TERRESTRIAL BIOMES ไบโอมบนบก 7 ประเภท
จัดทำโดย นางสาวกานต์พิชชา วังมนต์ เลขที่ 10 นางสาวมุจจรินทร์ มงคลนันทิภาคย์ เลขที่ 19 นางสาวนาตาลี เพเตรีว่า เลขที่ 32 นางสาวปณิดา ไขแสงจันทร์เลขที่ 33
ส า ร บั ญ 01 TROPICAL RAIN FOREST 02 TEMPERAFOTEREDSETCIDUOUS 03-04 FORECSOT,NTIAFIEGRAO,BUOSREAL 05 TEMPERATE GRASSLAND 06 SAVANNA 07-08 DESERT 09-10 TUNDRA
TROPICAL RAIN FOREST ป่าดิบชื้น หรือป่าฝนเขตร้อน น้ำ ฝ น เ ฉ ลี่ ย 2 0 0 - 4 0 0 เ ซ น ติ เ ม ต ร ต่ อ ปี ป่าดิบชื้น หรือป่าฝนเขตร้อน เป็นป่าไม้สูง อากาศร้อนและชื้น มีฝนตกชุกตลอดปี เป็นป่าไม่ผลัดใบเนื่องจากปริมาณน้ำ ฝนค่อนข้างมากทำให้ไม่มีความจำเป็นต้องผลัดใบเพื่อลดการคายน้ำ มีอินทรียสารสมบูรณ์มาก ป่าตั้งอยู่ในเขตร้อน จึงได้รับแสงเยอะทำให้ต้นไม้โต และเป็นแหล่งอาหารของสัตว์ มีไม้สูงพวก ยาง-ตะเคียน ไม้กลางพวกปาล์ม และไม้พุ่ม ไม้ล้มลุก มีนกและสัตว์เลื้อยคลานหลายชนิด แมลงที่ พบจะเป็นพวกที่มีการเป็นตัวด้วง แหล่งน้ำส่วนใหญ่มีปลาน้ำจืด มีมากจนไม่สามารถระบุชนิดได้ พบได้ในบริเวณใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง ทวีปอเมริกาใต้ ทวีป แอฟริกา ทวีปเอเชียตอนใต้ และบริเวณบางส่วนของหมู่เกาะแปซิฟิก ในป่าชนิดนี้พบพืชและสัตว์ หลากหลายนับพันสปีชีส์ เป็นป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์ 01
TEMPERATE DECIDUOUS FOREST ป่าผลัดใบเขตอบอุ่น เพบทั่วไปบริเวณละติจูดกลาง มีอากาศค่อนข้างเย็น ฤดูร้อน อากาศอบอุ่น ฤดูหนาวไม่หนาวมาก มีฝน 60-250 เซนติเมตร ต่อปี ซึ่งมีความชื้นเพียงพอจะทำให้ต้นไม้เจริญเติบโตได้ดี พบทั้งในเขตอบอุ่น และเขตร้อนของโลก เช่น ในทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป ประเทศจีน และในประเทศไทย พืชมีทั้งไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม และไม้ล้มลุก พืชส่วนใหญ่เป็นไม้ใบกว้าง ทิ้งใบเมื่อฤดูแล้งและฤดูหนาว ผลิใบอีกครั้งเมื่อฝนตก พืชจะโตช้า และหยุดเป็นช่วง ๆ สัตว์บกที่พบสัตว์ที่พบ เช่น กวางเอลก์ และสุนัข จิ้งจอก 02
CONIFEROUS FOREST , TAIGA , BOREAL ป่ า ส น ห รื อ ป่ า ไ ท ก า แ ล ะ ป่ า บ อ เ รี ย ล CONIFEROUS FOREST มีต้นไม้เขียวชอุ่มตลอดปีพบได้ทางตอนใต้ของแคนาดา ทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปเอเชีย และ ยุโรป ในเขตละติจูตตั้งแต่ 45-67 องศาเหนือ เป็นป่าโปร่งไม่ผลัดใบ อากาศหนาวเย็นและแห้งแล้ง ดินเป็นกรดสูง โดยปกติอุณหภูมิเฉลี่ยต่ำกว่า จุดเยือกแข็งนาน 6 เดือน ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 25-75 เซนติเมตรต่อปี ส่วนใหญ่ตกช่วงฤดูร้อน 03
CONIFEROUS FOREST พื ชเด่นที่พบ ได้แก่ พื ชจำพวกสน เช่น ไพน์ เฟอ สพรูซ และเฮมลอค เป็นต้น ซึ่งโตในสภาพที่ดินเป็นกรดได้ดี พื ชในไบโอมนี้ส่วนใหญ่ เป็นไม้เนื้ออ่อนและมีใบเล็กเพื่ อลดการคายน้ำแทนการ ผลัดใบ และมีสารคล้ายขี้ผึ้งเคลือบใบ ทำให้เมื่อใบร่วงลง ดินแล้วย่อยสลายยาก ส่งผลให้ดินขาดความอุดม สมบูรณ์ สัตว์ที่พบเช่น กวางมูส นกฮูกเทาใหญ่ กวาง เอลก์ หมีสีน้ำตาล และบีเวอร์ เป็นต้น ซึ่งโตในสภาพที่ดินเป็นกรดได้ดี พื ชในไบโอมนี้ส่วนใหญ่ เป็นไม้เนื้ออ่อนและมีใบเล็กเพื่ อลดการคายน้ำแทนการ ผลัดใบ และมีสารคล้ายขี้ผึ้งเคลือบใบ ทำให้เมื่อใบร่วงลง ดินแล้วย่อยสลายยาก ส่งผลให้ดินขาดความอุดม สมบูรณ์ สัตว์ที่พบเช่น กวางมูส นกฮูกเทาใหญ่ กวาง เอลก์ หมีสีน้ำตาล และบีเวอร์ เป็นต้น 04
ธ . ค . 2 5 6 3 • ฉ บั บ ที่ 9 TEMPERATE GRASSLAND ทุ่ ง ห ญ้ า เ ข ต อ บ อุ่ น TEMPERATE GRASSLAND น้ำฝนเฉลี่ย 25-70 เซนติเมตรต่อปี รู้จักกันในชื่อของ ทุ่งหญ้าแพรี่ ในตอนกลางของ ทวีปอเมริกาเหนือและทุ่งหญ้าสเตปส์ ของประเทศ รัสเซีย เป็นต้น เป็นเขตที่มีทุ่งหญ้าปกคลุม มีฝนตกในฤดูร้อนและ เเห้งแล้งในฤดูหนาว ดินมีความสมบูรณ์สูง พืชเป็นพวก พุ่มไม้หนาม ไม้ล้มลุก ไม้ทนแล้ง ทนไฟป่า และหญ้า (ความสูงขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝน) มีสัตว์กินพืชเป็น อาหารเยอะ และตามด้วยสัตว์กินเนื้อ อีกทั้งยังเป็น แหล่งเกษตรกรรม 05
SAVANNA ทุ่ ง ห ญ้ าส ะ วั น น า ปริมาณน้ำฝน 100-150 เซนติเมตร ต่อปี SAVANNA เป็นทุ่งหญ้าที่พบได้ในทวีปแอฟริกา ทวีป อเมริกาใต้ ทวีปออสเตรเลีย และพบบ้างทางตะวัน ออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชีย เป็นทุ่งหญ้าเขตร้อน เป็นป่ากึ่งผลัดใบ มีต้นไม้ ขึ้นห่างกันเป็ยระยะ ๆ ดินแห้งผาก แข็ง และฝุ่น เยอะ มีไฟป่าเกิดขึ้นในฤดูร้อน หรือไม่ใช่ฤดูร้อนก็มี เกิดขึ้นบ่อย พืชต้องปรับตัวได้ดีและสามารถเก็วน้ำได้ เช่น หญ้าจะเติบโตในฤดูฝนแล้วกลับไปเป็นหญ้าแห้ง ในฤดูร้อน และยังมีพุ่มไม้หนามแหลม สัตว์ส่วนใหญ่ เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่หลายสายพันธุ์ มีทั้งพวกกินพืชและกินเนื้อ 06
กั น ย า ย น 2 5 6 3 ฉ บั บ ที่ 3 แ น ว โ น้ ม บ น โ ล ก อ อ น ไ ล น์ Desert ทะเลทราย ฝนน้อยกว่า 250 มิลลิเมตรต่อปี Desert พบได้ทั่วไปในโลก เป็นบริเวณแห้งแล้ง ฝนน้อยกว่า 250 มิลลิเมตรต่อปี อัตราการระเหยของน้ำสูงกว่าที่ ได้รับ 5-7 เท่า บางแห่งอุณหภูมิสูงถึง 60 องศา เซลเซียส แต่บางวันของบางแห่งมีอากาศหนาวเย็น และในฤดูหนาวอุณหภูมิอาจต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง พื ชเป็นไม้ทนแล้ง อวบน้ำ ลดการเสียน้ำโดยเปลี่ยน จากใบเป็นหนาม เช่นกระบองเพชร หรือพื ชบางชนิด มีการหยั่งรากลึกลงไปในดินเพื่ อดูดน้ำ สัตว์จะได้รับ น้ำจากพื ช (น้ำหวานและยาง) หรือโอเอซิส* 07
กั น ย า ย น 2 5 6 3 ฉ บั บ ที่ 1 เ ป็ น ป า ก เ ป็ น เ สี ย ง Desert ทะเลทราย โดยเฉพาะพวกแมลง ซึ่งเป็นตัวล่อพวกสัตว์เลื้อย คลานเข้ามา สัตว์ในทะเลทราบมักมีสีอ่อนกว่าสัตว์ ทั่วไปเพื่ อไม่ให้ดูดรังสีแสงอาทิตย์และเป็นการอำพราง ตัว ซึ่งสัตว์ส่วนใหญ่จะออกหากินในเวลากลางคืน เพราะอากาศไม่ร้อน ทะเลทรายที่รู้จักกันโดยทั่วไปได้แก่ ทะเลทรายซาฮารา ในทวีปแอฟริกา ทะเลทรายโกบี ในประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีนและทะเลทรายโมฮาวี ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา โอเอซิส คือบริเวณชุ่มชื้นกลางทะเลทราย เกิดจากน้ำฝนที่ตกลงมาแล้วซึมผ่านทรายลง ไปสะสมบนชั้นหินใต้ดิน โดยน้ำจะดันตัวเองขึ้นมาได้อาศัยแรงลมมาพั ดหน้า ทรายให้บางพอที่น้ำจะผุดขึ้นมา ลิ ข สิ ท ธิ์ พ อ ร์ ทั ล เ ท ค 2 5 6 6 08
Tundra ทุ น ด ร า ห รื อ แ บ บ อ า ร์ ก ติ ก มี อ ะ ไ ร ข้ า ง ใ น . . . TUNDRA อยู่แถบขั้วโลกโดยมีแค่มหาสมุทรอาร์กติกเป็นที่กั้น พบทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ และยูเรเซีย อากาศหนาวเย็น มีลมพั ดเเรงตลอดเวลา และมีหิมะคลุมตลอดทั้งปี แม้แต่ฤดู ร้อน 2-3 เดือน อุณหภูมิเฉลี่ยต่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส ฤดูหนาวอุณหภูมิต่ำกว่า จุดเยือกแข็งนาน 6 เดือน ฝนตกน้อยกว่า 250 มิลลิเมตรต่อปีและส่วนใหญ่ตกฝนรูปหิมะ มีหนองน้ำเป็นแหล่ง ๆ และมักพบที่ราบ ส่วนใหญ่ก็เป็นหนองน้ำที่เกิดจากน้ำแข็งที่ละลาย โดยที่พื้ นล่างยังคงเป็นน้ำแข็งอยู่ ไม่มีฮิวมัสในดิน เนื่องจากการระเหยต่ำทำให้มีการสลายตัว ของจุลินทรีย์เกิดขึ้นอย่าง ๆ ส่งผลให้พื ชขาดเเคลนอาหาร พื ช มีอายุแค่ประมาณ 60 วัน พื ชมีจำพวกไม้ดอก ไม้พุ่ มเตี้ย เกือบทุกชนิดเป็นพื ชยืนต้น มีใบเล็กและมีขี้ผึ้งเคลือบใบเพื่ อลดการคายน้ำ ไม้สูงไม่สามารถเจริญเติบโตได้ เนื่องจากดิน ไม่เอื้ออำนวย พื ชเด่นได้แก่ ไลเคนส์ กก มอส หญ้าเซดจ์ และไม้พุ่ มเตี้ย 09
พ ฤ ษ ภ า ค ม 2 5 6 3 ฉ บั บ ที่ 1 ปี ที่ 5 N F L C เ ปิ ด ฉ า ก จั ด แ ส ด ง ก า ร ทำ ส ว น โ ด ย เ อ เ ล น อ ร์ ฟิ ต ซ์ เ จ อ รั ล ด์ สัตว์เด่นเช่น หมีขาว จิ้งจอกอาร์กติก เพนกวิน นกฮูกหิมะ กวางเรนเดียน คาริบู สัตว์ส่วนใหญ่กินเนื้อ (ปลา) และตะไคร่น้ำเป็นอาหาร ในฤดูหนาวพื ชจะหยุดการเจริญเติบโต หรือบางต้นก็อาจจะตาย สัตว์จะจำศีล นอกจากนี้ยังมีพายุเฮอร์ริเคนในฤดูหนาวที่จะมาพั ดพาพวกพื ชไป นี่คงเป็นสาเหตุ หนึ่งที่พื ชในไบโอมนี้เป็นพื ชพุ่ มเตี้ย 10
บ ร ร ณ า นุ ก ร ม กานต์พิชชา วังมนต์ , มุจจรินทร์ มงคลนันทิภาคย์ , นาตาลี เพเตรีว่า , ปณิดา ไขแสงจันทร์ (2564). Terrestrial Biomes ไบโอมบนบก 7 ประเภท (ออนไลน์). จาก https://everyonecanchangetobetter.wordpress.com/2018/05/20/%E0%B9 %84%E0%B8%9A%E0%B9%82%E0%B8%AD%E0%B8%A1-7- %E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94/ 11
TERRESTRIAL BIOMES
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: