Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทดลอง

ทดลอง

Published by fateena456, 2022-07-06 02:54:38

Description: นางสาวจุฑามาศ จำปากลาย 6517701001092

Search

Read the Text Version

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ศึกษาและเปรียบเทียบปริมาณTanninในเปลือกผลไม้

ความเป็นมาและสภาพปัญหา (problem statement) ศัตรูพืชที่สร้างปัญหาให้กับเกษตรกรมาอย่างยาวนาน ปัจจุบันจึงมีการคิดค้นยาฆ่าแมลงจากสารเคมีขึ้น เพื่อกําจัดแมลงศัตรูพืช แต่ ก็ทําให้เกิดปัญหาใหม่มากมายซึ่ง อันตรายยิ่งกว่าทั้งทําให้เกิดสารพิษตกค้าง ทําให้สิ่งมีชีวิตอื่นที่ไม่ต้องการทําลายต้องตายไปด้วย ดัง นั้นคณะผู้จัดทําจึงคิดหาวิธีที่จะสามารถกําจัดแมลงศัตรูพืชได้โดย ธรรมชาติ ไม่ทําลายสมดุลของสิ่งแวดล้อม จึงได้ทําการศึกษา ค้นคว้าพบว่าสารแทนนินซึ่งเป็นสารที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่ โครงสร้างซับซ้อนมีสถานะเป็นกรดอ่อน รสฝาด พบได้ในพืชเกือบทุกชนิด และมีประสิทธิภาพในการกําจัดแมลง ได้ศึกษาสํารวจข้อมูลเกี่ยวกับผลไม้ที่มีสารแทนนินพบว่าผลไม้ที่หาได้ง่ายและมีสารแทนนินอยู่ นั้นมีหลาย ชนิดมาก ซึ่งทางคณะผู้จัดทําได้ให้ความสนใจกับมังคุด เงาะและกล้วยเนื่องจากเป็นผลไม้ที่เป็นที่นิยม จึงเกิดแนวคิดที่จะ สกัดสารแทนนินจากเปลือกผลไม้แต่ละชนิดเพื่อ เปรียบเทียบปริมาณสารแทนนิน และศึกษาความสามารถการกําจัดแมลงของสาร แทนนินและหวังว่าผลการทดลองจะช่วยเป็นแนวทางในการกําจัดแมลงศัตรูพืชแก่เกษตรกรและทุกๆคนที่ประสบปัญหาได้

วัตถุประสงคโ ครงงานวิทยาศาสตร์ (objectives) เพื่อศึกษาตรวจสอบและเปรียบเทียบปริมาณสารแทนนินในตะกอนของสาร สกัดจากเปลือกเงาะ เปลือกมังคุด เปลือกกล้วย

ขอบเขตโครงงานวิทยาศาสตร (Scope of scientific framework) 1.สถานที่ โรงเรียนมุสลิมสันติธรรมมูลนิธิ 2.ระยะเวลา ธันวาคม 2564 - กุมภาพันธ 2565 3.การเปรียบเทียบปริมาณสารแทนนินในตะกอนของสารสกัดจากเปลือกเงาะ เปลือกมังคุด เปลือกกลวยวาผลชนิดใดมีสารแทนนินเยอะที่สุด

กรอบแนวคิดในโครงงานวิทยาศาสตร์ (conceptual framework) ทางกลุมของพวกเราคิดคนโครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อเปรียบเทียบปริมาณ สารแทนนินในเปลือกผลไม 3 ชนิด และพิจรณาวาผลไมชนิดใดมีปริมาณสาร แทนนินเยอะที่สุด

นิยามศัพทเ ฉพาะ (definition of technical terms) แทนนิน คือ (อังกฤษ: tannin) เปน สารที่มีโมเลกุลใหญและโครงสรางซับซอ น มีสถานะเปน กรดออนรสฝาด เปน สารใหความฝาดในพืช พบไดใ นพืชหลายชนิด แทนนิน มี 2 ชนิด คือ คอนเดนสแ ทนนิน (condensed tannins) หรือเรียกอีกอยางวา โปรแอนโทรไซยานิน (proanthrocyanin) พบไดในสว นเปลือกตน และ แกนไมเปน สว น ใหญ และ สารไฮโดรไลซแ ทนนิน (hydrolysable tannins) คือแบบที่สามารถถูกแยกออกเปนโมเลกุลเล็กๆ ได พบมากในสว นใบ ฝก และสว นที่ปูดออก มาจากปกติ เมื่อ ตน ไมไ ดรับอันตราย (gall) แทนนิน มีคุณสมบัติตกตะกอนโปรตีน ทําใหห นังสัตวไ มเ นาเปอย จึงมีการใชในอุตสาหกรรมฟอกหนังดวย แทนนินมีฤทธิ์ ฝาดสมาน จึงใชเ ปน ยารักษาโรคทอ งเสียได แทนนินมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียได ตัวอยา งแทนนินไดแ ก theogallin, gallic acid, ellagic acid แทนนิน มาจากคําวา “แทนนิ่ง” \"tanning\" ซึ่งแปลวา รักษาไวและกันน้ํา แทนนิ่งคือการเปลี่ยนหนังสัตวที่ตายแลว ใหเ ปน ผลิตภัณฑหนังโดยการใชส ารสกัดจากพืช ปิเปตตค ือ เปน อุปกรณท างเคมี ใชในการ ตวง-วัด ปริมาณสารท่ีเปนของเหลว มีสเกลการวัดที่ละเอียดและมีความแมนยําสูง เทคนิคการใชงานปเปตจึงเปนสิ่ง สําคัญ ผู ใชง านควรมีเทคนิคที่ถูกตองและมีทักษะในการใชงานเปน การลดขอ ผืดพลาดในการทําการทดลองได ประเภทที่มีใชอ ยูในหองปฏิบัติการ มีอยู 2 แบบ อีเทอร= (อังกฤษ: ether; /ˈiːθər/) เปนสารประกอบอินทรียที่มีหมูฟงกช ันเปน หมูแ อลคอกซี (alcoxy , R–O–R’) มีสูตรทั่วไปเปน ROR’ มีสูตรโมเลกุล เหมือน แอลกอฮอลแ ละฟนอล จึงเปน ไอโซเมอรโครงสรา งกับแอลกอฮอลแ ละฟนอล สารละลายฟลอริกคลอไรด = ไอเอิรน (III) คลอไรด (อังกฤษ: Iron(III) chloride) เรียกอีกอยา งวา เฟอรร ิคคลอไรด (อังกฤษ: ferric chloride) เปน ขนาดโภค ภัณฑใ น อุตสาหกรรมสารประกอบเคมีที่มีสูตร FeCl3 สีของผลึกไอเอิรน(III) คลอไรดข ึ้นอยูก ับมุมมอง โดยเกิดแสงสะทอ นผลึกจะปรากฏเปน สีเขียวเขม แตด ว ยแสงที่สง พวกเขา จะ ปรากฏเปน สีมวงแดง ปราศจากไอเอิรน(III) คลอไรดท ี่เปนเดไลควีสเกนต กลายเปนไฮเดรท ไฮโดรเจนคลอไรด ละอองในอากาศชื้น มันไมค อยเปน ที่สังเกตในรูปแบบ ตาม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook