Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3 Cups

3 Cups

Published by freemanchain, 2016-02-23 01:17:15

Description: 3 Cups

Search

Read the Text Version

ถ้วยธรรม ๓ ใบ พิมพแ์ จกเป็นธรรมบรรณาการดว้ ยศรัทธาของญาตโิ ยม หากท่านไม่ไดใ้ ชป้ ระโยชน์จากหนังสอื นี้แล้วโปรดมอบใหก้ บั ผู้อื่นที่จะได้ใช้ จะเป็นบุญเป็นกุศลอยา่ งยง่ิ

ถว้ ยธรรม ๓ ใบ ชยสาโร ภกิ ขุสงวนลิขสทิ ธิ์ หา้ มคดั ลอก ตดั ตอน หรือน�ำ ไปพิมพจ์ �ำ หนา่ ยหากท่านใดประสงค์จะพมิ พแ์ จกเป็นธรรมทาน โปรดติดต่อมลู นธิ ปิ ัญญาประทีป หรอื โรงเรียนทอสี๑​ ๐๒๓/๔๗ ซอยปรดี ีพนมยงค์ ๔๑ สุขมุ วิท ๗๑ เขตวัฒนา กทม. ๑๐๑๑๐โทรศัพท์ ๐-๒๗๑๓-๓๖๗๔www.thawsischool.com, www.panyaprateep.orgจดั ​ทำ�​โดย​ มลู นธิ ิปัญญาประทีปพมิ พ​์คร้งั ​ท่​ี ​๑​​ สงิ หาคม ๒๕๕๗ จำ�นวน ๔,๐๐๐ เล่มผู้เรียบเรียง ศรวี รา อสิ สระศิลปกรรม ปรญิ ญา ปฐวนิ ทรานนท์ดำ�เนนิ การพมิ พ์ บริษทั ควิ พร้ินท์ แมเนจเมน้ ท์ จ�ำ กดั





ความมหัศจรรยข์ องจิตเปน็ กลาง คำ�สั่งสอนของพระพุทธองค์มีอยู่สองเรื่องที่พระองค์ตั้งใจประทานใหม้ วลมนษุ ย์ เรื่องความทกุ ข์ กับ การดบั ทุกข์ เป็นสองเรอื่ งทีเ่ ราควรจะสนใจศกึ ษา ถอื ว่าเปน็ หวั ใจของพุทธศาสนากว็ ่าได้ พระพทุ ธองค์เคยตรัสไวว้ ่า “ผู้ใดกำ�หนดรู้ทุกข์ตามความเป็นจริง  ย่อมละสมุทัยท�ำ นิโรธใหแ้ จง้ แล้วเจริญมรรคในเวลาเดียวกัน” หมายความว่า  การกำ�หนดรู้ทุกข์คือการดับทุกข์  เป็นอันหน่ึงอันเดยี วกัน เพราะฉะนั้น พวกเราทั้งหลายท่ียังไมพ่ น้ ทกุ ข์ยงั ดับทกุ ข์ไม่ได้ ก็เพราะยังไม่รู้ว่าทกุ ขค์ อื อะไร ยังไมเ่ ห็นตัวทกุ ข์ ชยสาโร ภิกขุ : 1​

คำ�ว่า ทกุ ข์ นั้นมีความหมายที่กว้างขวางและลกึ ซึ้ง ถ้าจะ สรุปสน้ั ๆ แคป่ ระโยคเดียว ทุกข์ กค็ ือ ความไมส่ มบูรณ์ หรือ ความรู้สึกว่าชีวิตของตนไม่สมบูรณ์  ขาดอะไรสักอย่าง  ถ้า เราศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ จะสงั เกตวา่ ระบบการปกครอง ระบบ การบริหาร ระบบการเมอื ง ศาสนา ลทั ธิ ทกุ สง่ิ ทุกอยา่ ง ส่งิ ทเี่ รา เรยี กวา่ เรื่องทางศาสนา หรือ เรื่องทางโลก ล้วนแตเ่ กดิ จากความ พยายามของมนุษย์ที่จะแก้ความรู้สึกว่าขาด  ขาดอะไรสักอย่าง หรือมนั มีอะไรที่ยังไม่ใช่ มันยังไมถ่ กู ตอ้ ง แต่ละลัทธิ แต่ละศาสนา จะมคี ำ�อธิบายวา่ ท�ำ ไมเราจงึ รู้สึก แบบนั้น  ถ้าเป็นศาสนาคริสต์  เขาจะสอนว่าเป็นเพราะบาปเดิม ของอดมั หรือ Original sin ในส�ำ นวนของชาวครสิ ต์ ความรู้สกึ น้ี คือบาปเดิม หรือ Original sin ถา้ เปน็ ลทั ธิการเมืองคอมมิวนสิ ต์ ทางมาร์คซ์ถือว่าความทุกข์ข้ึนอยู่กับระบบเศรษฐกิจ  ระบบการ ผลิต ระบบการบรโิ ภค ถา้ สามารถแกใ้ นเรอ่ื งนไ้ี ด้แล้ว มนุษย์จะมี ความสุข นรี่ ะดบั สงั คม2​ : ความมหศั จรรยข์ องจติ เป็นกลาง

อีกตัวอย่างหน่ึงคือวิทยาศาสตร์  วิทยาศาสตร์ก็เป็นส่วนหนึ่งของกระแสที่มองว่า  ความสุขที่แท้จริงอยู่ในอนาคตวิทยาศาสตร์จะทำ�ให้เราเช่ือว่าอนาคตมีจริง  ถึงแม้ว่าทุกวันน้ีเรามีความทกุ ขอ์ ย่างน้ันอยา่ งน้ี ก็ไม่ตอ้ งเป็นห่วง วทิ ยาศาสตรแ์ ก้ได้ยังไม่แก้ตอนนี้หรอก แตว่ า่ จะแก้ไดใ้ นอนาคต ฉะนน้ั การดับทุกข์ของวิทยาศาสตร์จงึ อยูท่ ่ีอนาคต ในสมัยปัจจุบันเห็นได้ว่า  มนุษย์มีนโยบายหรือยุทธวิธีแก้ความรู้สึกว่าทุกข์  หรือขาดอะไรสักอย่างหลายวิธีด้วยกัน  ท่ีเดน่ ๆ อันดบั หน่ึงคือ ชือ่ เสียง รสู้ กึ ได้วา่ ถ้ามีชือ่ เสยี งเมอ่ื ใด ภาวะบกพร่อง ภาวะว่างเปลา่ ภาวะชีวิตทข่ี าดแก่นสาร มนั จะหายไปแต่เน่อื งจากวา่ ผ้มู ชี ื่อเสยี งในสังคมมีจ�ำ นวนค่อนขา้ งจำ�กดั วธิ ีรองลงมาคอื การมคี วามผกู พันกบั ผมู้ ชี ่อื เสยี ง ฉะนน้ั ในสังคมปจั จุบนัเราจึงเห็นความหลงใหลในผู้มีชื่อเสียง  ไม่ว่าจะเป็นนักร้อง  นักฟุตบอล  หรือจะเป็นใครก็ตาม  ความรู้สึกว่าถ้าหากตัวเรามีสายสัมพนั ธก์ ับผมู้ ชี ่ือเสียง เราเชือ่ ว่าความมีแกน่ สารของเขาทเี่ รามอง ชยสาโร ภกิ ขุ : 3​

เหน็ จะมผี ลดีต่อชีวิตของเรา ทำ�ให้ชีวติ ของเรามีแก่นมสี ารมากข้นึ ความต้องการมีชอื่ เสียงในชาตปิ ัจจบุ ัน และความหลงใหล ในชื่อเสียง  เป็นสัญชาติญาณอย่างหน่ึง  ต้ังแต่สมัยพุทธกาล พระพทุ ธองค์ได้ตรสั ถงึ โลกธรรม เร่อื งสรรเสริญ นนิ ทา เร่ืองการ หลงใหลในค�ำ สรรเสรญิ และความเจ็บช้�ำ ใจจากค�ำ นินทา เรอื่ งยศ เสือ่ มยศ ล้วนเป็นส่วนหนึ่งของโลก เราสามารถเห็นความสัมพนั ธ์ ระหว่างความเชื่อเรอ่ื งสวรรคน์ รกกบั ความตอ้ งการมีช่อื เสียง ข้อ สังเกตคือ  สังคมใดท่ีมีความเช่ือเร่ืองสวรรค์นรก  ความเชื่อเร่ือง การเวียนว่ายตายเกิด  หรือความเชื่อว่าตายแล้วมีโลกนิรันดร คอยอย่เู บอ้ื งหนา้ เมอื่ ใดทีค่ วามเชือ่ เหล่านเี้ ร่ิมลดนอ้ ยลง ความ ต้องการมีชือ่ เสยี งจะพุ่งข้ึนเม่อื นั้น ขอฝากไวใ้ หพ้ ิจารณาดูวา่ เปน็ เพราะอะไร ชาวพุทธเราต้องต้ังท่าทีต่อสิ่งต่างๆ  ในสังคมหรือในโลก ให้ถูกต้อง  ท่าทีที่ถูกต้อง  คือการเป็นนักศึกษา  เราก็รู้ว่า พระพุทธศาสนาเป็นเรื่องการฝึกเรื่องการพัฒนา  คำ�สั่งสอนของ4​ : ความมหัศจรรยข์ องจิตเป็นกลาง

พระพุทธองค์ในภาคปฏิบัติสรุปเรียกว่า  ไตรสิกขา  คือ  การศกึ ษาทงั้ พฤติกรรม จติ ใจ และปัญญา ฉะนน้ั เม่อื ศาสนาของเราเปน็ เร่อื งการศึกษา ผู้เปน็ พุทธมามกะ หรือ ผมู้ ศี รทั ธาในพุทธศาสนา ตอ้ งส�ำ นกึ ตนว่าเราเปน็ นกั ศกึ ษา ให้เราถ่อมตนวา่ ถา้ ยังไม่ถึงข้ันอรหัตผล  เราไม่มีวันจบการศึกษา  การมองตัวเองว่าเป็นนักศึกษา  เป็นการมองตัวเองในทางสร้างสรรค์  ในทางท่ีจะเกิดผลในทุกเร่ืองของชีวิต  แม้กระท่ังเร่ืองการอยู่ร่วมกันในครอบครัว เรามักจะเชือ่ วา่ เรารจู้ ิตใจของคนอืน่ เชน่ รู้วา่ สามีเปน็คนอยา่ งน้ันอยา่ งน้ี เป็นคนเห็นแก่ตวั หรอื ว่า เมยี ผมเปน็ คนอยา่ งนั้นอย่างน้ี  น่ีคือลักษณะของผู้ที่จบการศึกษาเร่ืองผัวหรือจบการศึกษาเรอื่ งเมีย แต่ชาวพทุ ธไม่ควรคดิ อยา่ งนั้น เราควรคดิ วา่ เราก�ำ ลงั ศกึ ษาอยู่ ยงั ศึกษาธรรมชาติของภรรยา ยังศึกษาธรรมชาติของสามี ยังไมจ่ บการศึกษา ฉะนน้ั เมื่อมคี วามคดิ เห็นไมต่ รงกนั มปี ญั หากนั ให้เราเรม่ิ ต้นจากปัญหา ไมไ่ ด้เร่มิ ตน้ จากตัวเอง ใหม้ อง ชยสาโร ภิกขุ : 5​

ว่าเป็นเรอ่ื งการศกึ ษา คอื มองว่าส�ำ หรบั ปัญหาน้ี ผมมองอย่าง น้ี แต่เขามองหรือพดู อย่างน้นั อาจจะมีบางสิ่งบางอยา่ งท่ีเขาคิด ทเ่ี ขาเชื่อ ที่เขามอง ซ่ึงเรายงั ไมเ่ ห็นหรอื ยังไม่เข้าใจ และอาจจะมี บางสิ่งบางอยา่ งทเ่ี ราคิด เราเช่ือ เรามอง ทเ่ี ขายงั ไม่เข้าใจ ฉะนน้ั ทา่ ทขี องชาวพทุ ธในฐานะเปน็ นกั ศกึ ษาชวี ติ กค็ อื ท�ำ อยา่ งไร เราจงึ จะเขา้ ใจเขา และ เขาจะเขา้ ใจเรา ตอ้ งพดู อยา่ งไร ตอ้ ง ส่ือสารกันอย่างไร  ต้องสร้างส่ิงแวดล้อมอย่างไร  เราจึงจะ เขา้ ใจซง่ึ กนั และกนั พระพุทธศาสนาสอนว่า  ความทุกข์เกิดจากอวิชชา ความไมร่ ู้ และ การดับทกุ ขเ์ กิดข้ึนจากความรู้ ฉะนั้นเมื่อมี ปัญหาขดั ข้องที่ไหน เราไมค่ วรคดิ วา่ จะตอ้ งบังคบั จะตอ้ งชักชวน หรือพยายามให้เขาเปลี่ยนใจมาเชื่อตามเรา  แต่ควรคิดว่า  ทำ� อย่างไรเราจึงจะศึกษาหาจุดยุติที่ถูกต้องด้วยกัน  ไม่ต้องมี การแพก้ ารชนะ แตต่ ้องการให้มีการศกึ ษารว่ มกัน ตอ้ งการ ให้ทั้งสองฝ่ายที่มีปัญหาถือเป็นเพื่อนร่วมแสวงหาคำ�ตอบ6​ : ความมหศั จรรยข์ องจติ เป็นกลาง

ของปัญหา คือไม่ได้มองว่าเปน็ เราเป็นเขา เพราะการมองอะไรๆเป็นเราเป็นเขาน้ัน  ทำ�ให้ห่างไกลจากธรรมะ  ห่างไกลจากความจรงิ แต่เมอื่ เราเหน็ วา่ เรามีจุดร่วมอยตู่ รงไหน จดุ ร่วมกค็ ือต่างคนตา่ งต้องการความสงบ ตา่ งคนตา่ งต้องการความถูกต้อง  ไม่มใี ครต้องการให้ปัญหาทั้งหลายยืดเย้ือ  เราก็หาจุดยุติโดยต่างคนต่างวางท่าทีของการเปน็ นกั ศึกษา พระพทุ ธศาสนาเป็นเรอื่ งการศกึ ษา ศกึ ษาชวี ติ ศกึ ษาเรื่องทุกข์ ศกึ ษาเรือ่ งการดบั ทุกข์ ทกุ ข์ตา่ งๆ เกดิ ขึ้นอย่างไร ชาวพุทธเชือ่ ว่า ทกุ ขท์ างใจไม่ไดเ้ กดิ ขน้ึ เพราะส่งิ ศักดสิ์ ทิ ธิด์ ลบนั ดาลไมไ่ ดเ้ กิดขน้ึ เพราะดวง ทุกข์เกิดข้ึนตามเหตุตามปัจจยั ดงัน้ัน เราจะเห็นสตปิ ัญญาของแตล่ ะคนไดไ้ ม่ยาก ถ้าถามวา่ เรอื่ งน้ีคณุ มคี วามคดิ เหน็ อย่างไร ใครที่แคต่ อบวา่ ชอบ หรือ ไม่ชอบ ก็ถือว่ายงั ขาดความเป็นพุทธในเร่อื งนนั้ ยังต้องพัฒนาสติปญั ญาให้ต่อเน่อื ง ผู้มีสติปัญญาย่อมไม่ตอบตามอารมณ์ความรู้สึกท่ีเกิดขึ้น ชยสาโร ภกิ ขุ : 7​

กับส่งิ น้นั เพราะเป็นคนละประเดน็ ถา้ มีใครถามความคดิ เห็น ก็จะต้องมองสิง่ น้นั ในลักษณะว่า มผี ลดีผลเสียอยา่ งน้ีๆ ผล ในระยะส้ันเป็นอย่างไร  ผลในระยะยาวน่าจะเป็นอย่างไร และมีเหตุปัจจัยอะไรที่ทำ�ให้เป็นเช่นนั้น  เหตุปัจจัยใดท่ีเรา สามารถปรับปรุงแกไ้ ขได้ และเหตุปัจจัยใดท่เี หลอื วิสยั ท่จี ะ ปรบั ปรงุ แก้ไข ถ้าเราไมว่ ิเคราะห์แยกแยะเชน่ นั้น เราอาจจะเหนด็ เหน่ือย ในการแกส้ ว่ นทีเ่ หลอื วิสยั ทจ่ี ะแกจ้ นเกิดความทอ้ แท้ใจ และสว่ น ที่ควรแก้ไขก็อาจไม่ได้แก้ไขสักที  เพราะเลือกจะทำ�ส่ิงที่เราคิดว่า ง่ายเสียก่อน  โดยธรรมชาติคนเรามักชอบอะไรๆ  ท่ีง่ายอยู่แล้ว เม่อื เกดิ ปัญหาทส่ี ลบั ซบั ซ้อน แทนทจ่ี ะดูวา่ ควรจะแกต้ ามล�ำ ดับ อยา่ งไรจงึ จะดีที่สุด กลับมักจะคดิ ท�ำ ในสว่ นทม่ี นั ง่ายก่อน ท้ังๆ ท่ี บางทีส่วนทงี่ ่ายนัน้ อาจไม่ใช่ส่วนสำ�คญั เราต้องใช้ความอดทนและจิตท่ีเป็นกลาง  อุเบกขา  เป็น คุณธรรมท่ีสำ�คัญมาก  และเป็นคุณธรรมท่ีเห็นได้ชัดว่า 8​ : ความมหัศจรรย์ของจติ เปน็ กลาง

เกิดจากการฝึกสมาธิภาวนามากกว่าจากทางอื่น  เพราะในขณะท่ีเราน่ังสมาธิภาวนากำ�หนดลมหายใจเข้าลมหายใจออกนั้น ย่อมจะมีอารมณ์อ่ืนๆ  แทรกแซง  หรือมีส่ิงท่ีดึงจิตใจออกไปสู่อดตี บา้ ง อนาคตบา้ ง คนน้ันคนน้ีบ้าง เมอื่ เรารูต้ ัวว่าเผลอ เราก็ต้ังต้นใหม่  นี่คือเบ้ืองต้นของการภาวนา  พอรู้สึกตัวว่ากำ�ลังคิดในเรื่องท่ีเราไม่ต้องการคิด  ก็กลับมาต้ังต้นกำ�หนดลมหายใจใหม่น่ีเป็นการฝึกสร้างเนกขัมมบารมี  คือฝึกในการออกบวชหมายถึงการต้ังใจออกจากสิ่งที่ไม่มีประโยชน์ไม่มีแก่นสารที่ขัดกับอุดมการณ์  มาสู่สิ่งที่เรากำ�หนดแล้วว่าเหมาะสมถกู ตอ้ งมปี ระโยชน์ พอเราฝึกไปฝึกมา  เม่ือความรู้สึกชวนให้คิดเร่ืองนั้นเร่ืองนเ้ี กดิ ขึ้น สติของเราได้รบั การบำ�รงุ แล้ว คมชัดแลว้ เราจะรสู้ ึกตวัทันที และเราจะไมย่ ินดีในสิง่ ท่ชี วนให้ยนิ ดี เราจะไม่ยินร้ายในสิง่ ทชี่ วนใหย้ ินร้าย แล้วเราจะเกดิ ความเขา้ ใจ โอ… ความไม่ยินดีไม่ยินร้ายเป็นอย่างนี้เอง  เราเคยฟังพระเทศน์  แต่เรายังคิด ชยสาโร ภิกขุ : 9​

สงสัยวา่ มนั จะเป็นอยา่ งไร การไมย่ นิ ดยี นิ รา้ ย มนั จะเปน็ เหมอื น กอ้ นหนิ หรอื จะเป็นอย่างไร มนั ไมน่ ่าสนใจ เม่อื เราฝึกสมาธิภาวนา  ให้จิตอย่ใู นปัจจุบันกับส่งิ ท่ตี ้องการ ก�ำ หนด  สง่ิ ตา่ งๆ  ทผ่ี ดุ ขน้ึ มาในใจจะมรี สชาตขิ องมนั   คอื รสชาตทิ ่ี ดงึ ดดู ใหเ้ รายนิ ดบี า้ ง ดงึ ดดู ใหเ้ รายนิ รา้ ยบา้ ง เรากร็ เู้ ทา่ ทนั รสชาตขิ อง มนั   รเู้ ทา่ ทนั วา่ มนั เปน็ สง่ิ ทน่ี า่ ยนิ ดนี า่ ยนิ รา้ ย  แตจ่ ติ ใจเราไม่ สนใจ  เพราะพอใจทจ่ี ะอยใู่ นปจั จบุ นั   นน่ั คอื จติ ใจทเ่ี ปน็ กลาง ผู้ท่ีเป็นกลางอย่างย่ิงก็คือ  องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธ เจ้าของเรา  เราเคยสังเกตพระพุทธรูปไหมว่า  พระเนตรของ พระองค์ไมป่ ิด พระเนตรของพระองค์เปิด น่ีเป็นสัญลกั ษณข์ อง ผทู้ มี่ ีอเุ บกขา คือ ทงั้ รู้ ทง้ั เฉย พระพุทธองคท์ รงเหน็ ทุกสิง่ ทุก อย่าง  แต่จิตใจของพระองค์เป็นกลาง  ถ้าเราเห็นพระพุทธองค์ ทรงหลบั ตา เราก็อาจจะคิดวา่ พระพทุ ธเจ้าทรงสบายแลว้ ท่าน หลับตาไม่ต้องรับรู้ความทุกข์ของมนุษย์  อยู่ใต้ต้นโพธ์ิท่านก็ สบายๆ ไม่ต้องไปสนใจใคร10​ : ความมหัศจรรยข์ องจิตเป็นกลาง

นค่ี ือธรรมะที่อยูใ่ นพระพทุ ธรปู ท่านเขา้ ถึงจติ ใจท่ีเปน็ กลางท่ามกลางสิ่งที่ชักชวนให้ไม่เป็นกลาง  พระพุทธเจ้าทรงอยู่กับรูปอยูก่ บั เสยี ง อยู่กับกลน่ิ อยู่กบั รส อยูก่ ับการสมั ผสั และพระพทุ ธองค์ก็ทรงอยู่ในโลกแห่งโลกธรรม  ทรงประสบกับทุกสิ่งทุกอย่างทง้ั สรรเสรญิ นนิ ทา ลาภ เส่ือมลาภ บางพรรษาเมือ่ พระพทุ ธองค์บิณฑบาตกไ็ มม่ ีใครใสบ่ าตร ไมใ่ ชว่ า่ บารมีถึงจุดสงู สดุ แล้ว ไปท่ไี หนจะมีแตค่ นแยง่ กนั ใสบ่ าตร มนั ไมใ่ ช่เช่นนั้น บางทกี ไ็ ม่มใี ครสนใจพระองคท์ า่ น คร้ังหนงึ่ พระพุทธองค์ทรงบณิ ฑบาตกับพระอานนท์ เขา้ ไปในหมู่บ้านมิจฉาทิฏฐิ  คนไม่ออกมาใส่บาตร  พระพุทธองค์ทรงประทบั ยืนอย่นู าน จนพระอานนท์ชกั จะไมส่ บายใจ ทา่ นนิมนต์พระพทุ ธองคว์ ่า ไปเถอะ ไปบณิ ฑบาตหมบู่ า้ นข้างหนา้ อายเขาพระพทุ ธองคท์ รงถามวา่ อายทำ�ไม แล้วสมมตุ ิวา่ หมู่บา้ นขา้ งหน้าก็เป็นหมู่บ้านมิจฉาทิฏฐิเหมือนกัน  ถ้าเขาไม่ใส่บาตร  เราจะไปไหนต่อ ไปหมบู่ ้านต่อไป เดนิ ไปเดินมาจนเทยี่ ง อาจไม่ไดฉ้ ัน เรา ชยสาโร ภิกขุ : 11​

ยืนอยทู่ ่ีน่ี เราไมไ่ ดไ้ ปขอเขา เราไมไ่ ด้ไปรบกวนเขา เราไม่ไดท้ ำ� อะไรทน่ี ่าละอาย พระอานนท์ละอายในสง่ิ ท่ไี ม่ควรละอาย จิตใจของพระพุทธองค์เป็นกลาง  ท่านจึงไม่สะทก สะทา้ นกบั ความรู้สกึ ของชาวบ้าน พระเจา้ แผน่ ดินมากราบมาไหว้ ท่านกเ็ ป็นอยา่ งน้ัน เทวดามากราบ พระพรหมมากราบ จิตใจของ ท่านกเ็ ป็นธรรมชาติอย่อู ยา่ งนนั้ ไมว่ ่าอะไรจะเกดิ ขนึ้ จติ ใจของ ทา่ นนิ่ง แตไ่ มใ่ ชน่ ่งิ เพราะไมร่ บั รู้ ไมใ่ ช่นงิ่ แบบสมาธิ หากนิ่ง ด้วยปัญญา ลืมตากน็ ิง่ ได้ เ ม่ื อ ค ร้ั ง ที่ ห ล ว ง พ่ อ ช า รั บ ส ม ณ ศั ก ด์ิ เ ป็ น ท่ า น เ จ้ า คุ ณ โพธิญาณเถร ทา่ นกลับจากกรงุ เทพฯ มาถึงอบุ ลฯ ชาวบ้านไปรอ ต้อนรับท่านที่สถานีรถไฟมากมายหลายพันคน  เพราะต่ืนเต้นท่ี หลวงพ่อของเราได้เป็นเจ้าคุณ  กลับถึงวัดแล้ว  หลวงพ่อก็เทศน์ เปรียบเทียบตัวเองกับสะพานข้ามแม่น้ำ�มูล  ท่านบอกว่า  น้ำ� ในแม่น�ำ้ สงู สะพานก็ไมโ่ ค้งขนึ้ นำ�้ ในแมน่ ้ำ�แหง้ สะพานกย็ งั เปน็ สะพานเหมือนเดมิ สะพานไม่ได้เปลีย่ นไปตามธรรมชาติของน�้ำ ท่ี12​ : ความมหศั จรรยข์ องจิตเป็นกลาง

ไหลมากไหลน้อย ท่านบอกวา่ จิตใจของท่านก็ไมไ่ ดข้ ้ึนไม่ไดล้ งกับสมณศกั ด์ซิ ึ่งเป็นเรอ่ื งทางโลก ทา่ นกแ็ ค่ร้เู ทา่ ทัน จติ ใจของเรา ถ้าเราไมท่ ำ�สมาธภิ าวนา เราจะเจริญตามรอยพระบาทของพระพุทธองค์ในเรื่องน้ีได้ไหม  เราจะหาอุเบกขาได้จากไหน จะไปเรียนทไ่ี หน จะวางจิตใจให้เป็นกลางในขณะทีม่ ีคนมาใสร่ ้ายเรา หรอื ชวนให้โลภ ชวนใหโ้ กรธ ชวนใหห้ ลง เราจะสรา้ งคุณธรรมข้อนี้ได้อย่างไร  ถ้าไม่ฝึกจิตในปัจจุบันให้อยู่กับอารมณ์กรรมฐาน  ในขณะที่มีส่ิงมาชวนให้เราคิดเรื่องอดีตหรือชวนให้คิดเรื่องอนาคต  น่ีเป็นการฝึกในเบื้องต้นให้เกิดคุณธรรมท่ีเป็นบุญเปน็ กุศลอย่างยิ่งในชวี ติ ของเรา คุณธรรมข้ออุเบกขา  นอกจากจะทำ�ให้จิตใจของเราสงบระงับแล้ว ยังเปน็ เงือ่ นไขทีข่ าดไม่ไดส้ ำ�หรับการทำ�งานของปญั ญา ถ้าจติ ใจเราไมเ่ ป็นกลาง ยังเข้าข้างตวั เอง ยงัอคติ ปญั ญาเกดิ ไม่ได้ ปญั ญาจะเกิดขน้ึ ในจิตใจทีเ่ ปน็ กลางถ้าจิตใจยังไม่เป็นกลาง  ปัญญาท่ีเกิดขึ้นคือความฉลาด  แต่เป็น ชยสาโร ภกิ ขุ : 13​

ความฉลาดทย่ี ังรบั จา้ งตณั หา ไม่เป็นอิสระ เมอื่ เรามีอคติเข้าขา้ ง ตัวเอง  บางคร้ังเราก็รู้ตัว  แต่บ่อยครั้งเราไม่รู้ตัว  เราคิดว่าเราใช้ เหตุผล  แต่เหตุผลนัน้ ถูกตัณหาดึงไปรับใชม้ นั จึงไม่เกดิ ประโยชน์ เทา่ ทค่ี วร เมื่อเราฝึกจิตใจเราให้เป็นกลางกับสิ่งต่างๆ  เราจะเริ่ม สงั เกตเหน็ หลายๆ สงิ่ เชน่ ความสงบสามารถเกิดไดโ้ ดยไมจ่ ำ�เป็น ท่ีจะต้องปลีกตัวออกจากสิ่งกระทบทั้งหลาย  เราทำ�ตัวเหมือน ระฆัง เวลามสี ง่ิ มากระทบระฆงั มันเป็นปัญหาไหม มนั ก็ไม่เป็น ปญั หา ตรงกนั ขา้ ม กลับมีเสยี งกงั วาน เหง่ง… เหงง่ … ถ้าเราท�ำ ตัว ให้เปน็ ระฆงั อะไรมากระทบ ก็มแี ต่ เหง่ง… เหงง่ … มนั กด็ สี ิ ไมไ่ ด้ เป็นปัญหาอะไร แต่ความสงบอย่างน้ีเกิดจากการรูเ้ ทา่ ทัน และ ต้องฝึกจิตให้เข้มแข็ง  ให้ชินกับการวางความยินดีกับสิ่งท่ี ชวนใหย้ ินดี วางความยินรา้ ยกับสิ่งท่ชี วนให้ยนิ ร้าย นบั เป็น ศลิ ปะอยา่ งหน่ึง เป็นความสามารถทีเ่ กดิ ข้ึนจากความเพียร พยายาม และต้องใช้เวลานาน14​ : ความมหัศจรรยข์ องจิตเปน็ กลาง

พอเราทำ�จิตใจของเราให้สงบได้  เราก็จะอยู่กับความจริงของชีวิตมากขึ้น  และจำ�เป็นอย่างย่ิงที่เราจะต้องรักษาท่าทีของการเป็นนักศึกษา  คือศึกษาสิ่งที่เกิดขึ้นในขณะที่จิตใจสงบอยู่กับความจริง ลองสังเกตดวู า่ เมอ่ื ออกจากสมาธดิ ว้ ยจติ ใจที่สงบแล้ว ลองพยายามคดิ โกรธใคร พยายามคิดพยาบาท คิดเท่าไหรก่ ็คิดไม่ออก เพราะมนั ผิดธรรมชาติของจิตท่สี งบ แตพ่ อคิดจะแผ่เมตตา  จะเหมือนมีพลังพุ่งไปเลย  น่ีคือการเรียนรจู้ ากธรรมชาตขิ องจติ ถ้าจิตใจเราอยู่ในสภาพออ่ นแอ วนุ่ วายคิดมาก ฟ้งุ ซ่าน ความรสู้ กึ คดิ โกรธใครเกดิ ข้นึ ง่าย จะแผ่เมตตาก็แผ่ไม่ออก  แต่เมื่อพัฒนาจิตใจไปถึงอีกข้ันหนึ่ง  จะเป็นจิตใจท่ีปราศจากอารมณ์ก่อกวน  มีสภาพปกติเป็นจิตท่ีโกรธไม่ค่อยเป็นแต่เมตตาเปน็ น่ีคือการเรียนรู้เร่ืองจิต  ไม่ใช่เร่ืองปรัชญา  แต่เป็นประสบการณ์ตรง  ใครไม่เชื่อก็ลองฝึกสมาธิดู  ไม่ต้องถึงข้ันสงบมาก ไม่ต้องถงึ ฌาณ เอาแค่สงบพอสมควร แล้วมาดูว่าจติ สงบมัน ชยสาโร ภกิ ขุ : 15​

อยากโกรธใครไหม  บางคนผูกโกรธจนคิดว่าไม่มีวันที่จะให้อภัย เขาได้  อาตมาว่าถ้าคนนั้นกล้าทำ�สมาธิภาวนาจนจิตสงบแน่วแน่ แล้วนึกคิดว่าจะให้อภยั เขาไดไ้ หม จะปรากฏว่าให้อภยั ได้ สงิ่ ทีเ่ คย คิดว่าไม่มีวันหรือไม่มีทางท่ีจะอภัยให้เขาได้กลับสลายตัว  น่ีคือ ความมหัศจรรย์ของจติ ที่ไดร้ ับการฝกึ อบรม เราเทยี บอยา่ งน้ีก็ได้วา่ มีวิชาหนง่ึ ทง่ี ่ายหน่อย มีตำ�ราเพียง แค่สองเล่ม  ถ้าจะเรียนให้จบวิชาน้ี  ต้องอ่านให้ครบทั้งสองเล่ม เลม่ หนงึ่ อ่านยากหนอ่ ย อีกเล่มหน่งึ อา่ นงา่ ยกวา่ มาก ผู้ทอี่ า่ นแค่ เล่มท่งี า่ ยเลม่ เดียวก็จะได้ความรพู้ อสมควร พอเอาตัวรอดได้ แต่ ไมถ่ ึงกับเป็นบณั ฑติ หรือผเู้ ชี่ยวชาญ ผทู้ ี่อ่านครบทั้ง ๒ เล่มจะได้ ข้อมูลความรูม้ ากขึน้ จนครบถว้ น นคี่ งไม่มีใครคดั คา้ น ทนี ีอ้ าตมาขอเปรยี บเทียบว่า การฝึกจติ ด้านในเหมอื นการ อา่ นหนังสือเลม่ ท่ี ๒ ทยี่ ากกว่า คือพอเราฝกึ จติ ใจใหส้ งบ เราจะ ได้ข้อมูล จะได้ความคิด จะได้เห็น ได้ศกึ ษาหลายสงิ่ หลายอยา่ ง ซ่งึ จิตปรกติท่ไี ม่ไดฝ้ ึกไมม่ ีทางและไม่มโี อกาสทจี่ ะได้ศกึ ษา ไม่มี16​ : ความมหัศจรรยข์ องจิตเปน็ กลาง

ทางทจี่ ะรไู้ ด้ หรือจะเปรียบเทียบอีกอย่างหน่งึ ระหวา่ งการดูรปู ๒มิติกับรปู ๓ มติ ิ ดูส่งิ เดยี วกัน แต่คนทดี่ ูรูป ๓ มติ ิจะเห็นบางส่ิงบางอย่างท่ีคนดรู ูป ๒ มติ ิไม่เหน็ คนทช่ี ินกับรปู ๒ มติ ไิ มม่ ีทางจะเขา้ ใจคนท่เี ห็น ๓ มิตไิ ด้ แต่คนท่ีเห็น ๓ มติ ิสามารถเขา้ ใจคนที่ดูแค่ ๒ มิติได้ มนั สูงกวา่ ลึกกวา่ ฉะนน้ั ถา้ เราอยากรูว้ า่ จติ ใจท่ีฝึกดีแล้ว  มีสภาพปกติเป็นอย่างไร  จิตใจที่บริสุทธิ์เป็นอย่างไร เรากเ็ รียนรู้ได้จากประสบการณ์ตวั เอง จึงขอท้าทายให้ลองดู  ใครฝึกจิตใจจนสงบแล้ว  ลองพยายามนึกโกรธใครจะได้ไหม  และขอท้าทายอีกเร่ืองหน่ึง  ถ้าจติ ใจสงบดแี ลว้ ลองพยายามนึกเรือ่ งเพศ จติ จะไปไหม จะสนใจไหม  ตอบได้เลยว่าไม่ไปและไม่สนใจ  มันเป็นธรรมชาติของจิตความพอใจความหลงใหลในเรื่องทางเพศเกิดเพราะจิตไม่สงบเมอื่ จิตสงบ มันจะไม่คดิ ไม่ยินดี และไม่พอใจทจ่ี ะคิดเรอ่ื งเพศ นี่ไมใ่ ชเ่ รอื่ งการบังคบั แตเ่ ป็นธรรมชาติของจติ ท่เี ราสามารถสัมผัสได้ พอจิตใจเราสงบ แมเ้ ราอาจจะคิดว่ายงั ไม่ค่อยเกง่ ยงั ไมค่ ่อยมี ชยสาโร ภกิ ขุ : 17​

ปญั ญา แต่บางทเี รากฉ็ ลาดกวา่ ท่คี ดิ ลักษณะของมมุ มองคา่ นิยม ของเราบางอยา่ งอาจจะเปลย่ี นโดยบางทีเราอาจจะไม่ร้ตู วั รู้แตว่ ่า เวลาอย่ใู นงานเลี้ยง ในสถานที่บนั เทงิ บางสง่ิ บางอยา่ งท่ีเราเคย ชอบมากๆ ทุกวนั น้รี ้สู ึกเฉยๆ คอื ไม่ได้ต้ังใจหรือบงั คับให้มันเฉย แต่มนั เปน็ ของมันเอง บางคนท่ียังไม่ศรัทธาในการฝึกฝนพัฒนาอาจจะคิดว่าตัว เองแปลกประหลาด หรือตวั เองจะเปน็ บ้าหรอื เปน็ อะไร ขอเปรียบ เทยี บกับผ้หู ญงิ ทอ้ งทีย่ งั ไม่เคยรวู้ ่าการต้งั ทอ้ งเป็นอยา่ งไร อาจจะ ตกใจว่าทำ�ไมท้องมนั ใหญข่ ึ้นทุกวันๆ ถา้ หากไม่มีใครบอกหรอื ไม่ เคยเห็นคนอ่ืนท้อง  อาจจะเป็นทุกข์คิดว่าตัวเองเป็นโรคร้ายแรง มาก เพราะเกิดความผิดปกตหิ ลายอย่าง ส่วนผู้ที่เข้าใจว่าการตั้ง ท้องเป็นอยา่ งไร มีผลอย่างไร ท้องก่ีเดือนจึงจะคลอด ก็จะเขา้ ใจ และท�ำ ใจได้ แทนท่ีจะทุกข์กลับดใี จ วิวัฒนาการของจิตของนักปฏิบัติก็เป็นเช่นน้ี  ถ้าเราอยู่ ในหมู่คนที่ไม่เคยปฏิบัติและไม่ค่อยสงบ  บางทีก็อาจจะสงสัย18​ : ความมหัศจรรย์ของจิตเปน็ กลาง

เหมือนกันว่า  มีอาการบางอย่างท่ีดูเหมือนแปลกประหลาดหรือไม่เหมือนคนอื่นเขาในกระบวนการพัฒนาของจิต  เราจำ�เป็นจะต้องมีกัลยาณมิตรผู้ท่ีเคยผ่านประสบการณ์มาแล้วบอกเราว่า ดแี ล้ว ถูกทางแล้ว เหมือนผหู้ ญงิ ทอ้ งบอกว่าอาเจยี นทุกวันๆ  ไม่รู้ว่าเป็นอะไร  ผู้ใหญ่ก็บอกว่าไม่เป็นอะไรหรอกธรรมดาของคนทอ้ งมันเปน็ อยา่ งน้เี อง เร่ืองการฝึกจิตก็เหมือนกัน  ถ้าความรู้สึกต่อความสุขทางโลกไมเ่ ปลยี่ น นั่นแหละนา่ เป็นหว่ งมากกวา่ จติ ใจทส่ี งบแล้วย่อมรู้วา่ อะไรๆ กเ็ ปน็ ของธรรมชาติ เรายืมเขามาใช้ นีเ่ ป็นปญั ญาทีเ่ กิดขึน้ เป็นปัญญาระดับความร้สู ึก ไมย่ ึดมัน่ ถอื มน่ั ในวตั ถุสง่ิ ของมากเหมือนแตก่ ่อน ใหเ้ ราดผู ู้ปฏิบัติดีปฏิบัตชิ อบแลว้ เปน็ ตัวอย่างเพื่อเปน็ แนวทางและเปน็ ก�ำ ลังใจ วันน้ีจะเล่านิทานให้ฟัง  เก่ียวกับอาจารย์เซนองค์หนึ่ง  มีขโมยถือดาบเข้ามาหาท่านในวัดตอนกลางคืนขณะท่ีท่านกำ�ลังสวดมนตอ์ ยู่ ขโมยข่ทู ่านวา่ ชยสาโร ภกิ ขุ : 19​

“Your money or your life ?” ถ้าไมใ่ ห้เงนิ ก็จะฆา่ ทา่ นจึงบอกวา่ “อยา่ ส่งเสียงดัง ก�ำ ลงั สวดมนต์ อย่าเพิง่ กวน เงินอยโู่ น่นใน ล้ินชัก ไปเอาเถอะ” ขโมยรู้สึกแปลกใจ  ทำ�ไมพระองค์น้ีไม่กลัวเขาเลย  ไม่มี อาการตกใจกลัว  แถมยังส่ังไม่ให้กวน  เพราะกำ�ลังทำ�วัตรสวด มนตอ์ ยู่ ขโมยกำ�ลังจะหยบิ เงนิ จากในล้นิ ชัก ทา่ นอาจารยก์ ็สวด จบบทหนงึ่ พอดี ทา่ นบอกวา่ “อย่าเอาเงนิ ไปท้ังหมดนะ พรุง่ นีห้ ลวงพ่อต้อง ไปจ่ายตลาด” พระเซนทา่ นใชเ้ งินนะ ขโมยยังงง เพราะน้ำ�เสยี งของพระ เฉยๆ ไมแ่ สดงอาการกลัวเลย “อย่าเอาไปทง้ั หมด เหลือไวส้ ว่ นหนงึ่ นะ ” “ครับ”  ขโมยรู้สึกประทับใจ  ก่อนท่ีเขาจะปีนออกไปทาง หน้าตา่ ง20​ : ความมหัศจรรยข์ องจติ เป็นกลาง

พระก็บอกว่า “อ้าว ยงั ไมเ่ ห็นกราบเลย ไม่ขอบคณุ เลยนะมารยาทแย่” เขาก็เลยวางดาบแล้วกราบ “ขอบคณุ ครบั ” แล้วปนี ออกไปสองวันต่อมาเขาก็ถูกตำ�รวจจับ  แล้วถูกทรมานให้สารภาพว่าทำ�ผดิ อะไรมาบา้ ง เขาก็สารภาพว่าไปขโมยเงินของหลวงพ่อทว่ี ดั ตำ�รวจจึงไปท่ีวัดเพื่อสอบถาม  “จริงไหมครับท่ีว่าเขาขโมยเงนิ ” พระตอบวา่ “เปล่า เขาไมไ่ ด้ขโมย ฉนั ใหเ้ ขาเอง แลว้ เขาก็ยงั ขอบคุณด้วย” ขโมยก็เลยไมต่ ้องติดคกุ เขาจึงเกิดศรทั ธา จนออกบวชและได้กลายเป็นพระปฏบิ ัตดิ ปี ฏบิ ตั ิชอบในท่ีสุด ไม่ใช่เฉพาะพระพุทธศาสนาที่มีนิทานเช่นนี้  มีแรบไบเป็นครสู อนศาสนายิวคนหนงึ่ แรบไบแตง่ งานมีเมีย ขโมยเขา้ บ้านตอนกลางคืนจะเอาเพชรพลอยของเมียไป แรบไบกเ็ หน็ แต่ไมว่ า่ อะไรขโมยจะเอาไปกเ็ รือ่ งของขโมย แตเ่ มียแรบไบไมพ่ อใจ ชยสาโร ภกิ ขุ : 21​

ตอนขโมยก�ำ ลังจะไป เมียแรบไบกร็ ้องว่า “ตายแลว้ เขาเอา แหวนของฉันไป แหวนน้นั มนั แพงมากนะ ราคาตงั้ ๑๐๐ ดอลลาร์” แรบไบก็ว่า “โอ… อยา่ งนนั้ เหรอ?” แล้วรบี วิ่งตามขโมยไปพรอ้ มตะโกนวา่ “เดี๋ยวก่อน... เด๋ยี ว กอ่ น... แหวนนน้ั มันแพงมากนะ ราคาตงั้ ๑๐๐ ดอลลาร์นะ อย่า ไปขายถกู ๆ ล่ะ” นีเ่ รยี กว่าเขาเมตตาขโมย ทุกศาสนาจะมีนิทานหรือนิยายสอนถึงท่าทีที่ถูกต้องต่อ ทรพั ย์สมบตั ิ เรอ่ื งนี้เกดิ จากการสงั เกตความรสู้ ึก คอื กลับมาเรอ่ื ง ทกุ ข์ ดับทกุ ข์ ศกึ ษาทุกข์ ศึกษาทางดบั ทุกข์ ทกุ ขเ์ มือ่ ไหร่ เครยี ด เมือ่ ไหร่ น่ีแหละ เปน็ เร่อื งทต่ี ้องศกึ ษา เอ... ท�ำ ไมฉันเป็นอย่างน้ี วิตกกงั วลทำ�ไม เครยี ดทำ�ไม เป็นเพราะอะไร ถ้าหากว่าไม่อดทนและไม่คิดจะศึกษาความรู้สึกท่ีเกิดข้ึน พระทา่ นเรียกว่า วิภวตณั หา คอื ไม่อยากให้เปน็ อยา่ งนี้ เช่น เม่อื เจบ็ ปวด ความร้สู กึ ที่เกดิ ขึ้นทันทคี อื ไมอ่ ยากใหเ้ ป็นอย่างน้ี อยาก ให้มันหายเร็วๆ  ความทุกข์ทางใจก็เช่นเดียวกัน  เวลารู้สึกไม่22​ : ความมหัศจรรยข์ องจติ เปน็ กลาง

สบายใจเรือ่ งใดเร่ืองหนึง่ ปฏิกิริยาแรก คือ ทำ�อย่างไรมนั จึงจะไม่เปน็ อยา่ งนี้ อยากจะหายเรว็ ๆ ส่วนผู้ท่ีต้องการเป็นนักศึกษาก็จะรู้ว่า  นี่แหละคือ  จุดที่ จะตอ้ งเจาะลึก อาจจะได้เห็นอะไรทีน่ ่าสนใจ ความรู้สึกที่เป็นทุกข์นี้มันเกิดจากเหตุจากปัจจัยอะไร  มันมีความคิดผิดอย่างไร มคี วามอยากได้ อยากมี อยากเปน็ อะไร จึงได้ทกุ ข์อยา่ งนี้ มันมอี ัตตาตวั ตนอยตู่ รงนมี้ ากน้อยแคไ่ หน อัตตา คอืแก่นแท้ของทกุ ข์ แกน่ แท้ของชวี ติ ทีไ่ ม่มีแกน่ แท้ คืออตั ตา เป็นเร่ืองท่ตี ้องศึกษา การที่เราสร้างภาพตัวเองวา่ เราเป็นคนอยา่ งน้ันคนอยา่ งนี้ นี่แหละคอื ตัวอตั ตา ถ้าเราถือวา่ เราเป็นคนดี ภูมใิ จในการเปน็ คนดี อัตตาก็เกดิ ขน้ึ ได้ แลว้ จะรู้ไดอ้ ยา่ งไร จะรไู้ ดก้ ต็ อ่ เม่ือเราเจอคนท่ีไม่เช่อื วา่ เราเปน็ คนดี หรอื หาวา่ เราเป็นคนไมด่ ี เราเปน็ ทุกข์ไหม เป็นทุกขท์ ำ�ไม  ถ้าเราดีจรงิ แล้วใครจะเชอื่ หรือไมเ่ ชื่อก็เป็นเรือ่ งของเขา แตถ่ ้ามันเป็นเรือ่ งของความยดึ ม่ันในความดี เราจะสนใจและใหค้ วามส�ำ คญั กบั ความรสู้ กึ ของ ชยสาโร ภกิ ขุ : 23​

คนอ่นื มาก เพราะเราถอื วา่ เราดีจรงิ ก็ด้วยการยอมรับของ คนอืน่ นั่นเป็นลกั ษณะของกิเลส เป็นลกั ษณะของอตั ตา ฉะน้นั ใหเ้ ราศึกษาตัวเอง ศกึ ษาคนอนื่ ศกึ ษาสงั คม เพื่อดู ว่าทุกข์เกิดอย่างไร  เราจะดับทุกข์ได้อย่างไร  ถ้ายังดับทุกข์ไม่ได้ ทำ�อย่างไรจึงจะทำ�ให้ทุกข์ลดน้อยลง  เรามีแนวทางที่ชัดเจนแล้ว พุทธศาสนาสอนว่า  จะแก้ทุกข์ได้  ต้องเข้าใจชีวิตตัวเอง ตอ้ งเข้าใจจิตใจของเราเอง และเขา้ ใจโลกตามความเปน็ จรงิ ส่วนวิทยาศาสตร์ถือว่าไม่จำ�เป็นต้องสนใจธรรมชาติของ จติ ใจ เพียงเราเข้าใจธรรมชาติแวดลอ้ ม เราก็สามารถแก้ทกุ ข์ของ มนษุ ย์ได้ อยา่ งนี้พุทธศาสนาไม่ยอมรบั พุทธศาสนาสอนวา่ เรา ต้องเขา้ ใจทกุ ดา้ น เราเขา้ ใจได้และควรเขา้ ใจ ฉะนั้นปัญหาที่เรา เห็นทุกวันน้ีก็คือ  สังคมไม่มีเป้าหมายท่ีชัดเจน  สิ่งท่ีเราสามารถ เห็นได้ไม่ยากก็คือ  ความสับสนระหว่างวิธีการและเป้าหมาย หลายส่ิงหลายอย่างท่ีเป็นข้ันวิธีการ  ในยุคปัจจุบันที่เป้าหมายไม่ ชดั เจน วิธีการน้นั กลับกลายเป็นเป้าหมายโดยทีเ่ ราไม่รตู้ วั24​ : ความมหัศจรรยข์ องจิตเป็นกลาง

ตวั อย่างเชน่ ความเตบิ โตทางเศรษฐกจิ เม่อื เราไมม่ ีความชัดเจนวา่ เราต้องการอยอู่ ย่างไร เราต้องการอะไร ความเติบโตทางเศรษฐกิจซึ่งน่าจะเป็นวิธีการที่จะให้ได้มาซึ่งอะไรสักอย่างก็กลับกลายเป็นเปา้ หมายในตวั ของมัน “โอ... ประเทศชาตินด้ี แี ล้วเศรษฐกิจเจริญเติบโตเท่าน้ันเปอร์เซ็นต์เท่าน้ีเปอร์เซ็นต์”  สิ่งท่ีเป็นวิธีการกลายเป็นเป้าหมายเพราะสังคมขาดเป้าหมายที่ชัดเจนไม่รู้ว่าพัฒนาไปเพ่ืออะไร  ก็มักพูดกันว่า  เพ่ือประโยชน์สุขของประชาชน แต่ขอถามวา่ สง่ิ ที่ทำ�กบั ผลทีเ่ กดิ ขึน้ น้ัน มันสอดคล้องกันไหม แล้วที่เราเรียกสังคมว่าเป็น  สังคมวัตถุนิยม  อาตมากย็ ังไมเ่ หน็ เป็นเชน่ นั้น ตรงกนั ข้าม อาตมาไมค่ ่อยจะเห็นคนสนใจเรื่องวัตถุสักเท่าไหร่  แต่เห็นคนสนใจเร่ืองสัญลักษณ์มากกว่า จะบริโภคอะไร  กไ็ มไ่ ดบ้ ริโภควตั ถุสักเทา่ ไหร่  แตพ่ อใจบริโภคสญั ลกั ษณ์ ย่หี ้อ แลว้ ยีห่ อ้ คอื อะไร เป็นวตั ถุไหม ย่หี ้อไม่ใช่วัตถุ ฉะนน้ั สิ่งทีเ่ ราต้องการกลบั เป็นความรูส้ ึกอย่างหนงึ่ ซึง่ เปน็ ชยสาโร ภิกขุ : 25​

นามธรรม  ไม่ใชเ่ รือ่ งวตั ถุ ไม่ใชเ่ ร่ืองการเอาชีวิตรอด บางทสี ินคา้ เหมือนกัน  เป็นวัตถุเหมือนกัน  แต่คนกลับต้องการสินค้าที่มีช่ือ อยา่ งนี้ๆ เพราะเราเข้าใจว่า ถา้ เป็นเจา้ ของสนิ ค้านี้ จะทำ�ให้เรา ได้เข้ากล่มุ นัน้ เราจะเปน็ คนระดบั นน้ั คอื เป็นความตอ้ งการทาง จติ ใจ ไมใ่ ชค่ วามต้องการทางวตั ถุ ฉะนัน้ จงึ ไม่ใช่วตั ถุนยิ มสกั เท่า ไหร่ แต่เปน็ ความต้องการความรู้สึก และสญั ลักษณ์ที่มผี ลอยา่ งยิง่ คือ เงิน เงินไม่ใช่วตั ถุ เงินเป็นสญั ลักษณ์ คนงกเงินไม่ใช่วัตถุนิยม  แต่เป็นสัญลักษณ์นิยม  เป็น พวกทยี่ งั อยู่ในโลกแห่งความเพอ้ ฝนั จนิ ตนาการและอารมณ์ ถ้า หากวา่ คนเราเป็นพวกวตั ถุนยิ มแล้ว เราจะต้องพัฒนาสงั คม ไปในทางท่ีจะไมใ่ ห้มีผใู้ ดขาดปัจจัย ๔ แม้แต่คนเดียว ถือเปน็ หน้าทีส่ ำ�คัญท่ีจะใหท้ ุกคนมีท่ีอยู่อาศัยท่ดี ี มีเสอ้ื ผา้ ใช้ มอี าหาร มี ยารกั ษาโรค นเ่ี ป็นเรื่องส�ำ คญั ของสังคมวัตถนุ ยิ มนะ วตั ถุนยิ มน้ี ใช้ได้ แต่สัญลักษณ์นยิ มนนี่ ่ากลัว ความรสู้ ึกต่างๆ ในจิตใจของคน ค่านิยมของตน ค่า26​ : ความมหศั จรรยข์ องจติ เปน็ กลาง

นิยมของคนอื่น  ต้องเอาหลักของพระพุทธเจ้ามาวิเคราะห์ใช้  ท่านเรียกว่าเป็นวัชระ  เป็นเหมือนดาบเพชรที่ตัดได้ทุกส่ิงทุกอย่าง  ไม่มีสิ่งใดท่ีปัญญาทางพุทธศาสนาไม่สามารถจะวิเคราะหไ์ ด้ ไมส่ ามารถจะตีให้แตกได้ เพียงแตว่ า่ เราไม่คอ่ ยจะสนใจเรียนรู้และนำ�คำ�สอนของพระพุทธเจ้ามาใช้ในชีวิตเท่าท่ีควรทั้งคำ�สอนที่จะป้องกันไม่ให้เหตุปัจจัยท่ีทำ�ให้มนุษย์เป็นทุกข์เกิดข้ึน  หรือให้เกิดข้ึนน้อยท่ีสุด  คำ�สอนที่จะแก้ทุกข์ท่ีเกิดข้ึนแล้วให้ตรงจุด คอื แก้ทตี่ น้ เหตุไมใ่ ชแ่ ก้ทีป่ ลายเหตุ เเล้วเรากไ็ ม่ไดส้ นใจเทา่ ที่ควรท่จี ะสรา้ งสิ่งทีด่ งี าม ขอกลับมาพูดถึงธรรมชาติของจิตปกติหรือจิตท่ีเป็น กลาง ปราศจากอารมณ์เศร้าหมองตา่ งๆ ค�ำ งา่ ยๆ ท่เี ราฟังมาโดยตลอด บางคำ�จะมคี วามหมายชดั ขน้ึ ค�ำ คำ�หนง่ึ คือ ความดีงาม ขอใหส้ งั เกตตัวเราเองทุกคน เวลาจิตใจเรามคี วามสงบอยู่บา้ ง ไมฟ่ ุง้ ซา่ นไม่วนุ่ วายไมเ่ ศรา้ หมอง เมือ่ เราเหน็ ความดี เราจะร้สู ึกว่างาม สำ�หรับผทู้ มี่ จี ติ ใจบริสุทธิ์ ผู้ทีม่ ีจติ ใจปกติเป็น  ชยสาโร ภิกขุ : 27​

กลาง จะไม่มีอะไรงามเทา่ ความดี เราจงึ เข้าใจวา่ ท�ำ ไมจึงนำ� ค�ำ วา่ “ดี” และ “งาม” มาเชื่อมกัน เปน็ ดีงาม อาตมาพยายามจะ แปลว่าค�ำ ดีงามเปน็ ภาษาอังกฤษ แต่แปลยากเพราะภาษาอังกฤษ ไมม่ คี ำ�เชอ่ื มว่า ดีงาม หากในภาคปฏบิ ตั ิเราร้วู ่า นักปราชญท์ ่าน เชื่อมอย่างไร  สำ�หรับผู้ท่ีตาสว่างแล้ว  ดีท่ีไหนก็งามที่นั่น ความดีที่ไม่งามไม่มี  นอกจากในสายตาของคนมีกิเลสหรือ ผู้มีผลประโยชน์ ฉะน้ันถ้าเราอยากจะดูว่า  จิตใจของเราก้าวหน้าใน ธรรมไหม ก็ให้ดวู า่ เรามคี วามรู้สึกต่อความดีอย่างไร รสู้ ึก ว่างามไหม มีความยินดีในความดีไหม อันนตี้ ้องไม่ใชย่ ินดีท่ี เปน็ กิเลส ยนิ ดใี นความดีน้ี เปน็ ธรรมฉันทะ เปน็ สิง่ ท่เี ปน็ กำ�ลัง ฉะนั้นเมื่อเราเข้ามาในบ้านของผู้ที่ไม่ประสงค์จะออกนาม ผู้ที่ ตั้งใจทำ�ความดีจะรสู้ ึกวา่ งามนะ ร้สู กึ ว่าเข้ามาแล้วสบายใจ เราทุกคนมีสิทธ์ทิ ่จี ะทำ�ชีวิตให้ดีงามได้  ทุกคนมีสิทธ์ิ เสมอกันในการสร้างคุณงามความดี  และเม่อื เราเห็นความ28​ : ความมหศั จรรย์ของจติ เป็นกลาง

งามของความดี ทง้ั ในตวั เองบา้ ง ในกลั ยาณมติ รของเราบา้ ง ผคู้ นรอบขา้ งบา้ ง กใ็ หเ้ ราอนโุ มทนาในความดนี น้ั เชดิ ชคู วามดี และพยายามท�ำ ความดใี หด้ ยี ง่ิ ๆ ขน้ึ ไป เหน็ ความดที ไ่ี หนใหเ้ ราอนโุ มทนาทน่ี น่ั   จติ ใจของเราจะเบกิ บานตลอดเวลา บางทีการทำ�ความดีของตัวเองยังจำ�กัดอยู่  แต่ว่าเมื่อเรายนิ ดีและอนุโมทนาในความดีของคนอ่นื เรยี กว่ามันไหลมาตลอดเวลา แทนทจี่ ะมองเพ่งโทษหาขอ้ บกพร่องในส่ิงตา่ งๆ ของคนน้ันคนน้ี ให้เรามองความดีของคนอื่น กจ็ ะเหมือนกับมีกระแสดงี ามไหลรนิ เข้ามาในจติ ใจของเราตลอดเวลา จิตใจของเรากจ็ ะเบกิ บานดว้ ยธรรม วนั นี้ อาตมาก็ได้ให้ธรรมะ คงจะพอสมควรแกเ่ วลา ขอยุติลงเพียงเท่าน้ี เอวงั ชยสาโร ภกิ ขุ : 29​

30​ : ความมหศั จรรยข์ องจติ เปน็ กลาง

Grow old : Grow up วันน้ีถือว่าเป็นวันสิริมงคล  เป็นวันคล้ายวันเกิดของผู้ไม่ประสงค์จะออกนาม  แม้แต่หนังสือ  “ตามความเป็นจริง”  ซ่ึงอาตมาใช้เวลาหลายร้อยชั่วโมงทำ�ขึ้นมาเพ่ือเป็นของขวัญวันเกิดในหนังสือก็ไม่ได้บอกช่ือ  มีแต่รูป  แล้วก็ไม่ได้เขียนว่าพิมพ์ในโอกาสครบอายุ ๘๐ ปี อาตมาจึงไดค้ ัดลอกธรรมบทที่ ๘๐ มาลงไว้ พวกเราจะได้รู้ว่าท�ำ ไมจงึ ได้เลอื กบทนี้ ไมใ่ ชด่ ว้ ยความบงั เอิญอาตมาตั้งชื่อหนังสือว่า  “ตามความเป็นจริง”  เพราะการรู้เห็นตามความเป็นจรงิ เปน็ จุดประสงค์ เปน็ ความหมายส�ำ คัญในชีวติ ของชาวพทุ ธ ชยสาโร ภกิ ขุ : 31​

พุทธศาสนาถือว่าการเกิดเป็นมนุษย์เป็นลาภอย่างยิ่ง เปน็ บุญอยา่ งย่งิ เพราะผู้เกิดเป็นมนษุ ย์มศี กั ยภาพท่ีจะรูเ้ หน็ ตามความเป็นจริงได้ เมอื่ เราเกดิ เป็นมนุษย์แล้ว ย่อมมีอายุมาก ขึ้นทุกๆ วัน ตามสำ�นวนพระท่านวา่ ๓๐-๔๐ ปแี รกก็แก่ขน้ึ หลงั จากนั้นก็แก่ลง  แต่เรื่องการเติบโตและความเปลี่ยนแปลงในชีวิต เมืองนอกเรียกวา่ “grow up” ทกุ วนั ๆ ต่อจากนน้ั ก็ grow older and older และในทส่ี ดุ ก็ grow old แต่ยงั มคี วามแตกต่าง ระหว่าง grow old ซึ่งเป็นเองโดยธรรมชาติ และการ grow up คนอายุ ๕๐-๖๐ ปีอาจจะ “grow old” แต่ยังไม่ “grow up” คือยังไมม่ วี ฒุ ภิ าวะสมกบั การท่ไี ด้เกดิ เปน็ มนษุ ย์ วันก่อนอาตมาได้วิเคราะห์คำ�ศัพท์ภาษาอังกฤษที่เราใช้ทับ ศัพท์โดยไม่มกี ารแปล บางค�ำ อาจเปน็ เพราะไม่รู้จะแปลว่าอยา่ งไร แต่บางคำ�อาจจะไมก่ ล้าแปล เช่นคำ�วา่ “playboy” ท�ำ ไมถงึ ไมก่ ล้า แปล กเ็ พราะถา้ แปลต้องแปลว่า “เด็กเล่น” เขาไม่อยากให้แปล เพราะกลัวบางคนจะเสียหนา้ บางทกี ารเปน็ playboy ก็แสดงว่า32​ : Grow old : Grow up

ยงั ไม่ grow up แค่ grow old หรอื grow older เท่านน้ั ในทางพุทธธรรม ถือวา่ เกดิ เปน็ คนแล้ว อย่างไรก็ตอ้ ง grow olderทุกวัน แต่จะเปน็ มนษุ ยแ์ ท้ต้อง grow up ด้วย ถา้ เราไม่ยอมหรือไม่อยาก grow up กไ็ ม่มใี ครว่า เพราะไมใ่ ชเ่ รอื่ งผดิ กฏหมายไม่ grow up ก็ไมต่ อ้ งติดคุกตดิ ตะราง ดังน้นั ให้เราเหน็ ความส�ำ คญั ของการ grow up ในการพฒั นาตนใหส้ มกบั ทีม่ ีโอกาสไดเ้ กดิ เป็นมนษุ ย์ การพฒั นาตนจะเกิดอย่างไร กเ็ กิดขึ้นจากสิ่งแวดล้อมที่ดี เช่น เราเองมีโอกาสท่ีจะเปน็ เพ่ือนที่ดี เป็นตัวอยา่ งท่ีดี ทจ่ี ะส่งเสรมิ ให้คนท่อี ยู่ใกลช้ ิดเกิดอุดมการณ์ในการพัฒนาตนเองให้เป็นมนุษย์โดยแท้  เป็นผู้ท่ีมใิ ช่ grow older อย่างเดยี ว แต่ grow up ดว้ ย เมอ่ื พระพทุ ธศาสนาถอื ว่า ปญั หาหลกั ของมนษุ ย์ คอืเราไม่รู้ไม่เห็นตามความเป็นจริง  ท่ีว่าไม่รู้ไม่เห็นตามความเปน็ จรงิ นั้นหมายถงึ อะไร ไม่รอู้ ะไร ไมเ่ หน็ อะไรตามความเป็นจริงตามหลกั ปริยตั ทิ ี่เรยี กวา่ รปู เวทนา สัญญา สังขาร วญิ ญาณ ซึ่ง ชยสาโร ภกิ ขุ : 33​

ก็คือ  กายกับใจนี่แหละ  ท่ีเรามักไม่เห็นตามความเป็นจริง โดยปกติความงมงายที่มีโทษมากท่ีสุดในชีวิต  ไม่ใช่ความงมงาย ในเรอ่ื งนอกตวั เรา แต่ความงมงายท่มี ีโทษอยทู่ ุกลมหายใจคอื ความงมงายในเรอ่ื งของกาย และเร่อื งของใจตัวเอง ที่เรา ยดึ มั่นถือม่นั วา่ เป็นเราเปน็ เขา ทั้งๆ ทีไ่ ม่เคยมขี ้อมลู ท่ชี ดั เจน และไม่มีเคร่ืองพิสูจน์ว่า  กายกับใจหรือขันธ์ทั้งห้าน้ีเป็นของเรา มันเป็นแค่ความรู้สึกลอยๆ  ที่เราไม่เคยได้ดู  ไม่เคยได้พิจารณา วเิ คราะหเ์ ท่าท่คี วร ถือว่าเป็นสงิ่ ท่ีเราประมาท ท่ีวา่ ประมาทน้นั ก็ขอแปลเป็นภาษาองั กฤษวา่ take for granted เรากแ็ ค่คดิ จาก พืน้ ฐานความรู้สกึ ว่าเราว่าของเรา เหมือนกบั ว่าเราสอ่ งไฟฉายไป นอกตวั โดยไม่เคยไดก้ ลับมามองว่าใครเป็นผู้ถือไฟฉาย การท่ีเราไม่รู้ไม่เห็นความเป็นจริงนั้นก็มีโทษมากอยู่แล้ว แต่ท่ีย่ิงกว่าน้ันคือ  เรายังเช่ือว่าเราเห็นตามความเป็นจริงในส่ิงท่ี เป็นมายา สิง่ ท่หี ลอกลวงเราตลอดเวลา ท�ำ ใหเ้ ราเชือ่ ความคิดผิด ของตวั เองมาก คอื ถ้าเรายังสำ�นึกตัวได้วา่ ยังมองไมเ่ หน็ ตาม34​ : Grow old : Grow up

ความเป็นจรงิ ก็ยังนับวา่ เปน็ ปญั ญาอยู่ในระดับหน่งึ แต่ถ้าพอใจในความเป็นอยู่  พอใจกับการอยู่ไปวันๆ  ตอบสนองความตอ้ งการของกายของใจไปวนั ๆ กเ็ รยี กวา่ grow old ทุกวนั แตไ่ ม่ได้เกิดประโยชน์เท่าทคี่ วรจากการได้เกดิ เป็นมนุษย์ เม่ืออาทิตย์ท่ีแล้วอาตมาสอนเด็กเยาวชน  มีคำ�ถามเร่ืองambition ความมกั ใหญใ่ ฝส่ งู วา่ เปน็ ชาวพทุ ธแลว้ จะ ambitiousได้ไหม  มีความมักใหญ่ใฝ่สูงได้ไหม  อาตมาก็ตอบว่า  ปัญหาของเราไม่ใช่เพราะ  ambitious  เกินไป  หากปัญหาคือไม่ambitious เทา่ ทค่ี วร คอื มคี วามหมายชวี ติ ทค่ี บั แคบเกนิ ไป มงุ่หาแตล่ าภ ยศ สรรเสรญิ สขุ อยา่ งเดยี ว พยามยามหลกี หา่ งจากการเสอ่ื มลาภ เสอ่ื มยศ นนิ ทา ทกุ ข์ วกวนอยแู่ ตใ่ นเรอ่ื งของโลกธรรม พยายามจะเลย่ี งใหพ้ น้ จากโลกธรรมทไ่ี มต่ อ้ งการและพยายามสะสมโลกธรรมทต่ี อ้ งการ มแี คน่ น้ั เอง อาตมาวา่พวกเราควรจะ ambitious ใหม้ ากกวา่ น้ี ควรตง้ั เปา้ หมายชวี ติ ใหส้ งูกวา่ นน้ั ถา้ เอาแคน่ น้ั มนั กน็ า่ เสยี ดาย คอื ยงั ไม่ grow up เทา่ ทค่ี วร ชยสาโร ภิกขุ : 35​

เมอื่ อาตมาเริ่มศึกษาพุทธธรรม หนงั สือฝา่ ยเถรวาทมีนอ้ ย มาก  นอกจากพระไตรปิฎกก็แทบจะไม่มี  ส่วนมากมีแต่หนังสือ ทางเซน  มีหนังสือเซนที่อาตมาชอบเล่มหน่ึง  เป็นหนังสือที่มีชื่อ เสียงมากพอควรช่อื Zen Mind, Beginner’s Mind ผ้เู ขียนคอื พระ อาจารย์ Suzuki Roshi จากญ่ปี ่นุ ทีไ่ ปสรา้ งวัดท่ี San Francisco ชือ่ หนังสือมคี วามหมายดี ทา่ นบอกว่าทา่ นชอบสอนฝรงั่ มากกว่า สอนคนญป่ี ุน่ เพราะคนญป่ี ุ่นเขาคิดว่าเขารดู้ ีแล้ว เขารู้หมดแล้ว ฉะนั้นจิตใจจึงไม่เปดิ กวา้ งทจ่ี ะรับธรรมะ มีเครอื่ งกรองซึ่งเกดิ จาก ทิฐิมานะความเคยชินต่างๆ  ส่วนชาวตะวันตกในสมัยนั้น  ท่าน ชนื่ ชมวา่ มี Beginner’s Mind เปน็ “ผู้ใหม”่ ไม่มที ฐิ มิ านะ เปิดใจกว้างรับหลักธรรม  โดยไม่ถือว่าตัวเองรู้ดี  ภายหลัง ชาวตะวนั ตกกค็ งจะกลายเป็นพวก Old Mind เหมือนกนั กลาย เป็นคนทอ่ี า่ นหนังสือมาก คดิ ว่าตวั รู้มาก มที ิฐิมานะมาก เพราะ หนังสอื เรอ่ื งนี้เขียนเม่อื สี่สิบกวา่ ปที แ่ี ลว้ การมี Beginner’s Mind เปน็ แนวความคดิ ทด่ี แี ละนา่ สนใจ36​ : Grow old : Grow up

ถ้าใช้สำ�นวนของเรา  ก็เรียกว่าไม่ประมาท  คือไม่สรุปว่าเร่ืองน้ีเราเขา้ ใจดแี ลว้ เรอ่ื งนง้ี า่ ยๆ เรอ่ื งนธ้ี รรมะพน้ื ฐาน เรอ่ื งนธ้ี รรมะอนบุ าล ธรรมะของพระพทุ ธเจา้ ไมม่ อี นบุ าล ไมม่ ปี ระถม ไมม่ ีมธั ยม ไมม่ อี ดุ มศกึ ษา เราตอ้ งถามตวั เองวา่ ท�ำ ไดห้ รอื ไมไ่ ด้เทา่ นน้ั ถา้ เรายงั ท�ำ ไมไ่ ด้ ไมว่ า่ ธรรมะระดบั ไหน แมจ้ ะเปน็ ธรรมะง่ายๆ  เราก็ยังขาดอย่ใู นส่วนน้ัน  บางทีเราก็ท้อแท้กับเร่ืองง่ายๆเรอ่ื งพน้ื ๆ บางทกี ค็ ดิ วา่ เราศกึ ษาปฏบิ ตั ธิ รรมมานานแลว้ เรอ่ื งนเ้ี รานา่ จะไดแ้ ลว้ กไ็ ปแสวงหาธรรมะทส่ี งู กวา่ คดิ วา่ ดกี วา่ ชอบฟงั ธรรมะชน้ั สงู ๆ ทง้ั ๆ ทธ่ี รรมะเบอ้ื งตน้ กย็ งั ไมเ่ รยี บรอ้ ย กเ็ ลยไม่ประสบความสำ�เร็จในการปฏิบัติเท่าท่ีควร  ดังน้ันเราจึงควรรกั ษาความเปน็ “ผใู้ หม”่ อยเู่ สมอ แตถ่ า้ เราขาดปญั ญาในความเปน็ ผใู้ หมอ่ ยเู่ สมอ กม็ กั จะสดุ โตง่ ได้ กลายเปน็ การมองตวั เองในแง่รา้ ย วา่ ตวั เองไมเ่ กง่ ตวั เองท�ำ ไมไ่ ด้ การรเู้ หน็ ตามความเปน็ จรงิตอ้ งระมดั ระวงั อยเู่ สมอ  ไมม่ องในแงด่ เี กนิ ไป  ไมม่ องในแง่รา้ ยเกนิ ไป แตพ่ ยายามมองเหน็ ตามความเปน็ จรงิ ชยสาโร ภิกขุ : 37​

การที่จะรู้จะเห็นตามความเป็นจริงต้องรู้จักปล่อยวาง นิวรณท์ ัง้ ๕ ขอ้ ถ้านิวรณ์ยังครอบง�ำ จิตอยู่เปน็ ประจ�ำ ยงั ไมต่ อ้ ง พดู ถงึ สมถะ ไม่ต้องคุยเร่ืองวปิ สั สนา มนั ยงั ไมใ่ ชท่ ั้งน้ัน อุปสรรค สำ�คัญของท้ังสมถะทั้งวิปัสสนา  ท้ังความสงบทั้งปัญญา  ก็ คือนิวรณ์  ๕  ถึงแม้ว่าเราจะมีศรัทธาโดยชอบในทางท่ีตัวเอง เรียกว่าสมถะหรือวิปัสสนา  หากในภาคปฏิบัติจริงๆ  แล้ว  ส่ิง ที่เป็นอุปสรรคก็เป็นส่ิงเดียวกัน  จะไปทางวิปัสสนาก็ต้องหลุด พ้นจากนิวรณ์ จะไปทางสมถะก็ต้องหลุดพ้นจากนิวรณ์ ในการปฏิบัติต้องหาความพอดีของตัวเองในทางปัญญา และความสงบ อะไรจะเด่นกว่ากันเท่านั้นเอง แต่ต้อง มีทั้งสองฝ่าย จิตใจของเราจะรู้เห็นตามความเป็นจริงต้องมี ทั้งความมั่นคงและความสุขของจิตใจที่มีหลักทางสมถะ  และ จะต้องมีความคมชัด มีจิตใจที่มีฉันทะในการค้นคว้าความจริง ของชีวิต มีในฝ่ายของปัญญา เพื่อจะนำ�ไปสู่วิปัสสนา เป็นเรื่อง ความพอดีความสมดุลกัน38​ : Grow old : Grow up

อาตมาเองกพ็ ยายามจะรกั ษาแนวทางของการมี Beginner’s Mind  เมื่อครั้งที่รับผิดชอบเป็นผู้บริหารวัดป่านานาชาติ ปกติช่วงเช้าตั้งแต่หลังฉันเสร็จจนถึงเที่ยง ตอ้ งรบั แขกใหข้ อ้ คดิ ชาวบ้านญาตโิ ยมวันละ ๒-๓ ชว่ั โมง ชว่ งแรกๆ ร้สู ึกวา่ เป็นภาระหนัก แต่วนั หนึง่ กไ็ ด้ข้อคิดว่า นีเ่ ปน็ โอกาสท่ดี ีทีเ่ ราจะเรยี นรู้ ไมใ่ ชว่ า่ เราเป็นฝ่ายสอนอย่างเดียว เราจะเป็นฝ่ายเรียนรู้ด้วยไม่ใช่ว่าเรารู้ทุกสงิ่ ทกุ อย่าง โยมไม่รู้อะไรสักอยา่ ง ตา่ งคนตา่ งรู้ ต่างคนต่างมีข้อมลู มีความเข้าใจกันคนละมมุ มอง จงึ พยายามเรียนร้จู ากชีวิตของญาตโิ ยม บางทีมผี ู้มกี ารศกึ ษามีความรู้ ไม่วา่ จะเป็นความรู้ในการทำ�นา  ในการค้าขาย  หรอื ความรูใ้ นวิชาชีพตา่ งๆ อาตมาก็พยายามจะให้ไดก้ �ำ ไรจากการพูดคุย คอื ไดค้ วามรูบ้ ้าง ไดฟ้ งัปัญหาชีวิตของญาติโยม  แทนที่จะรู้สึกว่าเป็นภาระหนัก กลับกลายเป็นส่ิงที่ทำ�ให้เข้าใจชีวิตของญาติโยมมากขึ้น  เวลาคนมีปญั หามาปรึกษา ไม่ว่าจะเป็นปญั หาเรื่องอกหกั หรอื ปญั หาชีวิตส่วนตัวต่างๆ เราก็จะสามารถตอบปัญหาได้ถกู จดุ เพราะเราคุยกับคนมามาก  เรามีข้อมูลมาก  ทำ�ให้รู้สึกมั่นใจในการให้ข้อคิด ชยสาโร ภิกขุ : 39​

ขอ้ คดิ กว้างๆ กใ็ ชห้ ลักธรรม แตใ่ นกรณีปัญหาเฉพาะด้าน กอ็ าศัย การเรียนรปู้ ระสบการณ์ชีวิตจากญาตโิ ยม ท�ำ ให้รูส้ กึ ว่าการพบปะ พูดคุยน้ันเป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้กันมากกว่า  พอรู้สึก ว่าเป็นการแลกเปล่ียนไม่ใช่ว่าเราเป็นผู้สอนฝ่ายเดียว  เราก็เป็น ผเู้ รียนร้ดู ว้ ย จึงไม่รสู้ ึกวา่ เป็นภาระหนักอกี ต่อไป เรากพ็ ยายามจะเรียนรู้ในเรอ่ื งต่างๆ ท่ีเราขาดความรู้ เชน่ เรื่องเศรษฐกิจเศรษฐศาสตร์  เราไม่มีเวลาไปเรียนรู้  เราก็อาศัย การคุยกบั ผู้รูบ้ า้ ง วางท่าทใี ห้เป็นผู้มี Beginner’s Mind เม่ือมี โอกาสไดศ้ กึ ษา เราก็จะไดข้ ้อคิดบางอยา่ ง ประเดน็ ทอ่ี าตมาได้ ฟังบ่อยๆ  ว่า  คนท่ีปฏิบัติธรรมจะเอาตัวรอดในสังคมยาก เพราะสังคมมีการแข่งขันสูงมาก  อาตมาจึงเอาเป็นประเด็น ท่ีจะคิดพิจารณา  ก็ได้ข้อมูลมากเหมือนกัน  อย่างเช่น  อาตมา ได้ศกึ ษาเร่ืองทีเ่ รยี กวา่ Economics of Trust (เศรษฐศาสตรว์ า่ ดว้ ยความไว้วางใจ) ศกึ ษาความสำ�คญั ของเร่อื งความไว้วางใจกนั ในระบบเศรษฐกิจต่างๆ  ทุกวันนี้มีนักเศรษฐศาสตร์เขียนเร่ืองนี้40​ : Grow old : Grow up

กันมาก  เช่นค่าใช้จ่ายในบรษิ ทั ทมี่ ีพนักงานทไ่ี ว้วางใจกนั ไดจ้ ะลดลงมาก  หรือถ้าจะทำ�ธุรกิจกับคนท่ีเราไว้ใจได้ว่าซื่อสัตย์  เราจะสามารถลด transaction cost หรอื ต้นทุนในการจดั ต้งั ธรุ กจิ รว่ มกนั ได ้ ผปู้ ระกอบธรุ กจิ ทซ่ี อ่ื สตั ยส์ จุ รติ ไมค่ อรปั ชน่ั ไมค่ ดโกง จะเสยีเปรยี บผู้อน่ื หรอื ไม่นัน้   กอ็ าจจะเสียเปรียบอยบู่ า้ งในบางด้าน แต่ในขณะเดยี วกนั กจ็ ะได้เปรียบดว้ ย เช่น ถ้าเรามชี อ่ื เสียงว่าเราเป็นคนน่าไว้ใจ เป็นคนซื่อสัตย์สุจริต เราก็น่าจะได้ลูกค้าที่ต้องการทำ�ธุรกิจกับผู้ที่เขาจะไว้วางใจได้ คนเรามักจะมองภาพกว้างๆของสังคมแล้วพูดตามๆ กันโดยไม่คิดไม่พิจารณาว่า สังคมและโลกธรุ กิจใช้ระบบแขง่ ขัน แตไ่ มค่ อ่ ยไดค้ ดิ วิเคราะหอ์ ะไรจริงๆจังๆ  เช่น  ความสำ�คัญของความไว้วางใจกัน  ขอให้ลองตรองดูยกตัวอย่างธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง  ถ้าสามารถสร้างจุดแข็ง  หรือbrand  ของบริษัทว่า  “เรารักษาคำ�พูด”  ผู้ท่ีรู้ว่าบริษัทรับเหมากอ่ สร้างนจ้ี ะปฏบิ ตั ติ รงตามสญั ญาที่ตกลงกันไว้ เขาจะสนใจทจี่ ะใช้บริการของบริษทั ท่เี ขาม่นั ใจไหม ชยสาโร ภกิ ขุ : 41​

ความไว้วางใจน้ีมีบทบาทในทุกๆ  ระบบ  โดยเฉพาะใน เรือ่ งทเ่ี ก่ยี วกบั การเงนิ หรือเก่ียวกับบรษิ ทั เครดิตต่างๆ ซ่งึ มลี กู คา้ ทุกระดบั ทเ่ี มอื งนอกตอนนม้ี ีการเคลอื่ นไหวทีน่ า่ สนใจหลายเร่อื ง เชน่ เรือ่ ง gift economy ทอ่ี เมรกิ ามีกระบวนการใหม่เรยี กวา่ karma kitchen คอื มีคนทำ�รา้ นอาหารทไ่ี มค่ ดิ เงนิ แต่มตี ู้รบั เงนิ บริจาค  เขียนข้อความบอกลูกค้าว่า  วันน้ีคุณได้ทานอาหารจาก นำ้�ใจของผู้อื่น  และเพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้อ่ืนได้ทานอาหารฟรีบ้าง ขอเชิญคุณบริจาคตามใจชอบ  คือไม่ได้กำ�หนดว่าจะต้องบริจาค เท่าใด แต่เชิญชวนให้บรจิ าคตามก�ำ ลงั ศรัทธา ฉะน้ันในกระแสใหญ่ก็มีกระแสเล็กๆ  ท่ีคนกำ�ลังทำ�บางส่ิง บางอยา่ งเพอื่ ส่งเสริมคณุ ธรรมในสงั คม และท่สี �ำ คญั คอื เราตอ้ ง สำ�นึกอยู่เสมอว่า  เราไม่ใช่ผู้ท่ีถูกกำ�หนดโดยสังคม  แม้ใน บางสว่ นอาจจะใช่ แตใ่ นขณะเดยี วกันเรากเ็ ป็นผู้ที่มีสว่ นใน การกำ�หนดอนาคตของสังคมได้  ไม่ใช่ว่าเป็นหน้าที่ของเราท่ี จะต้องปรับตัวให้เข้ากับสังคม  ราวกับว่าสังคมมีเพียงสังคมเดียว42​ : Grow old : Grow up

ที่ตายตวั ซงึ่ ทุกคนตกลงกันแล้ววา่ สงั คมต้องเปน็ อย่างนี้ๆ แล้วคนเราต้องปรับตัวให้ตรงตามน้ี  ถ้าเป็นเช่นนั้นสังคมจะดีข้ึนได้อย่างไร จะต้องรอถึงเมื่อไหร่ แลว้ กค็ งจะไมม่ ที างดขี ้นึ ด้วย แต่ภายในสังคมกระแสใหญ่  ก็มีกระแสเล็กกระแสน้อยที่มีผู้มีอุดมการณ์จำ�นวนไม่น้อยที่จะสร้างสิ่งที่ดีงาม  เราจะต้องช่วยให้กำ�ลังใจกัน  ช่วยกันทำ�ให้สังคมของเรามีวุฒิภาวะมากขึ้น  วุฒิภาวะนี้เกิดจากความสนใจที่จะรู้เห็นตามความเป็นจรงิ เช่น เราพฒั นาเศรษฐกจิ เพอ่ื อะไร ทกุ วันนดี้ เู หมือนว่าชวี ิตคนเราเป็นไปเพือ่ เศรษฐกิจ ท่ถี ูกแล้ว อาตมาวา่ เราน่าจะพัฒนาเศรษฐกจิ เพ่ือมนษุ ย์ มนุษย์ทุกคนต้องการความสุข ก็นา่ จะศึกษาให้ดีวา่ ความสุขคืออะไร ใหแ้ ตล่ ะคนลองเอากระดาษมาจดว่า ในชวี ิตทผี่ า่ นมา ส่งิ ท่ีเคยทำ�ให้เรามคี วามสุขมากทสี่ ุดสกั ๑๐ อยา่ งมอี ะไรบ้าง แล้วดูวา่มีสักกี่ข้อท่ีเกิดจากการบริโภควัตถุ  พระพุทธศาสนาไม่ได้เอาแต่สัง่ ว่า เปน็ ชาวพทุ ธต้องประหยัด ชาวพุทธตอ้ งรู้จักพอดี ชาวพุทธ ชยสาโร ภกิ ขุ : 43​

ต้องไม่หลงใหลในบริโภคนิยม  แต่สอนให้สำ�นึกและพิจารณาดู ว่า  ชีวิตจริงของเรา  ไม่ใช่ชีวิตในความคิดหรือชีวิตในจินตนาการ ท่เี คยมคี วามสขุ มากๆ เกดิ จากอะไร เกิดจากการใช้เงินมากนอ้ ย แคไ่ หน หรอื ถา้ เราไดค้ วามสุขหลังจากการได้จ่ายเงนิ การจ่ายเงิน นั้นเป็นตัวสาเหตุหรือเป็นแค่ปัจจัย  เรื่องน้ีเป็นส่ิงที่เราแต่ละคน ควรจะสนใจศกึ ษา ถา้ ความสุขเป็นสงิ่ ท่ียงิ่ ใหญท่ ่สี ุดในชีวิตของเรา จรงิ ๆ ก็นา่ จะเปน็ สง่ิ ทเี่ ราทุกคนตกลงกนั ได้แล้ว ทุกวันนี้การแสวงหาความสุขของเราและคนรอบข้างถูกจุด หรอื ไม่ หรือเราก�ำ ลงั หลงทาง เพราะสิ่งทจี่ ะชวนใหเ้ ราหลงทางได้ มีมาก สิง่ รอบขา้ งทช่ี วนให้ฟงุ้ ซ่านชวนใหว้ นุ่ วายก็มมี าก นา่ เป็น ห่วงเด็กรุ่นใหม่ที่มีเครื่องมือสื่อสารต่างๆ  ในยุคน้ีกลายเป็นของ เสพตดิ อย่างมาก เม่ือไม่นานมาน้ี อาตมาสอนปฏบิ ัติธรรมใหก้ ลมุ่ เยาวชน มีเดก็ ผูห้ ญิงคนหนง่ึ นง่ั อยูต่ อ่ หนา้ อาตมา ขณะท่ีอาตมา ก�ำ ลังอบรม เขากน็ ง่ั กดขอ้ ความทางโทรศพั ท์ ถ้าเปน็ เด็กวยั รุ่นท่ี ต่อต้านผู้ใหญ่  อาตมาก็พอจะเข้าใจ  แต่น่ีดูเหมือนว่าเขาไม่รู้สึก44​ : Grow old : Grow up


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook