! ความสัมพันธ์ ! ระหว่างวรรณคดี กับนาฏศิลป์ไทย The relationship between literature
ความหมาย นาฏศิลป์ เป็ นคำสมาส แยกเป็ น 2 คำ คือ “นาฏ” กับคำว่า “ศิลปะ” “นาฏ” หมายถึง การฟ้ อนรำ หรือความรู้ แบบแผนของการฟ้ อนรำ นับแต่การฟ้ อนรำพื้นเมืองของชาวบ้าน เช่น รำ โทน รำวง ตลอดจนขึ้นไป ถึงการฟ้ อนที่เรียกว่า ระบำของนางรำ ระบำ เดี่ยว ระบำคู่ ระบำชุม “ศิลปะ” ได้แก่ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น สร้าง อย่างประณีต ดีงาม และสำเร็จสมบูรณ์ ศิลปะเกิดขึ้นด้วยทักษะ คือ ความชำนาญในการปฏิบัติ
นาฏศิลป์ ไทยเป็ นศิลปการแสดงประกอบดนตรีของ ไทยเช่นฟ้ อนรำระบำโขนแต่ละท้องถิ่นจะมีชื่อเรียกและ มีลีลาท่าทางการแสดงที่แตกต่างกันไปสาเหตุหลักมา จากภูมิประเทศภูมิอากาศของแต่ละท้องถิ่นความเชื่ อ ศาสนาภาษานิสัยใจคอของผู้คนชีวิตความเป็ นอยู่ของ แต่ละภาค นาฏศิลป์ ไทยเป็ นการเล่นเครื่องดนตรีหลายหลายชนิด การละครฟ้ อนรำและดนตรีอันมีคุณสมบัติตามคัมภีร์ นาฏะหรือนาฏยะกำหนดว่าต้องประกอบไป ด้วย3ประการคือการฟ้ อนรำการดนตรีและการขับร้อง รวมเข้าด้วยกันซึ่งทั้ง3สิ่งนี้เป็ นอุปนิสัยของคนมาแต่ ดึกดำบรรพ์นาฏศิลป์ ไทยมีที่มาและเกิดจากสาเหตุ แนวคิดต่างๆ เช่นเกิดจากความรู้สึกกระทบกระเทือนทางอารมณ์ ไม่ว่า จะอารมณ์แห่งสุขหรือความทุกข์และสะท้อนออกมาเป็ น ท่าทางแบบธรรมชาติและผลิตขึ้นมาเป็ นท่าทางลีลาการ ฟ้ อนรำหรือเกิดจากลัทธิความเชื่อในการนับถือสิ่ง ศักดิ์สิทธิ์เทพเจ้าโดยแสดงความเคารพบูชาด้วยการ เต้นรำขับร้องฟ้ อนรำให้เกิดความพึงพอใจเป็ นต้น
ความรู้อื่นๆ ในหัวข้อที่ได้รับ นาฏศิลป์ เป็ นส่วนหนึ่งของศิลปะสาขาวิจิตรศิลป์ และเป็ นมรดก ทางวัฒนธรรม การศึกษานาฏศิลป์ จึงเป็ นการศึกษา วัฒนธรรมแขนงหนึ่ ง ซึ่งนอกจากแสดงความเป็ นอารยะของประเทศแล้ว นาฏศิลป์ ยังเป็ นแหล่ง รวมศิลปะและการแสดงหลายรูปแบบเข้าด้วยกัน การ ศึกษาความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับนาฏศิลป์ ไทย คุณค่าของนาฏศิลป์ ไทย สุนทรียภาพและการแต่งกาย ของนาฏศิลป์ ไทย จึงเป็ นสิ่งที่จะส่งเสริมให้บุคคลผู้นั้น เป็ นเยาวชนที่ดี ในอนาคต สามารถที่จะสร้างสรรค์ อนุรักษ์และ ถ่ายทอดต่อไปได้
ให้วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่างวรรณคดีต่อ หัวข้อที่นักเรียนได้รับ วรรณคดีไทยไม่ใช่วัฒนธรรมทางหนังสือฝ่ าย เดียวแต่เป็ นศิลปะซึ่งมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ คีตศิลป์ และนาฏศิลป์ ยากที่จะสามารถแยกออก จากกันได้ ศิลปะการแสดง เป็ นเรื่องของการแสดงแนวคิด และความบันเทิงให้กับผู้ชมในปั จจุบัน คือ ได้ชม ภาพ คำพูด แสง ฉาก และการแสดง มิใช่เพียงคำ บรรยายศิลปะ ทุกประเภทเป็ นการลอกเลียนแบบส่วน วรรณกรรมในบทละครเกิดขึ้นจากการเลียนแบบ ธรรมชาติ ในรูปแบบการกระทำที่มีความใกล้ เคียงกับชีวิตจริงมากที่สุดไม่ใช่การบรรยายวั วรรณคดีที่ดีถูกนำมาใช้ในการแสดงนาฏศิลป์ เช่นรามเกียรติ์,ขุนช้างขุนแผน
วิธีการอนุรักษ์ สืบสาน เเละเผยเเผร่ 1.จัดกิจกรรมการแสดงนาฏศิลป์ ไทยทุก ประเภทออกสู่สายตาสาธารณะชน 2. ประชาสัมพันธ์ให้กว้างขวางโดย พยายามสอดแทรกไปในทุกทุกสื่ อที่ เกี่ยวข้องให้ข้อมูลที่เป็ นองค์ความรู้แก่ ประชาชนสร้างค่านิ ยมแก่เด็กวัยรุ่นให้ หันกลับมาสนใจนาฏศิลป์ ไทยซึ่ง สื่ อมวลชน 3. ส่งเสริมและปลูกฝั งมรดกทางศิลป วัฒนธรรมภายในครอบครัวให้รู้ซึ้งถึง ความเป็ นไทยและอนุรักษ์รักษา เอกลักษณ์
จัดทำโดย ด.ญ.อัญชิสา ตั้งจิตต์สุนทร เลขที่37
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: