อม 7. สามารถเชื่อมงานโลหะไดเ้ กอื บทกุ ชนิด เชน่ เหล็กกลา้ คารบ์ อน (CarbonSteel) เหลก็ กล้าไร้สนมิ (Stainlesssteel) อลูมิเนยี ม (Aluminum) ทองแดง (Copper) เป็นต้น 8. น้าหนกั โลหะของลวดเชอ่ื มท่ีเตมิ ลงสบู่ ่อหลอมเหลวมปี ริมาณที่แนน่ อนในหนงึ่ หนว่ ยเวลา 9. ไม่ต้องขจัดแสลกทีป่ กคลุมรอยเชอื่ ม มโี ลหะกระเด็นไมม่ ากจึงประหยดั ค่าใชจ้ า่ ยในการทาความสะอาดงานเชื่อม 10. ไม่มีสแลก (Slag) จงึ ไมม่ ีปัญหาฟลักซร์ วมตวั กับแนวเชอ่ื มหรอื สแลกฝังใน (Slag Inclusion)
ขอ้ เสียของการเช่อื มอาร์กโลหะแก๊สคลมุ 1. เคร่อื งเชื่อมอาร์กโลหะแกส๊ คลุมมรี าคาแพงกว่าเคร่ืองธรรมดาท่ัวไป 2. มีอุปกรณแ์ ละส่วนประกอบมากทาใหไ้ มส่ ะดวกในการเคลอ่ื นย้าย 3. การต้ังค่าตัวแปรการเชื่อมต่าง ๆ ตอ้ งมคี วามเข้าใจ และฝกึ มาอย่างดี 4. หวั ฉีดแกส๊ มีขนาดใหญท่ าใหม้ องบอ่ หลอมเหลวและทิศทางการเคลื่อนทข่ี องหวั เชื่อมไดไ้ มช่ ัดเจน 5. สายเช่ือมมีระยะจากัด เชอ่ื มงานทีอ่ ยหู่ า่ งมากไม่ได้ 6. บรเิ วณลมแรงต้องจัดหาทปี่ ้องกนั ไม่ใหล้ มพัดเอาแก๊สปกคลุมหลุดออกจากแนวเชื่อมได้
2. กระบวนการเช่ือม Flux Core Wire การเช่ือม FluxCoreWireเป็นกระบวนการเช่ือมอาร์กที่เกิดข้ึนระหว่างลวดเช่ือมกับช้ินงานซึ่งลวดเช่ือมจะถูกป้อนลงสู่บ่อ หลอมเหลวอย่างต่อเนอื่ ง และแกส๊ ปกคลมุ บริเวณการอารก์ จะได้มาจากฟลกั ซ์ทบี่ รรจุอยู่ภายในลวดเชอ่ื มเผาไหมขณะทาการอาร์ก ซ่ึงการ เชอ่ื มน้สี ามารถจะเลอื กใช้แก๊สคลุมหรือไม่ใชก้ ไ็ ดข้ ึน้ อยู่กับการเลือกใช้ลวดเชื่อม การเชื่อม Flux Core Wire เป็นการเช่ือมลักษณะเดยี วกนั กบั การเชอ่ื มอาร์กโลหะแกส๊ คลมุ จะแตกต่างกนั ทลี่ วดเช่ือมเทา่ นั้นโดย การเชือ่ ม Flux Core Wire จะแบ่งออกเป็นแบบใช้แกส๊ ปกคุมจากภายนอกและใชแ้ กส๊ ปกคลุมทเ่ี กิดจากการเผาไหมข้ องฟลกั ซ์ทบ่ี รรจุ ภายในลวดเช่อื ม
ความเป็นมาของการเชอื่ ม Flux Core Wire การเช่ือม Flux Core Wire น้ีเร่มิ จากเม่ือปี พ.ศ. 2463 ไดค้ ิดคน้ การเช่ือมไฟฟ้ าดว้ ยมือข้ึนแต่ในสมยั น้ัน การตรวจสอบเน้ือโลหะเช่ือม พบวา่ ไม่มีคุณภาพ เม่ือการอารก์ และบ่อหลอมเหลวของเน้ือโลหะเช่ือมถูกรบกวนใหเ้ สยี หายจากอากาศโดยรอบ ต่อมาปลายปี 2463 ไดม้ ีการพฒั นา ลวดเช่ือมเพอ่ื ใหล้ ดการเสยี หายภายในเน้ือโลหะลงได้ ทง้ั น้ีเน่ืองมาจากแกส๊ ปกคลมุ เกดิ ข้ึนจากการเผาไหมข้ องสารพอกหมุ้ หรอื ฟลกั ซก์ ลายเป็นควนั หรือ ไอระเหย ทาหน้าท่ีปกคลมุ และป้ องกนั แกส๊ ออกซเิ จนและแกส๊ ไฮโดรเจน ท่อี ยู่ในอากาศ มิใหเ้ ขา้ มาผสมกบั บ่อหลอมเหลวของโลหะ ทาใหบ้ ่อ หลอมเหลวของโลหะเกิดเป็ นรูพรุนได้ และในปี พ.ศ. 2483 ในวงการอตุ สาหกรรมไดเ้ ร่ิมรูจ้ กั กระบวนการเช่ือมอารก์ โลหะแกส๊ คลุม ทาใหใ้ น ช่วงเวลาน้นั มคี วามนิยมใชแ้ กส๊ เฉ่ือยอยู่ 2 ชนิด คอื แกส๊ อารก์ อน และแกส๊ ฮเี ลย่ี ม นามาใชเ้ ป็นแกส๊ ปกคลมุ มากท่สี ุด และจากผลการวจิ ยั โดยการนา ลวดเช่ือมท่มี ีสารพอกหุม้ นาไปทาการเช่ือมโดยใชแ้ กส๊ ปกคลมุ นอกเขา้ มาปกคลมุ การอารก์ มีผลทาใหเ้ กดิ แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดข์ ้ึน ช่วยใหเ้ น้ือ โลหะเช่ือมไดค้ ุณภาพอย่างดีเย่ยี ม จากผลการวจิ ยั ในครง้ั น้ีทาใหเ้ กดิ การเช่ือมเหลก็ กลา้ คารบ์ อนโดยนาแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดม์ าเป็นแกส๊ ปกคลมุ ในช่วงกลางปี พ.ศ. 2493 แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซดไ์ ดถ้ กู นาไปใชร้ ว่ มกบั การเช่ือมอกี รูปแบบหน่ึงโดยใชล้ วดเช่ือมท่มี ีฟลกั ซบ์ รรจุอยู่ภายในแกนลวด กระบวนการเช่ือมน้ีไดถ้ ูกนามาสาธิตในงานแสดงสินคา้ ท่ีเมือง บฟั ฟาโล่และนิวยอรก์ ในเดือนพฤษภาคม พ. ศ. 2497 สาหรบั ลวดเช่ือมไดถ้ ูก พฒั นาข้ึนอกี ในปี พ. ศ. 2500 ในฟอรม์ รูปแบบทเ่ี รารูจ้ กั ลวดเช่ือม Flux Core Wire จนถงึ ปจั จบุ นั
การเชื่อม Flux Core Wire
2.2 หลกั การเชือ่ มเบ้ืองตน้ ของการเช่อื ม Flux Core Wire การเชอ่ื ม FluxCoreWire กระบวนการเชื่อมนี้ จะเป็นการเชอ่ื มด้วยวธิ กี ารอารก์ ระหวา่ งลวดเชือ่ มซงึ่ มีภายในกลวงแต่บรรจุด้วยฟ ลักซ์ ซ่ึงเรียกว่าลวดเช่ือมไส้ฟลักซ์ และฟลักซ์ภายในลวดเชื่อมจะทาหน้าที่เป็นแก๊สปกคลุมแนวเช่ือมทาให้เกิดการอาร์กท่ีสมบูรณ์เพิ่ม คณุ ภาพเชิงกลและชว่ ยสรา้ งรูปรา่ งรอยเช่ือมให้เหมือนกับการเช่ือมด้วยลวดเชื่อมไฟฟ้า จะแตกต่างกันที่ลวดเชื่อมไฟฟ้า ฟลักซ์จะหุ้มอยู่ ด้านนอกทาหน้าท่เี ป็นตัวปอ้ งกนั บรรยากาศจากภายนอก การเชือ่ ม FluxCoreWire เปน็ การเช่ือมวิธีเดียวกันกับการเช่ือมอาร์กโลหะแก๊ส คลุม โดยนาแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มาเป็นแก๊สปกคลุมเพ่ือป้องกันบรรยากาศจากภายนอกเข้ามาทาปฏิริยาภายในรอยเชื่อมในขณะทา การเชื่อมแต่การเช่ือม FluxCoreWire จะใช้ลวดเช่ือมไส้ฟลักซ์มาทาการเชื่อม และในการเช่ือม FluxCoreWire จะแบ่งได้ 2 แบบ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. แบบใชแ้ กส๊ ปกคลมุ ภายนอก (Gas Shield Flux Core Arc Welding) 2. แบบสรา้ งแกส๊ ปกคลมุ ดว้ ยฟลกั ซ์ (Self- Shield Flux Core Arc Welding)
2.2.1 แบบใชแ้ ก๊สปกคลมุ ภายนอก การเช่ือม Flux Core Wire แบบใช้แก๊สปกคลมุ ภายนอก
2.2.2 แบบสรา้ งแกส๊ ปกคลมุ ดว้ ยฟลกั ซ์ การเชือ่ ม Flux Core Wire แบบสรา้ งแกส๊ ปกคลมุ ดว้ ยฟลกั ซ์
การเชอ่ื ม FluxCoreWire จะมีการใชก้ ระแสสลบั บา้ งกบั ลวดเช่ือมไสฟ้ ลกั ซช์ นิดพเิ ศษ และเม่ือใชล้ วดเช่ือมกระแสสลบั เครอ่ื งเช่ือม จะตอ้ งเป็นเครอ่ื งเช่ือมกระแสสลบั ชนิดกระแสตรงคงท่ี CC (Constant Current) และระบบป้ อนลวดจะเป็นแบบไวตอ่ แรงดนั การตอ่ วงจรของเครื่องเชอื่ มและอุปกรณ์ต่างๆ ในกระบวนการเชื่อม Flux Core Wire
2.4 การนาไปใชง้ าน กระบวนการเชือ่ ม Flux Core Wire น้ีนิยมใชก้ นั มากในการเช่ือมระบบกง่ึ อตั โนมตั ิ และระบบอตั โนมตั ิแบบเตม็ รูปแบบ แต่ ยงั มีขอ้ จากดั ในการเช่ือมอยูบ่ า้ ง เช่น ไม่สามารถเช่ือมไดค้ ลอ้ งตวั หรอื สะดวกเหมือนการเช่ือมดว้ ยลวดเช่ือมไฟฟ้ าท่คี วบคมุ ดว้ ยมือ แต่ สามรถเช่ือมตอ่ เน่ืองไดโ้ ดยไม่ตอ้ งเปล่ยี นลวดเช่ือม และการเช่ือม Flux Core Wire สามารถเช่ือมไดท้ กุ ทา่ ทง้ั น้ีจะข้ึนอยูก่ บั ขนาดของ ลวดเช่ือมท่ใี ชใ้ นการเช่ือมและชนิดของลวดเช่ือมน้นั ๆ
ขอ้ ดี/ขอ้ เสยี ของการเชื่อม Flux Core Wire
ขอ้ ดีของการเช่อื ม Flux Core Wire 1. ให้คุณภาพเนอื้ โลหะเชอื่ มสงู 2. ให้ผวิ หน้าของงานเชื่อมไดร้ ปู ฟอร์มที่เรยี บสมา่ เสมอ 3. ใหร้ ปู ทรงรอยเชอื่ มดเี ยีย่ มในการเช่ือมรอยตอ่ แบบฟลิ เลท็ ตาแหนง่ ทา่ ระดบั 4. สามารถเชอื่ มไดด้ กี บั เหล็กกลา้ หลายชนิดทม่ี ขี นาดความหนาคอ่ นขา้ งมาก 5. ใหอ้ ัตราการเตมิ ลวดสูงและใหค้ วามเขม้ ของกระแสเช่ือมสูง 6. มีประสิทธภิ าพในการหลอมลวดเชือ่ มคอ่ นขา้ งสูง 7. มองเห็นบอ่ หลอมเหลวได้งา่ ยเชอื่ มไดง้ า่ ยและสะดวก 8. การบิดงอนอ้ ยกว่าการเช่ือมอาร์กโลหะแก๊สคลมุ
ข้อดขี องการเช่อื ม Flux Core Wire 9. ใหอ้ ัตราการหลอมลวดได้สูงกวา่ การเชื่อมอารก์ โลหะแก๊สคลุมถึง 4 เท่า 10. เป็นกระบวนการเชื่อมที่เกิดข้ึนจากการผสมผสานระหว่าง กระบวนการเช่ือมไฟฟ้า กระบวนการเช่ือมอาร์กโลหะด้วย แก๊สคลมุ และกระบวนการเชอ่ื มซับเมอรจ์ เขา้ ดว้ ยกนั ทาใหเ้ กดิ ผลดมี ากยิง่ ขนึ้ 11. ถ้าใชล้ วดเช่อื มที่ผลติ แกส๊ ปกคลมุ ไดเ้ องสามารถนาไปใชเ้ ชื่อมเหลก็ โครงสรา้ งนอกสถานทีท่ ม่ี ีลมแรงได้ 12. สามารถเชอื่ มต่อเนือ่ งไดโ้ ดยไมต่ อ้ งหยดุ เปลี่ยนลวดเชือ่ มทาใหเ้ ช่ือมรอยเชือ่ มทม่ี ีความยาวมากได้
ขอ้ เสยี ของการเชอื่ มอารก์ โลหะแกส๊ คลมุ 1. การเชื่อม Flux Core Wire นีม้ ีขอ้ จากัดในการเช่ือมโลหะท่เี ปน็ เหลก็ และโลหะผสมทีม่ นี กิ เกิลผสมหลกั 2. มแี สลกปกคลุมแนวเชอ่ื มจึงจาเปน็ ตอ้ งกาจดั ออกทาให้เสียเวลาการทางาน 3. ลวดเช่อื มไสฟ้ ลักค์มีราคาแพงกวา่ ลวดเชื่อมอาร์กโลหะแกส๊ คลุมเมอื่ เปรยี บเทียบราคาโดยนา้ หนักยกเว้นลวดเช่ือม เหลก็ กลา้ เจอื สูงในบางตัวเทา่ นั้น 4. อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการเชื่อมน้มี ีราคาแพงและยุ่งยากกวา่ การเชื่อมดว้ ยลวดเชอ่ื มไฟฟ้า 5. ในกรณที ี่ใชแ้ กส๊ ปกคลมุ ภายนอกจะมผี ลต่อการนาไปใช้เช่ือมภายนอกโรงงานทม่ี ลี มแรงทาให้แกส๊ ปกคลุมเกิดปัญหา 6. มอี ุปกรณแ์ ละสว่ นประกอบมากทาให้ไม่สะดวกในการเคลอ่ื นย้าย 7. ใหค้ วันเช่อื มมากเม่อื เปรยี บเทยี บกบั การเชอ่ื มอาร์กโลหะแก๊สคลุม
การตรวจสอบด้วยการพินิจ งานเช่อื มตาแหนง่ ทา่ เช่ือม 1F 2F 3F และ 4F
การตรวจสอบด้วยการพนิ จิ งานเช่อื มตาแหน่งทา่ เช่ือม 1F 2F 3F และ 4F 1. แวน่ ขยายและไฟฉาย ใชท้ าหนา้ ท่ชี ่วยขยายแนวเช่ือมในการตรวจสอบใหช้ ดั เจนมากย่ิงข้ึน โดยเฉพาะไฟฉายช่วยใหแ้ สงสวา่ งมีมากข้ึนทา ใหม้ องเหน็ จุดบกพรอ่ งบนช้ินงานเช่ือมไดช้ ดั เจนมากข้ึนดงั แสดงในรูปท่ี 60 เหมาะสาหรบั ใชใ้ นการตรวจสอบ เช่น ความสมบูรณ์ของจุดเรม่ิ ตน้ และ จดุ ส้นิ สุด ผวิ แนวเช่ือม ตลอดจน รอยขูดขีด รอยเจยี ระไน รอยสะเกด็ งานเช่ือม เป็นตน้ แวน่ ขยายและไฟฉาย การใชแ้ วน่ ขยายและไฟฉายในการตรวจสอบ
2. ไม้บรรทดั เหลก็ (Steel ruler) เป็นเครอ่ื งมือวดั พ้นื ฐาน ใชง้ านงา่ ยและสะดวกมหี น่วยวดั ท่ีเป็นมาตรฐานเหมาะสาหรบั ใชว้ ดั ความยาวของช้ินงาน และแนวเช่ือม ดงั แสดงในรูปท่ี 62 ดว้ ยความตรงของไมบ้ รรทดั เหลก็ สามารถนามาใชว้ ดั ความตรงของแนวเช่ือมได้ ไม้บรรทัดเหลก็ การใชไ้ มบ้ รรทัดเหลก็ วดั ความตรงแนวเชอ่ื ม
3. ใบวัดมมุ (Bevel Protractor) เป็นเครอ่ื งมอื สาหรบั วดั หรอื ตรวจสอบมมุ ของช้ินงานซ้ึงใหค้ วามละเอยี ดในการวดั มมุ ตามมาตรฐานสากลทวั่ ไป ดงั แสดงในรูปท่ี 65 สามารถนามาใชว้ ดั มมุ องศาของช้ินงาน และวดั ค่าการหดตวั เชิงมมุ ของแนวเช่ือม (Distortion) ได้ ใบวัดมมุ การใช้ใบวัดมุมวดั ค่าการหดตวั เชงิ มมุ ของแนวเช่ือม
4. (V-WAC Gauge) เป็นเครอ่ื งมือสาหรบั ตรวจสอบงานเช่ือม เหมาะสาหรบั การวดั รอยกดั แหว่ง (Undercut) ของแนวเช่ือม และยงั สามารถวดั ขนาดของรูพรุนบนแนวเช่ือมได้ (V-WAC Gauge) การใช้ (V-WAC Gauge) วดั รอยกดั แหวง่
การใช้ (V-WAC Gauge) วดั รูพรนุ บนแนวเช่ือม
5. เกจวัดแนวเชื่อมอเนกประสงค์ (Multi Welding gauge) มาตรฐานญี่ปนุ่ (JIS) เปน็ เคร่ืองมือวดั งานเชื่อม สามารถวดั งานเชือ่ มได้ หลายลักษณะงาน เช่น วัด (ค่า a) ของแนวเชื่อม (Actual Throat) วัดขนาดขาของแนวเชื่อม (Leg size of weld) เป็นต้น เกจวัดแนวเช่อื มอเนกประสงค์ การใช้เกจวดั แนวเชอ่ื มอเนกประสงคว์ ัดขนาด (ค่า a) ของแนวเช่ือม
การใช้เกจวดั แนวเชื่อมอเนกประสงค์ขนาดขาของแนวเช่อื ม
หน่วยที่ 2 เทคนคิ การเช่อื มอาร์กโลหะแกส๊ คลมุ ตาแหนง่ ท่าเช่อื ม 1F
ช้นิ งานเช่อื มตาแหนง่ ทา่ เช่อื ม 1F
เบกิ เครอ่ื งมือและชุดอปุ กรณ์ป้ องกนั อนั ตราย การเบกิ ชุดอปุ กรณ์ป้ องกนั อนั ตราย เครอ่ื งมือ วสั ดุ และอปุ กรณ์การเช่ือม การสวมชุดป้ องกนั อนั ตราย
การเตรยี มชิ้นงาน 1.การตัดช้ินงาน ใช้เครื่องตัดแบบเลื่อยสายพานแนวนอน (Horizontal Band Saw) เพราะสามารถตดั ช้ินงานไดค้ รง้ั ละหลายช้ินและ รวดเรว็ โดยตดั ตามความยาวท่ใี บงานกาหนด การตดั ช้นิ งานด้วยเคร่ืองตดั แบบเล่อื ยสายพานแนวนอน
การเตรียมช้ินงานก่อนเช่อื มยึด (Tack) 1. ตะไบตกแตง่ ชนิ้ งาน เกบ็ รายละเอียดบริเวณขอบของช้ินงาน การตะไบตกแตง่ ชิน้ งาน
2. เจียระไนเปดิ ผิวงาน ทาการเจยี ระไนเปดิ ผิวงานบรเิ วณขอบชน้ิ งาน ดา้ นทาการเชือ่ มเพือ่ ใหผ้ วิ บรเิ วณแนวเชอื่ มสะอาดไรส้ ารมลทนิ เจอื ปนในขณะเชอื่ ม การเจยี ระไนเปิดผวิ งาน ลกั ษณะการเปิดผิวงานของช้ินงาน
เตรยี มเครื่องเชอ่ื ม 1. เปดิ สวติ ช์เครอื่ งเช่ือม 2. ทาการปรับความเร็วลวดเชอื่ มเพื่อใหก้ ระแสไฟ 3. ปรบั แรงดนั แกส๊ ใหเ้ หมาะสมกบั อุปกรณก์ าร ในการเชือ่ มเหมาะสมกับชิ้นงาน เชือ่ มและชิน้ งาน การเปิดสวติ ชเ์ ครอ่ื งเช่ือม การปรบั ความเร็วลวดเชือ่ ม การปรบั แรงดนั แกส๊
การจบั ยดึ ชน้ิ งาน วางชนิ้ งานก่อนทาการเชื่อมยดึ
2. การเชื่อมยึด ทาการเชอื่ มยึด 2 จดุ บรเิ วณมมุ ดา้ นหลงั ของแผ่นเหลก็ ทต่ี ง้ั ฉากกนั โดยเช่ือมท่ปี ลายช้ินงานทง้ั 2 ดา้ น ซง่ึ มคี วามยาวจุดละไม่นอ้ ย กวา่ 10 มลิ ลเิ มตร และยาวไม่เกนิ 15 มลิ ลเิ มตร โดยจะเช่ือมจากขอบช้ินงานเขา้ มา การเชอื่ มยดึ ช้นิ งาน การเช่ือมยดึ จากขอบช้ินงานเขา้ มา ดา้ นหลงั และปลายช้นิ งานทง้ั 2
3. ตรวจสอบองศาของชิ้นงาน เม่ือเชื่อมยดึ ชน้ิ งานเสรจ็ ให้นาชิน้ งานมาทาการปรับมมุ ใหไ้ ด้ 90 องศา และใชเ้ คร่อื งมอื ใบวัดมมุ (Bevel Protractor) ช่วยในการตรวจสอบองศาของช้ินงาน ตรวจสอบองศาของช้ินงาน
7. ติดตงั้ ช้ินงาน ให้วางช้ินงานอยู่ในตาแหน่งเช่อื มตอ่ ตัวทีท่าราบ 1F โดยวางช้ินงานลงบนเหลก็ รางตวั วที ่เี ตรยี มไวต้ ามแนวยาวโดยลกั ษณะของ ช้ินงานเม่อื วางแลว้ จะเป็นรูปตวั วี ใหท้ าการตรวจสอบช้ินงานวา่ มนั่ คงหรอื ไม่ มกี ารขยบั ของช้ินงานกอ่ นทาการปฏบิ ตั งิ านเช่ือมหรอื ไม่ การตดิ ตงั้ ช้นิ งานในตาแหนง่ เชือ่ มต่อตวั ทีทา่ ราบ 1F
8. เรม่ิ ทาการเชือ่ ม 1. การเริ่มต้นอาร์ก จะเริ่มต้นจากขอบช้ินงาน ดังแสดงในรูปที่ โดยกดสวิตช์ที่หัวเช่ือมเพื่อจ่ายกระแสไฟเช่ือมทาการ เช่ือมต่อตัวทีท่าราบ 1F โดยการทามุมหวั เช่ือมกบั ช้ินงาน 10-15องศา (ดูจากดา้ นขา้ ง) และทามุมลวดเช่ือม 45 องศา กบั ช้ินงาน (ดูจาก ดา้ นหนา้ ) การเรม่ิ ตน้ อาร์กจากขอบชิ้นงาน การทามมุ ลวดเช่ือม การทามุมลวดเชอื่ ม 45 องศา 10-15 องศา กบั ช้ินงาน (ดูจากดา้ นขา้ ง) กับช้นิ งาน (ดจู ากด้านหน้า)
2. การควบคุมความกวา้ งของแนวเชอ่ื ม ในการเชอ่ื มตอ่ ตัวทีทา่ ราบ 1F ทาไดโ้ ดยการสา่ ยลวดเช่ือม และการเคลอ่ื นทล่ี วดเช่ือมโดยรกั ษา ความเรว็ และระยะอารก์ ใหส้ มา่ เสมอจะช่วยใหก้ ารหลอมลกึ สมบูรณ์ และความกวา้ งของแนวเช่ือมสมา่ เสมอ โดยในทา่ เช่ือมน้ีจะนิยมใชก้ ารสา่ ยลวด เช่ือมแบบตวั C เพราะจะงา่ ยตอ่ การควบคุมแนวเช่ือมมากกว่าการสา่ ยลวดเช่ือมในลกั ษณะอน่ื แนวเช่ือมต่อตวั ทที ่าราบ 1F การส่ายลวดเชอ่ื มแบบตัว C
3. จดุ สิ้นสดุ แนวเชื่อมบรเิ วณขอบช้นิ งานให้ทาการหยุดและเติมบอ่ หลอมเหลวปลายแนวเช่อื ม (Crater) ใหเ้ ตม็ เตมิ ลวดเช่ือมลงในบ่อหลอมเหลวปลายแนวเช่ือมใหเ้ ตม็
10. การปฏิบตั งิ านหลงั ทาการเชือ่ มเสรจ็ นาช้ินงานทาการเชอื่ มเสรจ็ มาทาความสะอาดดว้ ยแปรงลวดและรอใหช้ ้ินงานเยน็ ตัวประมาณ 10 นาที ทาการไลแ่ กส๊ คลุม ออกจากระบบเครอื่ งเชื่อม ปดิ เกจวัดแรงดนั ปดิ สวติ ชเ์ คร่ือง เกบ็ ชดุ ป้องกนั อันตรายในการปฏบิ ตั ิงานเชอ่ื ม เครื่องมอื วัสดุ อุปกรณ์ ทใ่ี ช้ในการปฏิบัตงิ าน สง่ คนื ท่ีหอ้ งเครอ่ื งมือ ทาความสะอาดบริเวณพนื้ ทป่ี ฏิบตั ิงานเชอื่ ม และผปู้ ฏิบตั งิ านนาชิ้นงานไปทาการ ตรวจสอบงานเชือ่ มด้วยการพนิ ิจ (Visual Testing) เบ้อื งตน้ กอ่ นนาช้ินงานเช่ือมสง่ ใหแ้ กค่ รูผูต้ รวจ ต่อไป ช้ินงานเช่ือมเสรจ็
หน่วยท่ี 2 เทคนคิ การเช่อื ม Flux Core Wire ตาแหน่งทา่ เช่ือม 1F
ช้นิ งานเช่อื มตาแหนง่ ทา่ เช่อื ม 1F
เบกิ เครอ่ื งมือและชุดอปุ กรณ์ป้ องกนั อนั ตราย การเบกิ ชุดอปุ กรณ์ป้ องกนั อนั ตราย เครอ่ื งมือ วสั ดุ และอปุ กรณ์การเช่ือม การสวมชุดป้ องกนั อนั ตราย
การเตรยี มชิ้นงาน 1.การตัดช้ินงาน ใช้เครื่องตัดแบบเลื่อยสายพานแนวนอน (Horizontal Band Saw) เพราะสามารถตดั ช้ินงานไดค้ รง้ั ละหลายช้ินและ รวดเรว็ โดยตดั ตามความยาวท่ใี บงานกาหนด การตดั ช้นิ งานด้วยเคร่ืองตดั แบบเล่อื ยสายพานแนวนอน
การเตรียมช้ินงานก่อนเช่อื มยึด (Tack) 1. ตะไบตกแตง่ ชนิ้ งาน เกบ็ รายละเอียดบริเวณขอบของช้ินงาน การตะไบตกแตง่ ชิน้ งาน
Search