Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข่าวรอบสัปดาห์

ข่าวรอบสัปดาห์

Published by cmuccarc, 2022-11-16 08:39:07

Description: ข่าวรอบสัปดาห์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฉบับที่ 43 วันที่ 24 - 30 ตุลาคม 2565

Search

Read the Text Version

ขอเชญิ รว่ มทำ�บญุ ทอดกฐนิ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วนั เสารท์ ่ี 29 ต.ค. 2565 ณ วดั ฝายหนิ ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทยพ์ งษร์ กั ษ์ ศรบี ณั ฑติ มงคล อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ พรอ้ มด้วยผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธญั ญานุภาพ อานันทนะ รองอธิการบดี รองศาสตราจารย์ ดร.ธงชัย ฟองสมุทร คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ และผู้บริหารคณะฯ ให้การต้อนรับ รองศาสตราจารย์ ดร.ชาตรี มณโี กศล รกั ษาราชการแทนอธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่ และคณะ ในโอกาสเยอื นมหาวิทยาลยั เชียงใหม่ เพ่ือร่วมพธิ ลี งนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลงความร่วมมือ ทางวชิ าการ ระหวา่ ง มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่กับมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ เพื่อม่งุ ผลติ บัณฑิต ในสาขาหลักสูตรวิศวกรรมโยธาให้มีคุณภาพ พร้อมท้ังส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา ด้านวิชาการ วิจัย นวัตกรรม และบริการวชิ าการ ในการเสริมสรา้ งศกั ยภาพความเขม้ แข็งทาง วิชาการและความเป็นเลิศ น�ำองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาไปประยุกต์ใช้ โดยมี คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ และคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม่ ร่วมพัฒนาวชิ าการฯ เม่อื วนั ท่ี 17 ตุลาคม 2565 ณ ห้องบัวเรศ ค�ำทอง ชนั้ 5 สำ� นกั งานมหาวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ จัดพิธที �ำบุญทอดกฐนิ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ขา่ วรอบสัปดาห์ ประจ�ำปี 2565 ในวันท่ี 29 ตุลาคม 2565 ทอดถวาย ณ วัดฝายหิน ตำ� บล สเุ ทพ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งใหม่ สมทบทนุ บรู ณะปฏสิ งั ขรณส์ งิ่ กอ่ สรา้ ง และ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ อปุ ถมั ภพ์ ระภกิ ษสุ งฆ์ วดั ฝายหนิ เปน็ วดั โบราณ เคยเปน็ ทสี่ ถติ ของพระอภยั สารทะ เจา้ คณะ CHIANG MAI UNIVERSITY WEEKLY NEWS https://cmu.ac.th จังหวัดเชียงใหม่ องค์แรกในสมัยรัตนโกสินทร์ มีพ้ืนที่ติดต่อกับมหาวิทยาลัย เชียงใหมด่ ้านทศิ ตะวันตก มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ไดร้ บั วัดฝายหินเข้าในความ ปี ท่ี 17 ฉบับท่ี 43 วันท่ี 24 - 30 ตลุ าคม 2565 อปุ ถมั ภข์ องมหาวทิ ยาลยั ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2512 เปน็ ตน้ มา และไดใ้ หก้ ารสนบั สนนุ ส่งเสริมในการพัฒนาวัดฝายหินมาโดยตลอด นอกจากนี้ วัดฝายหินยังเป็น อาจารย์และนักวิจัย มช. ไดร้ ับการจัดอันดับ อยู่ในกลมุ่ นกั วิทยาศาสตร์ชน้ั น�ำ ระดบั โลก (อา่ นต่อหน้า 2) “World’s Top 2% Scientists” ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทยพ์ งษร์ กั ษ์ ศรบี ณั ฑติ มงคล อธกิ ารบดี ประจำ�ปี 2022 โดย Stanford University มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ พรอ้ มดว้ ยรองอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ หวั หนา้ ภาควชิ าประวตั ศิ าสตร์ คณะมนษุ ยศาสตร์ และผบู้ รหิ ารคณะฯ ใหก้ ารตอ้ นรบั เมอ่ื วนั ที่ 10 ตลุ าคม พ.ศ. 2565 ทผี่ า่ นมา มหาวทิ ยาลยั สแตนฟอรด์ (Stanford University) รองศาสตราจารย์ ดร.ศรินทร์ทิพย์ แทนธารี รกั ษาราชการแทนอธิการบดี เผยแพรข่ อ้ มลู รายชอ่ื นกั วทิ ยาศาสตรท์ ไี่ ดร้ บั การอา้ งองิ สงู ทส่ี ดุ ใน Top 2% ของโลก ในสาขาวชิ าตา่ งๆ มหาวิทยาลัยนเรศวร และคณะ ในโอกาสเยือนมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ แบง่ ออกเปน็ 22 สาขาหลกั 176 สาขายอ่ ย โดยมาจากการศกึ ษาเรอื่ ง “Updated science-wide เพอ่ื รว่ มพธิ ลี งนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลงความรว่ มมอื ทางวชิ าการ ระหวา่ ง มหาวทิ ยาลยั author databases of standardized citation indicators” ในวารสารวชิ าการนานาชาติ เชียงใหม่กับมหาวิทยาลัยนเรศวร เพื่อสร้างความร่วมมือในการแลกเปล่ียน PLOS BIOLOGY ซง่ึ ใช้ตวั ชีว้ ดั ท่หี ลากหลาย (citations, h-index, co-authorship adjusted ข้อมูลส�ำหรับการประกันคุณภาพการศึกษาของหลักสูตรศิลปศาสตร์บัณพิต hm-index, citations to papers in different authorship positions and a composite สาขาวชิ าประวตั ศิ าสตร์ ทั้งในระดับปริญญาตรี และระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา และ indicator (c-score)) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การเรยี นการสอน การวจิ ยั การแลกเปลยี่ นความรว่ มมอื ทาง โดยแบง่ รายชอ่ื นกั วทิ ยาศาสตร์ วิชาการ ตลอดจนถ่ายทอดความรู้และพัฒนาเครือข่ายด้านการวิจัย โดยมี และการจดั อนั ดบั นกั วทิ ยาศาสตรอ์ อกเปน็ คณะมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ และคณะสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั 2 ประเภท (การจดั อนั ดับดงั กล่าว ไดใ้ ช้ นเรศวร ร่วมพัฒนาวิชาการฯ เมื่อวันท่ี 17 ตุลาคม 2565 ณ ห้องบัวเรศ ข้อมูลการถูกอ้างอิง (citation) ของ คำ� ทอง ชัน้ 5 ส�ำนักงานมหาวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ บทความวชิ าการในฐานขอ้ มลู Scopus ของนักวิจัย ปรับปรุงเป็นข้อมูลล่าสุด วนั ที่ 1 กนั ยายน 2565) แบง่ 2 ประเภท คอื 1.ผลกระทบการอา้ งองิ ตลอดชพี สงู ทส่ี ดุ (career-long citation impact) โดยใช้ข้อมูลถึงส้ินปี ค.ศ. 2021 ซึ่งมี รายช่ือนักวิทยาศาสตร์ท่ัวโลกในปีนี้ 195,605 ทา่ น ในไทย 223 ทา่ น 2. ผลกระทบการอา้ งองิ เฉพาะ ปี ค.ศ. 2021 สูงท่สี ดุ (citation impact during the single calendar year 2021) ซง่ึ มรี ายชอื่ นกั วทิ ยาศาสตรท์ วั่ โลก ในปีนี้ 200,409 ทา่ น ในไทย 307 ท่าน ส�ำหรบั ประเภท Career-long มอี าจารยแ์ ละนกั วจิ ยั มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ตดิ อนั ดบั 16ทา่ นจาก10สาขา(sub-field) (อา่ นตอ่ หนา้ 2) วิสัยทศั น์ : มหาวทิ ยาลยั ชน้ั น�ำ ท่รี ับผดิ ชอบต่อสังคมเพ่ือการพัฒนาท่ยี ่งั ยนื ดว้ ยนวตั กรรม (A Leading University Committed to Social Responsibility for Sustainable Development through Innovation)

ข่าวรอบสปั ดาห์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฉบับท่ี 43 วันที่ 24 - 30 ตุลาคม 2565 ขอเชิญรว่ มทำ�บญุ ทอดกฐนิ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ฯ (อา่ นต่อหน้า 1) ศาสนสถานทม่ี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ไดใ้ ชใ้ นการประกอบพธิ ใี นวนั สำ� คญั ทางพระพทุ ธศาสนา ของคณาจารย์ เขตรวั้ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ บุคลากร นักศึกษา และพุทธศาสนิกชนทั่วไป เช่น การจัดงานท�ำบุญตักบาตรเทโวโรหณะ วันวิสาขบูชา วันมาฆบชู า วนั อาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา เป็นตน้ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วรพจน์ เสรรี ฐั ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดี ผแู้ ทนอธกิ ารบดี ในปี 2565 น้ี มหาวิทยาลยั เชียงใหม่จะมีการนำ� ผ้ากฐินไปทอดถวาย ณ วดั ฝายหิน เพ่ือน�ำปัจจัย มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ร่วมพธิ ีทำ� บุญ เนอื่ งในวันต�ำรวจ ประจ�ำปี 2565 และรบั มอบ ท่ีได้รับมาจากการร่วมท�ำบุญดังกล่าวไปสมทบทุนบูรณะปฏิสังขรณ์สิ่งก่อสร้าง และอุปถัมภ์พระภิกษุสงฆ์ โตล�ำ่ปรรวะจกภาูธศรเภกูพียริงตคิครุณาชนจิเาวกศพนัน์ ตใน�ำรโอวกจาเอสกทมี่มนหัสาชวัยิทยอาินลทัยรเช์เถีย่ืองในหมผ่เู้กป�ำ็นกัผบู้สกนารับสสถนาุนนี ซึง่ จำ� พรรษา ณ วดั แห่งนี้ ในวนั ท่ี 29 ตลุ าคม 2565 เวลา 13.30 น. ขบวนแห่องคก์ ฐินและบริวารกฐนิ การปฏบิ ตั งิ านและกจิ การของตำ� รวจ และร่วมพธิ มี อบทนุ การศกึ ษาใหแ้ กบ่ ุตรหลาน จากทกุ คณะ สถาบัน สำ� นัก ศูนย์ และส่วนงานตา่ งๆ พรอ้ มกัน ณ ข่วงวฒั นธรรม มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ของขา้ ราชการตำ� รวจ ประจ�ำปี 2565 ณ หอ้ งประชมุ 1 ช้ัน 3 อาคารสถานีต�ำรวจ ต่อจากนัน้ เวลา 14.00 น. เคลอื่ นขบวนแหอ่ งคก์ ฐินและบรวิ ารกฐนิ เขา้ สู่วดั ฝายหนิ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ภธู รภพู งิ คราชนิเวศน์ เมอื่ วนั ที่ 17 ตลุ าคม 2565 จากน้ันประธานในพิธีจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย นายกสภามหาวิทยาลัย อุปนายกสภามหาวิทยาลัย กรรมการสภามหาวิทยาลัย อธิการบดี รองอธิการบดี ผู้ช่วยอธิการบดี คณบดี ผู้อ�ำนวยการสถาบัน รองศาสตราจารย์ ดร.วนิ ติ า บณุ โยดม รองอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ผู้อ�ำนวยการส�ำนัก ผู้อ�ำนวยการศูนย์ ส่วนงานต่าง ๆ นักศึกษา และพุทธศาสนิกชน ท�ำพิธีทอดกฐิน เปน็ ประธานเปิดการอบรมปฏิบตั กิ าร การจดั การงานฐานข้อมลู ทรัพยากรโครงการ พระสงฆก์ รานกฐนิ กรรมและอนุโมทนา เป็นเสร็จพธิ ี อนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชด�ำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ขอเชิญผู้มีจิตศรัทธาร่วมท�ำบุญได้ท่ีบัญชี \"วัดฝายหิน\" ธนาคารออมสิน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ) สำ� หรับผบู้ ริหาร ผดู้ ูแลระบบ และผ้ตู รวจสอบข้อมูล บัญชีเลขที่ 05-0300-29602-2 ส่งหลักฐานการโอนเงินทางโทรสารหมายเลข 0-5394-1149 โทรศัพท์ ของศูนย์ข้อมูลแม่ข่ายประสานงาน อพ.สธ. และศูนย์ประสานงาน อพ.สธ. โดยมี 0-5394-1130 e-mail: [email protected] ผกลชู้ า่ว่ วยรศายางสาตนรเาพจอ่ืาพรยฒั ์ นดราบ.อคุ ังลคาณกราขออินงศตนูายคแ์ ณมข่ะา่ทยำ� งใหานม้ คี อวพา.มสรธคู้ .วมาหมาเขวา้ิทใยจาในลกัยาเชรยีจดงั ใเหกบ็ม่ ข้อมูลและการจัดท�ำฐานข้อมูลทรัพยากร ซ่ึงบุคลากรท่ีผ่านการฝึกอบรมแล้วจะ อาจารยแ์ ละนักวจิ ยั มช. ได้รับการจดั อันดับอยู่ในกลุ่มนักวทิ ยาศาสตร์ชั้นนำ�ระดับโลก ฯ (อ่านต่อหนา้ 1) สามารถท�ำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงในการจัดการงานฐานข้อมูลทรัพยากร อพ.สธ. ให้กับ และส�ำหรับประเภท Single year impact 2021 มีอาจารย์และนักวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หน่วยงานร่วมสนองพระราชด�ำริฯ ในพ้ืนท่ีได้ ผู้เข้าฝึกอบรมเป็นบุคลากรจากศูนย์ ตดิ อนั ดับ 28 ท่าน จาก 17 สาขา (sub-field) แมข่ า่ ยประสานงาน อพ.สธ. และศนุ ยป์ ระสานงาน อพ.สธ.จำ� นวน 8 แหง่ และหนว่ ยงาน ส่วนท้องถิน่ จำ� นวน 7 แห่ง เม่ือวันที่ 18-21 ตลุ าคม 2565 ณ หอ้ งประชุม โรงแรม กรนี เลครีสอรท์ เชยี งใหม่ พ ร้อมด้วยผคณู้ช่วะยผูศ้บาริหสตารรขาอจงามรหยา์ วดิทรย.ธาัญลัยญเชาียนงุภใหามพ่ ใอหา้กนาันรตท้อนนะรับรอคงุณอธยิกศาวรัฒบนดี์ อขอิ่มงเจEรCิญAชMัยLaDSiraelcleto(Er coofleEdC’AInMgeLnaiesualrleor Asia Pacific Co. Ltd และผู้แทน School of Engineering ) ประเทศ ฝdรeง่ัsเศAสrtใsนeโอtกMาสeทtieนี่ r�ำs M(ErC.DAiMdi)eLryDoEnS,PFLrAaNncCeHEเข,า้ Rเeยc่ยี tมoคrาoรfวEะcoเพle่อื ปCรaกึthษoาlหiqาuรอืe และแลกเปลยี่ นข้อคิดเห็นเกยี่ วกับการขยายความร่วมมือระหวา่ ง ECAM LaSalle ในการจัด Soft Skill Workshop ร่วมกับ วิทยาลัยการศึกษาตลอดชีวิต และ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ นอกจากนี้ ECAM LaSalle ยังต้องการที่จะขยาย เอกสารอ้างอิง Ioannidis, John P.A. (2022), “September 2022 data-update for ความร่วมมือในตลาดจีนใต้ผ่านคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ณ “Updated science-wide author databases of standardized citation indicators””, Mendeley ห้องรับรอง มล.ปิ่น มาลากุล ส�ำนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Data, V4, doi: 10.17632/btchxktzyw.4 เมอ่ื วนั ที่ 18 ตุลาคม 2565 “เลา่ สู่กนั ฟงั กับมหาวทิ ยาลัยเชียงใหม”่ อาจารย์ไพสิฐ พาณิชย์กุล ผู้ช่วยอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทุกวันอาทิตย์ เวลา 08.10 – 08.30 น. ทางสถานีวทิ ยเุ สยี งสอื่ สารมวลชน FM100 คณะการสอ่ื สารมวลชน มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ เปน็ ประธานเปดิ กิจกรรม “สง่ เสริมความรูแ้ ละความตระหนักดา้ นสุขภาพสำ� หรบั บคุ ลากร และนกั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม”่ ซง่ึ เปน็ กจิ กรรมทจ่ี ดั ภายใตโ้ ครงการ • วนั อาทิตย์ ท่ี 23 ตลุ าคม 2565 • มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยสุขภาพอย่างอัจฉริยะและยั่งยืน (Smart & Sustainable Healthy Chiang Mai University) ท่ีต้องการสร้างเสริมความรู้ CMU Open House Online 2022 วันที่ 5-6 พ.ย. น้ี วิธีการ ตลอดจนการปฏิบัติตนของบุคลากรและนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มช. เปดิ บ้าน เตรยี มพรอ้ มนักศึกษาสเู่ สน้ ทางแห่งอนาคต มีพฤติกรรมคุณภาพที่พึงประสงค์ เพื่อการขับเคลื่อนเป็นมหาวิทยาลัยที่มีสุขภาวะ ท่ดี ี หรอื มหาวิทยาลยั สขุ ภาพ (Healthy University) มคี วามสขุ กบั การใช้ชวี ิตเป็น ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ทศพร พชิ ยั ยา นกั ศกึ ษา การเรยี นและการทำ� งาน ตระหนกั ถงึ การบรโิ ภคอาหารและสง่ิ ทมี่ ปี ระโยชน์ รองอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ต่อร่างกาย ที่จะเสริมสุขภาพท่ีสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ ห่างไกลจากอบายมุข ส่ิงเสพติด ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ตลอดจนการเลือกออกก�ำลังกายที่ถูกต้อง ผลติ รายการโดย ศนู ยส์ ื่อสารองค์กรและนักศกึ ษาเกา่ สัมพนั ธ์ สำ�นักงานมหาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ เหมาะสม ณ ลานกิจกรรม ศูนย์อาหารมหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ (กินในมอ) เมื่อวันที่ 2 19 ตลุ าคม 2565 www.cmu.ac.th

CAMT รุกความรว่ มมือตา่ งประเทศ ขา่ วรอบสปั ดาห์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ ฉบับท่ี 43 วนั ที่ 24 - 30 ตุลาคม 2565 เขา้ ร่วมประชุม ASTRA และตอ่ ยอดโครงการความรว่ มมอื อ่ืน ๆ เขตรั้ว มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อรวชิ ย์ ศนู ยว์ จิ ยั เทคโนโลยหี ลงั การเกบ็ เกย่ี ว คณะเกษตรศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ถ่ินนุกูล ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัยและ ร่วมกับศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ร่วมจัดนิทรรศการและจัดกิจกรรม ความรว่ มมอื พรอ้ มดว้ ย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ “ขBอCงไGทยinปPรoะsจt�ำhปaีr2v5e6s5t:TTeecchhnnooloMgayrto2f0A2r2abภiาcยaใCตo้แfนfวeคeิด” BงาCนGเทสคู่เศโนรโษลฐยกแี ิจลสะรน้าวงตั คกณุ รครมา่ ดร.ภัทรพร คูวุฒยากร อาจารย์ประจ�ำ ส2“ยพตาลุลมกิาพโคาฉมรมา2ปก5รอ6ะน5เแทลศะไศทนู ยยสก์ เู่ ศารรคษา้ ฐสกยจิ าสมรดา้ สิ งคคฟั ณุ เวคอา่ รี่สกงั รคงุ มเทเดพนิ ฯหในนา้ รอะยหา่ วงา่ ยงงั่วยนั นืท”่ี 2ณ9 ศนู ยก์ ารคา้ วิทยาลัยศิลปะ ส่ือ และเทคโนโลยี และ กนั ยายน - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อุไรวรรณ์ หาญวงค์ รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ หงษส์สถิบาบสนัอวงจิ อยั วาิทจายรายศ์ปาสรตะจรส์�ำสขุ �ำภนาพักวมิชหากาาวริทวยิจาัยลวยั ิทเชยยี างศใาหสมต่ รน์ส�ำุขโดภยาพอาพจรา้อรยม์ดด้วรย. ตัวแทนจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการก�ำกับการด�ำเนินโครงการ (Project สุรัตน์ Steering Committee Meeting) เพื่อติดตามความกา้ วหนา้ การดำ� เนินงานโครงการ ASTRA (Advancing นักศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอกและคณะท�ำงานจากหน่วยวิจัยสิ่งแวดล้อมและ Strategic Management, Leadership and Fundraising in Higher Education in Asia) รว่ มกบั พนั ธมติ ร สขุ ภาพ สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ ไดด้ ำ� เนนิ การจดั กจิ กรรมโครงการคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค จากสหภาพยุโรปและเอเชียอีก 7 สถาบัน เมื่อวันท่ี 10-11 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมเพิร์ล ภูเก็ต ในสถานศกึ ษา (กจิ กรรม อย.นอ้ ย) ใหก้ บั นกั เรยี นโรงเรยี นบา้ นหวั รนิ ต.ทงุ่ สะโตก อ.สนั ปา่ ตอง จงั หวดั ภูเก็ต ประเทศไทย จ.เชียงใหม่ จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับความอันตรายของสารเคมีที่ปนเปื้อนในอาหาร วัตถุประสงค์ของการประชุมในครั้งนี้ จดั ข้นึ เพอ่ื ติดตามความก้าวหนา้ การด�ำเนนิ โครงการในภาพ ได้แก่ สารบอแรกซ์ สารกันรา สารฟอกขาว และสารฟอร์มาลีน เพ่ือให้นักเรียนมีความรู้ รวม และเตรียมความพร้อมส�ำหรับการจัดส่งรายงานความก้าวหน้าแก่คณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป ความเข้าใจ และตระหนักถึงพิษภัยของสารเคมีท่ีปนเปื้อนในอาหารที่จะส่งผลกระทบ (European Union Commission) ซงึ่ เปน็ ผสู้ นบั สนนุ โครงการดงั กลา่ ว โดยเหลา่ ตวั แทนจากสถาบนั พนั ธมติ ร ต่อสุขภาพร่างกาย รวมทั้งให้ความรู้เร่ืองเจลล้างมือแอลกอฮอล์และสาธิตข้ันตอนการท�ำ ได้ร่วมหารือแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รายงานปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดขึ้น และให้ข้อเสนอแนะแนวทาง เพ่อื ป้องกันโรคโควิด19 ในโรงเรยี น เมือ่ วันที่ 30 กนั ยายน 2565 การแก้ไข การส่งมอบผลลัพธ์ของงานในแต่ละระยะภายในเวลาที่ก�ำหนด รวมถึงการทบทวนแผนงาน ท่จี ะเกิดขน้ึ ในระยะถัดไป ดร.อรรถพลคณสะมวุทศิ ควกุปรตร์ิมเศปา็นสปตรร์ะมธหาานวทิใหย้กาลายัรตเช้อยี นงใรหับมค่ นณำ� ะโดคยรรู อแงลคะณนบักดเรี ผียชู้ นว่ ชย้ันศมาสัธตยรมาศจึกาษรยา์ ส�ำหรับโครงการ ASTRA เป็นโครงการท่ีได้รับการสนับสนุนจากคณะกรรมาธิการสหภาพยุโรป ปที ่ี 4 โรงเรียนเดชะปตั ตนยานุกูล จังหวดั ปัตตานี เข้าศกึ ษาดงู าน ณ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ (European Commission) ภายใต้กรอบการด�ำเนินงานของ Erasmus+ มุ่งสร้างขีดความสามารถ เม่ือวันท่ี 30 กันยายน 2565 เพื่อสร้างประสบการณ์ตรงเก่ียวกับการเรียนการสอน แก่บุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาในภูมิภาคเอเชีย ซึ่งโครงการได้เริ่มด�ำเนินงานตั้งแต่วันท่ี 15 มกราคม พร้อมรับฟังการแนะแนวทางศึกษาต่อ ตลอดจนเรียนรู้ลักษณะผู้สามารถเรียนต่อระดับ 2564 จนถึงปัจจุบัน รวมเป็นเวลาเกือบ 2 ปี ที่เหล่าพันธมิตรทั้ง 8 สถาบันได้ร่วมกันผลักดัน ASTRA ปรญิ ญาตรวี ศิ วกรรมศาสตร์ สาขาวชิ าทเ่ี ปดิ สอน ชอ่ งทางการรบั เขา้ ทนุ การศกึ ษา นอกจากนี้ ให้บรรลภุ ารกจิ การส่งมอบผลลัพธต์ ่าง ๆ ยังแนะน�ำอาชีพของ “นายช่าง” แขนงต่างๆ โดยนักเรียนได้เย่ียมชมสาขาวิชาวิศวกรรม ทั้งนี้ ภารกิจถัดไปของโครงการ ASTRA คือ กิจกรรมการฝึกอบรมทักษะการเป็นผู้น�ำ หรือ ห่นุ ยนต์และปัญญาประดิษฐ์ (Robotics Engineering and Artificial Intelligence: REAI) Train the Trainers Programme ดำ� เนนิ การโดยพนั ธมิตรผู้เช่ียวชาญจากสหภาพยโุ รป ณ ประเทศอิตาลี อีกท้ังการสาธิตห่นุ ยนต์ และปญั ญาประดษิ ฐ์หลายประเภท เช่น หนุ่ ยนตเ์ คล่ือนที่แบบสีข่ า: และสาธารณรัฐเฮลเลนิก (กรีซ) ในระหว่างวันที่ 7-25 พฤศจิกายน 2565 โดยข้ันตอนนี้ถือได้ว่าเป็น Mobile Robot (หุน่ ยนต์น้องหมา) และ DGI Robot เพ่ือการแข่งขัน เป็นตน้ สว่ นส�ำคัญในการเสริมสร้างขีดความสามารถให้แก่บุคลากรของสถาบันพนั ธมิตรทจี่ ะเขา้ มามีบทบาทส�ำคัญ ในการบริหารจัดการ “ศูนย์นวัตกรรมและให้ค�ำปรึกษาด้านการวิจัยและพัฒนา” แห่งใหม่ หรือ รองศาสตราจารย์วงกต วงศ์อภัย รองผู้อ�ำนวยการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ “R&D Innovation & Consulting Hub” ซ่งึ จะถูกจัดตัง้ ขึ้นภายในมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมต่ ่อไป และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ นำ� คณะผบู้ รหิ ารการนคิ มอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีการหารือเพ่ิมเติมเพื่อการย่ืนขอทุนสนับสนุนจากสหภาพยุโรปในโครงการถัดไป (กนอ.) ประกอบดว้ ย นายคณพศ ขนุ ทอง ผชู้ ว่ ยผวู้ า่ การปฏบิ ตั กิ าร3 การนคิ มอตุ สาหกรรม ท่ีมีการส่งโครงรา่ งของคำ� สนับสนนุ ภายใตค้ วามร่วมมือทสี่ �ำคัญน้ี แหง่ ประเทศไทย และคณะฯ เขา้ ศกึ ษาดงู านดา้ นจดั การเมอื งอจั ฉรยิ ะ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม ่ โใดหยก้ มารี ผตชู้ อ้ ว่ นยรศบั าแสลตะรบารจรายรายย์ ดสรรปุ.ช า ณย ศรงันู สยยิ บ์ ารกหิ ลู ารผจอู้ ดัำ� กนาวรยเกมาอื รงศอนู จั ยฉบ์ รรยิ หิะามรหจดัาวกทิารยเามลอื ยั งเอชจัยี ฉงใรหยิ มะ่ ซงึ่ ในปจั จบุ นั วทิ ยาลยั ศลิ ปะสอื่ และเทคโนโลยี เมื่อวันท่ี 7 ตุลาคม 2565 ทั้งนี้สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เป็นที่ปรึกษา มีความสัมพันธ์และด�ำเนินการความร่วมมือต่าง ๆ ในการศกึ ษาโครงการพฒั นาแผนแมบ่ ทเพอ่ื การพฒั นานคิ มอตุ สาหกรรม/ทา่ เรอื อตุ สาหกรรม ร่วมกับหน่วยงานระหว่างประเทศมากข้ึน ทั้งด้าน อัจฉรยิ ะในพื้นทม่ี าบตาพุดที่มงุ สู่ความเป็นกลางทางคารบ์ อน ซ่ึงการศึกษาดงู านฯ ดังกล่าว วิชาการและความร่วมมือด้านตา่ ง ๆ เกิดจากการที่ กนอ. อยู่ระหว่างการศึกษาโครงการพัฒนาแผนแม่บทเพื่อการพัฒนานิคม อปั เดตและตดิ ตามขา่ วสารเพ่ิมเติมได้ที่ อุตสาหกรรม/ท่าเรืออุตสาหกรรมอัจฉริยะในพื้นที่มาบตาพุดท่ีมุ่งสู่ความเป็นกลางทาง Website: www.astra-project.eu/ คารบ์ อน เพอ่ื ใชใ้ นการพฒั นานคิ มอุตสาหกรรมอจั ฉริยะ (Smart Industrial Estate) และ Facebook page: https://www.facebook. ทา่ เรอื อตุ สาหกรรมอจั ฉรยิ ะ (Smart Port) โดยมงุ่ เนน้ การพฒั นาดา้ นสาธารณปู โภค (IEAT4.0) com/astra.eu.project และนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ให้บริการและสนับสนุนด้านการลงทุนในอุตสาหกรรม Twitter: twitter.com/ASTRA_Project_ Web: coe.camt.cmu.ac.th 3โดยนำ� เอาเทคโนโลยดี จิ ิทลั เขา้ มาประยกุ ต์ใช้เพ่ือการพฒั นาคุณภาพการบริการ www.cmu.ac.th คณุ นารรี ัตน์ จันทรมังกร นักศกึ ษาเกา่ มช. รหัส 17 กรรมการบรหิ าร บริษัท นิยมพานิช จำ� กดั กรรมการมลู นธิ พิ ฒั นามหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ และกรรมการส่งเสริมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เข้าพบ ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์นิเวศน์ นันทจิต เลขาธิการมูลนิธิขาเทียม ในสมเด็จ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี เพอ่ื บรจิ าคเงนิ สมทบ กจิ กรรมของมลู นธิ ฯิ โดยมี รองศาสตราจารย์ โรม จริ านกุ รม รองเลขาธกิ ารมลู นธิ ขิ าเทยี ม รว่ มรบั มอบ ณ ทท่ี ำ� การมลู นธิ ขิ าเทยี มฯ ตำ� บลดอนแกว้ อำ� เภอ แมร่ มิ จงั หวดั เชยี งใหม่ เมอื่ วนั ที่ 18 ตลุ าคม 2565

อาจารยค์ ณะวิทยาศาสตร์ มช. ได้รับรางวลั ผลงาน ผอ.ศนู ยน์ วัตกรรมอาหารและบรรจภุ ัณฑ์ มช. (FIN) ทางวชิ าการดีเด่น TTF Award ประจ�ำ 2564-2565 รบั รางวัลทป่ี รกึ ษาตวั อย่างแหง่ ปี 2565 สาขาการสรา้ งนวัตกรรมดเี ดน่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ ปะทะวัง ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ บรรจุภัณฑร์อมงหศาาวสิทตยราาลจยั าเรชยีย์ งดใหร.มย่ทุ ไดธน้รับารพางิมวลัลศ“ริ ทิผปี่ลรผกึ อู้ ษำ� านตววั ยอกยาา่รงศแนู หย่งน์ ปวีตั 2ก5ร6ร5ม”อา(หDาIPรrแoลmะ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ไดร้ ับรางวลั ผลงานทางวิชาการดเี ดน่ TTF Award ประจำ� 2564-2565 Consultant Award 2022) สาขาการสรา้ งนวัตกรรมดเี ดน่ จาก ดร.ณัฐพล รงั สติ พล อธิบดี ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม จากผลงาน \"พันธุศาสตร์ระดับเซลล์\" ร่วมกับ ไกดรเ้มปสน็ ง่ ทเสป่ี รรมิ กึ อษตุ าสา“หโคกรรงรกมากรรกะจิ ทกรรวรงมอวตุ จิสยัาหแลกะรรพมฒั โนดยาเรพออื่ งเศพาม่ิ สมตลู รคาจา่ ผารลยติ ์ ดภรณั .ยฑทุ แ์ ธลนะากพารมิ สลง่ ศเสริ ผิรมิล นกั วิจัยจากมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ และมหาวทิ ยาลัยราชภัฏสุรินทร์ นอัตวลัตักกษรรณม์กผาลแิตฟภอัณะรฑา์กบากิ แ้าฟภาอคะเหรานบือิก(้าNoภrาtยhใeตr้โnคBรงoกuาtรiqกuารeยAกrรaะbดiับcaศูนCยo์กffลeาeงกCาeรnพtัฒerน)”า TTF Award เป็นรางวลั ทม่ี หาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ และมลู นธิ ิโตโยต้าประเทศไทย โดยมีผลงาน success case ทีพ่ ัฒนาดว้ ยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ร่วมกับ หา้ งห้นุ ส่วนสามญั มอบเพอื่ ประกาศเกียรตคิ ณุ ผลงานวิชาการดีเด่นในสาขาวชิ าต่าง ๆ และสนับสนุนนกั วิชาการ ลอนดอนทีรูมแอนด์เกสเฮาส์ คือ ผลิตภัณฑ์ Bioactive Espresso Drip ท้ังน้ีได้ร่วมเสวนา ไทยให้สร้างสรรค์ผลงานใหม่ๆ ที่ทรงคุณค่า เท่าทันยุคสมัยท่ีเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา รว่ มกบั ผปู้ ระกอบการในการแชรป์ ระสบการณใ์ นหวั ขอ้ \"พลกิ ธรุ กจิ พชิ ติ ปญั หา ดว้ ย DIPROM รวมท้ังเอ้อื ประโยชน์ทางภมู ปิ ัญญาแกส่ งั คมไทยให้เกิดการพัฒนาประเทศอย่างยง่ั ยนื สบื ไป Consultant\" เม่ือวนั ที่ 31 สิงหาคม 2565 ณ โรงแรม Amari Watergate ประตูนำ้� กรงุ เทพฯ CMUBS ไดร้ บั รางวัล วิทยานพิ นธด์ รี ะดบั ปรญิ ญาโท รางวัลบทความดีเด่น (Best Paper) กลมุ่ 6 งานวิจัย จากการประกวดวิทยานพิ นธ์ระดับบัณฑติ ศึกษา รบั ใช้สังคม,งานวิจัยนวตั กรรมชุมชน เครือขา่ ยพัฒนบรหิ ารศาสตร์ ประจ�ำ ปี 2565 คณะบรหิ ารธรุ กจิ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ขอแสดงความยนิ ดกี บั อาจารยธ์ รรวา สนุ พชิ ยั ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รังสิยา นารินทร์ กลุ่มวิชาการพยาบาลสาธารณสุข ศษิ ยเ์ กา่ และอาจารยพ์ เิ ศษของคณะฯ เนอื่ งในโอกาสทไี่ ดร้ บั รางวลั วทิ ยานพิ นธร์ ะดบั ดี สาขาวชิ า คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับรางวัลบทความดีเด่น (Best Paper) บรหิ ารธรุ กจิ จากการประกวดวทิ ยานพิ นธร์ ะดบั บณั ฑติ ศกึ ษาเครอื ขา่ ยพฒั นบรหิ ารศาสตร์ ประจำ� ปี กลมุ่ 6 งานวจิ ยั รับใช้สงั คม,งานวิจัยนวตั กรรมชมุ ชน ในการประชุมวิชาการวจิ ยั และนวัตกรรม พ.ศ. 2565 จากงานวจิ ยั เรอื่ ง \"ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ ความจงรกั ภกั ดขี องลกู คา้ สำ� นกั งานสอบบญั ชี สร้างสรรค์ คร้ังท่ี 8 (8th CRCI) และการประกวดสิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรมผลงานสร้างสรรค์ ที่ให้บริการกิจการที่ไม่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (Factors Affecting Client ปด้วระยจน�ำวปตั ีก2ร5ร6ม5อยภา่ างยยใัง่ ตย้หืนัว\"ขร้อะห\"วส่าู่วงวิจันัยทรับ่ี 2ใ0ช้ส- ัง2ค1มกรขกับฎเาคคลมื่อ2น5โ6ม5เดรลูปเแศบรบษอฐอกนิจไใลหนม์ ่ BCG Lผoู้ชy่วaยlศtyาสiตnรAาจuาdรiยt์ ดFiรr.mอรsรถPพroงvศi์dพinรี ะgเชS้อื erแvลicะeรsอfงoศrาสNตoรnา-จLาisรtยe์ ดdร.Cนoฤmนาpถanศiรeาsภ)\"ยั วโาดนยชิมี Proceeding กลุ่มมนุษยศาสตร์ และสงั คมศาสตร์ : https://webs.rmutl.ac.th/ อาจารยป์ ระจำ� ภาควชิ าการบัญชี คณะบรหิ ารธรุ กิจ เป็นอาจารย์ทปี่ รกึ ษา assets/upload/files/2022/09/20220905100612_79919.pdf?fbclid=IwAR32MhnZn วิทยานิพนธ์ของอาจารย์ธรรวา สุนพิชัย เป็นหัวข้อหน่ึงเดียวท่ีถูกคัดเลือกให้ได้รับ EjhrMs53UvRaGVIei-k9hrRE33U6aFWs7d3FVWJFbT3cARh3A8 รางวัล สาขาบริหารธุรกิจ ระดับปริญญาโท จากการประกวดวิทยานิพนธ์ในครั้งน้ี โดยได้ร่วม นำ� เสนอผลงานผา่ น Microsoft Teams เมือ่ วันศกุ รท์ ่ี 2 กันยายน 2565 ทผ่ี า่ นมา การประกวดวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษาเครือข่ายพัฒนบริหารศาสตร์ ประจ�ำปี พ.ศ. 2565 นี้ จัดโดยสถาบันบัณฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์ ซงึ่ มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พื่อเปน็ การส่งเสริม และพัฒนาผลงานวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาให้มีคุณภาพได้มาตรฐานเป็น ท่ียอมรับ ซึ่งแยกประเภทของวิทยานิพนธ์ ทั้งหมด 12 สาขาวิชา ได้แก่ รัฐประศาสนศาสตร์ บรหิ ารธรุ กจิ พฒั นาการเศรษฐกจิ สถติ ปิ ระยกุ ต์ วทิ ยาการคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ การบริหารการพัฒนาสังคม ภาษาและภาษาศาสตร์ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ นิติศาสตร์ การจดั การทอ่ งเทย่ี นเิ ทศศาสตร์และนวตั กรรมการจัดการ และสงิ่ แวดลอ้ ม ขา่ วรอบสัปดาห์ ท่ีปรกึ ษา : ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทยพ์ งษร์ ักษ์ ศรีบณั ฑติ มงคล อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บรรณาธกิ ารบรหิ าร : ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธัญญานภุ าพ อานันทนะ รองอธกิ ารบดี มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ บรรณาธิการ : อาจารย์ ดร.อฬญิ ญา พงษว์ าท ผู้อำ�นวยการศนู ย์สอ่ื สารองคก์ รและนักศึกษาเก่าสัมพนั ธ์ กองบรรณาธกิ าร : ม.ล.กตั ติกา เกษมสนั ต์ ละอองศรี นางสาวศภุ วรรณ ข�ำ เจรญิ นางสาวอรรตั น์ สว่างแสง CHIANG MAI UNIVERSITY WEEKLY NEWS https://cmu.ac.th นางสาวเมธาพร เฉลิมเขตต์ นางสายฝน จัตรุ ัตน์ นางวรศิ รา มาละแซม นางสาวอรอมุ า สืบกระพัน ฝา่ ยภาพ : ว่าท่ี ร.ต.มงคล ลายค�ำ นายกนั ตคณุ วงศอ์ าษา นางสาวธนั ยรศั พนั ธุ์พวง ฝา่ ยเผยแพร่ : นายอนญุ าชยั ตันติเสนียพ์ งศ์ ส่งข้อมูลเพื่อการประชาสัมพันธ์ได้ที่ ศูนย์สื่อสารองค์กรและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ สำ�นักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พิมพท์ ี่ : หจก.นันทกานต์ กราฟฟคิ การพิมพ์ www.nantakarngraphic.com โทร. 0-5394-4444 โทรสาร 0-5394-4900 E-mail : [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook