Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข่าวรอบสัปดาห์

ข่าวรอบสัปดาห์

Published by cmuccarc, 2023-05-29 07:18:29

Description: ข่าวรอบสัปดาห์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฉบับที่ 20 วันที่ 15 - 20 พฤษภาคม 2566

Search

Read the Text Version

ขา่ วรอบสัปดาห์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ CHIANG MAI UNIVERSITY WEEKLY NEWS https://cmu.ac.th ปี ท่ี 18 ฉบับท่ี 20 วันท่ี 15 - 20 พฤษภาคม 2566 เมื่อวนั ท่ี 4 พฤษภาคม 2566 ณ หอ้ งราชพฤกษ์ ศนู ย์ประชุมและ วทิ ยาลัยการศึกษาตลอดชวี ิต มช. ควา้ รางวลั ชมเชย แสดงสนิ คา้ นานาชาตเิ ฉลมิ พระเกยี รติ 7 รอบ พระชนมพรรษา จ.เชยี งใหม่ Ombudsman Awards ประจาํ ปี 2565 นายนริ ตั น์ พงษส์ ทิ ธถิ าวร ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เชยี งใหม่ เปน็ ประธานประกอบ พธิ วี นั ฉตั รมงคล ประจำ� ปี 2566 โดยมศี าสตราจารย์ ดร.นพ.พงษร์ กั ษ์ สาขาองค์กรดีเดน่ ดา้ นนวัตกรรมการใหบ้ รกิ ารประชาชน ศรีบัณฑิตมงคล อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พร้อมด้วยกงสุล ตา่ งประเทศ เจา้ นายฝา่ ยเหนอื หวั หนา้ สว่ นราชการ อยั การ ตลุ าการ ทหาร ต�ำรวจ ขา้ ราชการ พนกั งาน เจ้าหนา้ ท่แี ละภาคเอกชน รว่ มถวายราชสดุดี เฉลมิ พระเกยี รติแดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัว สาขาวิชาบริหารหารศึกษา ภาควิชาพ้ืนฐานและการพัฒนา วทิ ยาลยั การศกึ ษาตลอดชวี ติ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ควา้ รางวลั ชมเชย Ombudsman การศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ การปฐมนิเทศและ Awards ประจาํ ปี 2565 “สาขาองคก์ รดเี ดน่ ดา้ นนวตั กรรมการใหบ้ รกิ ารประชาชน (Self ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั กิ าร โครงการพฒั นาผนู้ ำ� ทางการศกึ ษาสคู่ วามเปน็ ผสู้ รา้ ง Initiative Award)” จากผลงาน “นวตั กรรมระบบนเิ วศการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ เพอื่ พฒั นา การเปล่ยี นแปลงแห่งอนาคต รนุ่ ที่ 1 (Change agent) ภายใต้ศูนย์วจิ ัย ทกั ษะงานในยุคดจิ ทิ ัลสำ� หรับผูส้ ูงวยั (มดี )ี \" ลดความเหล่ือมล้�ำเพ่ือสร้างโอกาสทางสังคม โดยมีอาจารย์ ดร.ไพรัช รางวลั องคก์ รดเี ดน่ ดา้ นนวตั กรรมการใหบ้ รกิ ารประชาชน (Self Initiative Award) พิบูลย์รุ่งโรจน์ ผู้ช่วยอธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นประธานเปิด Ombudmans Awards 2022 คือรางวัลแห่งคุณค่าองคก์ รพัฒนาสรา้ งสรรค์สังคม ประจ�ำ เพ่ือพัฒนาผู้น�ำทางการศึกษาสู่ความเป็นผู้สร้างการเปลี่ยนแปลงและ ปี 2565 ที่มุ่งยกย่องเชิดชู สร้างขวัญและก�ำลังใจใหกับหน่วยงานที่เป็นแบบอย่างที่ดี มีศักยภาพในการสร้างโอกาสและยกระดับคุณภาพการศึกษา ส�ำหรับ มีระบบในการบริหารจัดการ สร้างสรรค์นวัตกรรมเชิงแนวคิด กระบวนการหรือเชิง ผดู้ อ้ ยโอกาสในชมุ ชนเมอื งและพนื้ ทห่ี า่ งไกล ทมี่ ลี กั ษณะเฉพาะและเปน็ ตน้ ส่งิ ประดิษฐ์ โดยมุ่งเนน้ เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลในการให้บริการประชาชนในการสรา้ งระบบ หรือ แบบ (Prototype) ของการพัฒนา ขยายผลไปยงั พน้ื ทต่ี า่ งๆในอนาคตต่อ พัฒนาช่องทางการให้บริการแก่ประชาชนท่ีทันสมัย โดดเด่น สะดวกสบายขจัดปัญหา ไป ณ ห้องลานนา โรงแรมเซ็นทารา ริเวอร์ไซด์ วันที่ 8 พฤษภาคม 2566 ซึ่งเป็นภาระของประชาชนและเกิดประโยชนสูงสุดในการให้บริการกับประชาชนอย่าง ตอ่ เนือ่ ง ทัง้ นี้ มีหนว่ ยงานทไ่ี ดร้ บั รางวลั องคก์ รดเี ดน่ ดา้ นนวตั กรรมการใหบ้ รกิ ารประชาชน ประจ�ำปี 2565 จ�ำนวน 8 หน่วยงานจากหน่วยงานหรือองค์กรของรัฐจ�ำนวนทั้งสิ้น กวา่ 200 หนว่ ยงานทัว่ ประเทศทีเ่ ขา้ ร่วมประกวด (อ่านต่อหนา้ 2) วสิ ัยทศั น์ : มหาวทิ ยาลัยชน้ั นำ�ท่รี บั ผิดชอบตอ่ สังคมเพ่ือการพัฒนาท่ยี ่งั ยืน ด้วยนวตั กรรม (A Leading University Committed to Social Responsibility for Sustainable Development through Innovation)

ขา่ วรอบสปั ดาห์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ I ฉบบั ที่ 20 วันที่ 15 - 21 พฤษภาคม 2566 เขตรั้ว มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ วิทยาลัยการศกึ ษาตลอดชวี ติ ฯ (ต่อจากหนา้ 1) รองศาสตราจารย์ ดร.พรชยั วสิ ทุ ธศิ กั ดิ์ ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร.ปรารถนา ใจผ่อง เปน็ ประธานเปดิ โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การใชง้ านระบบการเบกิ สวสั ดกิ ารดา้ นสขุ ภาพ ผู้อ�ำนวยการวิทยาลัยการศึกษาตลอดชีวิต กล่าวว่า แบบยืดหยนุ่ โดยมี นาง อังคณา กนั ธยิ ะ ผู้อำ� นวยการกองบริหารงานบคุ คล กลา่ วรายงาน วิทยาลัยการศึกษาตลอดชีวิตได้ก�ำหนดทิศทางในการ เพ่ือสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการเบิกสวัสดิการด้านสุขภาพแบบยืดหยุ่น มงุ่ สเู่ ปา้ หมายของการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื (Sustainable Flexible Benefits ตามประกาศคณะกรรมการกองทุนสวัสดิการพนักงานมหาวิทยาลัย Development Goals : SDGs) ของมหาวิทยาลัย เรอื่ ง หลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารเกยี่ วกบั การเบกิ สวสั ดกิ ารดา้ นสขุ ภาพ พ.ศ.2566 ระเบยี บกองทนุ เชียงใหม่ ที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นองค์กรชั้นน�ำใน สวัสดกิ าร วา่ ดว้ ย การเบกิ ค่ารกั ษาพยาบาล ค่าสงเคราะห์ศพ ค่าเชา่ บ้าน ค่าเลา่ เรยี นบตุ ร การส่งมอบคุณค่าทางการศึกษาสู่สังคมผ่านนวัตกรรม และสวัสดิการด้าน สุขภาพของพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2565 ณ ห้องประชุม 201 การเรียนรู้ เพ่ือให้ประชาชนทุกเพศทุกวัยสามารถเข้า ช้ัน 2 ส�ำนักบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ วนั ที่ 10 พฤษภาคม 2566 ถึงองค์ความรู้ของมหาวิทยาลัยได้อย่างเท่าเทียม การ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธานี แกว้ ธรรมานกุ ลู คณบดคี ณะพยาบาลศาสตร์ ได้รับคัดเลือกให้ได้รับรางวัลชมเชย Ombudsman มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ เป็นประธานกล่าวตอ้ นรบั และรบั มอบของที่ระลึกจากคณะผู้ Awards 2022 เป็นเคร่ืองสะท้อนถึงความพยายามของเราท่ีจะเป็นก�ำลังสำ� คัญในการพัฒนาความรู้ บรหิ าร คณาจารย์ และบคุ ลากร โรงเรยี นพยาบาลรามาธบิ ดี คณะแพทยศาสตรโ์ รง และทักษะ เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในสังคมไทย สมกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ในโอกาสเขา้ ศกึ ษาดงู านและแลกเปลย่ี นเรยี น ในการเปน็ “มหาวทิ ยาลยั ชัน้ นำ� ทร่ี บั ผดิ ชอบต่อสงั คมเพ่ือการพฒั นาทย่ี ่งั ยืน ดว้ ยนวัตกรรม” รูก้ ารบรหิ ารจัดการระบบสนบั สนุนการเรยี นการสอน ณ ห้องประชุมสมจิตต์ ภาติกร “ระบบนิเวศการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือพัฒนาทักษะงานในยุคดิจิทัลส�ำหรับผู้สูงวัย หรือ อาคาร 1 คณะพยาบาลศาสตร์ เมอ่ื วนั ที่ 9 พฤษภาคม 2566 มดี ”ี เปน็ ระบบการเรยี นรสู้ ำ� หรบั กลมุ่ ผสู้ งู วยั ทพี่ ฒั นาขน้ึ โดยวทิ ยาลยั การศกึ ษาตลอดชวี ติ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมภ่ ายใตก้ ารสนบั สนนุ จากสำ� นกั งานการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (อว.)ประกอบไปดว้ ย หลกั สตู รเพอื่ พฒั นาตนทางดา้ นเทคโนโลยแี ละการสรา้ งอาชพี ในโลกดิจิทัลจ�ำนวน 15 หลักสูตร ท่ีเข้าถึงได้ผ่านแอพลิเคชัน LINE ซึ่งเป็นแพลตฟอร์ม ท่ีผู้สูงวัยคุ้นเคยมากท่ีสุด พร้อมทั้งสามารถเก็บข้อมูลประวัติการเรียนรู้แบบ Customer Data Platform (CDP) พร้อมทั้งขอ้ มลู ทกั ษะแบบ 360 องศา การทำ� แบบทดสอบ การออกประกาศนียบตั ร นอกจากน้ียังมีชุมชนออนไลน์ ชุมชนออนไลน์กลุ่มเฟซบุ๊ก “มีดี: ชุมชนคนมีดี” ส�ำหรับแลกเปล่ียน ความรู้ ประสบการณ์และข่าวสารระหว่างสมาชิก และพ้ืนท่ีทดลองขายออนไลน์บนเฟซบุ๊ก “มีดี: ตลาดคนมีดี” ที่ผู้เรียนสามารถมาทดลองขายสินค้าได้ฟรี ระบบนิเวศทางการศึกษา “มีดี” ไม่ได้ มงุ่ เปา้ เพยี งแคใ่ หผ้ สู้ งู วยั ไดเ้ ขา้ ถงึ การเรยี นรเู้ พยี งเทา่ นน้ั แตย่ งั มเี ปา้ หมายใหญค่ อื การนำ� เอาความรแู้ ละ ทักษะไปใช้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ส่งเสริมการสร้างสุขภาวะและพฤฒพลังส�ำหรับผู้สูงวัยไทย มีระบบการสนับสนุนที่เป็นรูปธรรม เกิดโอกาสการท�ำงานในเศรษฐกิจใหม่ ท�ำให้คนกลุ่มน้ีสามารถ พึ่งพาตนเองได้ ลดการเป็นภาระในการดูแลของครอบครัวหรือของภาครัฐ ปัจจุบันมีผู้เข้าร่วม ทุกกิจกรรมของโครงการฯ ตั้งแต่เปิดใช้งานระบบเม่ือวันท่ี 1 สิงหาคม 2564 จนถึงปัจจุบัน รวมทัง้ สน้ิ 31,992 คน เป็นผสู้ ูงวัยจำ� นวน 20,540 คน และได้ขยายเครอื ข่ายการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ และการส่งเสรมิ กิจการผู้สงู วยั ไปแลว้ ทัง้ 77 จังหวดั ท่ัวประเทศไทย คณะท�ำงานจากวิทยาลัยนานาชาตนิ วตั กรรมดจิ ิทลั (ICDI) มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ น�ำโดย ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เบญจมาศ สุขสถติ ย์ รองคณบดี เดินทาง เยือน Yunnan Normal University (YNNU) Chenggong Campus ณ เมือง คุนหมิง สาธารณรฐั ประชาชนจนี เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2566 เพอื่ หารือเก่ียวกับ โอกาสความรว่ มมือทางวิชาการ ภายใต้โครงการศนู ยว์ จิ ัยเมืองพเ่ี มืองนอ้ ง (Sisters City) ระหว่าง ICDI และ YNNU ผ่านสถาบันขงจือ่ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ โดยมีจุด ประสงคห์ ลกั คอื การจดั ตง้ั หลกั สตู รปรญิ ญาคใู่ นระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา รวมถงึ การสนบั สนนุ การพัฒนาอาจารย์ของ YNNU เพ่ือศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกท่ีมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ นอกจากนที้ งั้ สองสถาบนั ยังไดห้ ารอื เกี่ยวกบั การแลกเปล่ียนบคุ ลากรและ ความร่วมมือดา้ นการวจิ ัย โดยทง้ั สองฝ่ายแสดงความมงุ่ ม่ันท่จี ะเสรมิ สร้างความเป็น หนุ้ ส่วนทางวิชาการและยกระดับความรว่ มมอื ในอนาคต ศาสตราจารย์ ดร.น.สพ.กรกฎ งานวงศพ์ าณชิ ย์ คณบดี นำ� คณะผบู้ รหิ าร สมาคมนกั ศกึ ษาเกา่ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ จดั การประชมุ ใหญส่ ามญั ประจำ� คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมสัมมนาผู้บริหาร ปี 2566 สรุปผลงานกจิ กรรมของงคณะกรรมการ ชุดที่ 18 (G16) ทผ่ี ่านมา ซงึ่ ด�ำเนินการมามากกว่า 200 คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ เพ่ือทบทวนวสิ ยั ทศั น์ เป้าหมาย และ กิจกรรม ยทุ ธศาสตร์คณะสตั วแพทยศาสตร์ ปี พ.ศ. 2567- พ.ศ. 2569 พรอ้ มวางแผนกลยุทธ์ พรอ้ มมกี ารเลอื กตงั้ นายกสมาคมนักศกึ ษาเกา่ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ชุดท่ี และเป้าหมายส�ำหรบั จัดทำ� แผนปฏิบตั กิ าร ปี พ.ศ. 2567 เม่ือวันที่ 8 พฤษภาคม 19 (G17) ซงึ่ ผลการคัดเลือกนายกสมาคมฯ คนใหม่ คือคุณชุมพล ปทานคุ ม เม่อื วนั ท่ี 29 เมษายน 2566 ณ อาคารสมาคมฯ ช้นั 2 ห้องประชมุ ใหญ่ ซ.ลาดปลาเคา้ 14 กรุงเทพมหานคร บรรยากาศการประชุม 2 2566 ณ โรงแรมมเี ลยี เชียงใหม่ อบอวลไปด้วยความสุข และอบอนุ่ www.cmu.ac.th

บทิ คบั เชน จบั มอื ฟาสทฟ์ ติ และ CAMT มช. ข่าวรอบสัปดาห์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ I ฉบบั ท่ี 20 วันท่ี 15 - 21 พฤษภาคม 2566 เสรมิ แกรง่ มงุ่ พฒั นาหลกั สตู รการศกึ ษาไทย เขตรั้ว มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ผา่ นการประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยบี ลอ็ กเชน วทิ ยาลยั ศลิ ปะ สอ่ื และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรวชิ ญ์ ศร\" พอูนงรยศะ์กพาาสรทุ ศตธึกรหษารศจาภิ ูนมาญุ รยหไย์กาช์วายดทิรสศรยภุ .ึกาปมลษรงัยาะคเมชโลยหยี\"ชงาพในวหริท์ ะมอยพ่,ุนาทุพลจธธิ ัยะรีไเนหปูชวป�ำียส้รงผกัะใหูกจ้อำ�าม�ำศรน่ ะนู \"วศหยยาก์กรลาิภาพรรุญศรศะกึไูนชภษยยมูา์กม\"ิ าแหรลจาศะังวึกหพทิ ษวิธยาัดีมามุฑลลหยั�ำติ พเาาชวจูนยี ิทิตงยสใหารจลมะัดัยเ,่ พกพเชิลธธิ ีสียา้ ที ดรงำ� ใ�ำงบหนหญุม้�วัำ่ จันทร์ฉาย คณบดี ลงนามบนั ทกึ ความรว่ มมือกับ บริษทั ฟาสท์ฟิต โซกูด๊ จำ� กัด โดย คุณสุรินธร ใหมอ่ ารนิ ทร์ เน่อื งในประเพณีป๋ีใหมเ่ มือง ประจ�ำปี 2566 เพือ่ เปน็ การแสดงการสมุ าคารวะและเปน็ การสืบสาน ประธานเจ้าหน้าท่ีบรหิ าร บริษทั ฟาสท์ฟติ โซกู๊ด และ บริษัท บทิ คบั บลอ็ คเชน เทคโนโลยี โดยคณุ ภาสกร ประเพณแี ละวฒั นธรรมลา้ นนาใหค้ งอยสู่ บื ไป ณ ศนู ยก์ ารศกึ ษามหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ \"หรภิ ญุ ไชย\" ปานนอก ประธานเจ้าหนา้ ทบี่ รหิ าร บริษัท บิทคับ บล็อคเชน เทคโนโลยี จงั หวดั ล�ำพูน เมื่อวนั ที่ 21 เมษายน 2566 บริษัท บิทคับ บล็อคเชน เทคโนโลยี ผู้สร้างและด�ำเนินการ “บิทคับเชน” เครือข่ายบล็อกเชน ท่ไี ดร้ บั ความนิยมสูงสุดของไทย ทีม่ ียอดธุรกรรมกว่า 300 ลา้ นธรุ กรรมบนเครอื ข่าย (อา้ งองิ จาก BKC Scan วทิ ยาลยั การศกึ ษาและการจดั การทางทะเล นำ� โดย ดร.วชิ าญ ศริ ชิ ยั เอกวฒั น์ กรรมการ ณ เดือนกมุ ภาพนั ธ์ 2566) และผู้ใหบ้ ริการ Blockchain Total Solution ช้ันนำ� รว่ มกับ บริษัท ฟาสท์ฟิต อำ� นวยการ รองศาสตราจารย์ ดร.สุธี วงั เตือย คณบดี ผู้บรหิ าร คณาจารย์ และบคุ ลากรวทิ ยาลยั ฯ โซกดู๊ จ�ำกดั ผ้พู ฒั นาเทคโนโลยสี ารสนเทศ และการจดั ท�ำซอฟตแ์ วรด์ า้ นสุขภาพ และ วทิ ยาลัยศลิ ปะ สอ่ื และ ได้ด�ำเนินกิจกรรมพิธีท�ำบุญวันคล้ายวันสถาปนาวิทยาลัยฯ ครบรอบ 6 ปี ประจ�ำปี พ.ศ. 2566 เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เสริมแกร่งพร้อมมุ่งพัฒนาหลักสูตรการศึกษาไทยผ่านการประยุกต์ใช้ เมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2566 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ืออนุรักษ์และจรรโลงวัฒนธรรมอันดีงาม เทคโนโลยีบลอ็ กเชน พเพร่ืออ้ ปมลไดูก้ทฝำ�ังกจิจรกิยรธรรมรทม�ำแนลุบะำ�จริตงุ สศ�ำลิ นปึกวขฒั อนงธบรุครลมารกว่ มรแกลนั ะนักศึกษาให้มีความรักและผูกพันต่อองค์กร เทคโนโลยีบล็อกเชนเป็นเทคโนโลยีท่ีถูกน�ำมาวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยได้รับความสนใจ ม หาวิทยาลัยศเชาียสงตใรหามจ่ าพรรย้อ์ มดดร้ว.นย.สรพอง.กศรากสฎตรงาาจนารวยง์ศด์พรา.นณ.ิชสพย์.ฉคัตณรบโชดตีคิ ณทะิตสาัตรวาแมพรทอยงศคาณสบตดรี์ ท้ังในประเทศและต่างประเทศ เป็นนวัตกรรมท่ีมีบทบาทส�ำคัญในการเข้ามาขับเคล่ือนและพัฒนาเศรษฐกิจ คผฝอู้่าณยำ� บนวดิจวยัยีคกณนาะรวโสัตรัตงกพวรแยรมพาบแทาลยละศสวาตัิเสทวตม์ศรหส์าัมมวพทิหันยาธาว์ลิทแยั ยลเชาะลยี งัยผใอู้ชหูเ่วมทย่ เรขศคา้ าเสยแตยี่ ลมระาคคจาณราาระวยผะ์ู้บPดรrริหo.นาf.ร.สDพพr..รDอ้อตeมbิกหันbาiตeร์ือJทแaอนaงrวsททmาาบaง ในปัจจุบัน และเป็นรากฐานของระบบเศรษฐกิจดิจิทัลในอนาคตอีกท้ังยังเป็นปัจจัยส�ำคัญที่จะเข้ามาปฏิวัติ ปการรญิ ดญ�ำาเนตินรีคบวัณามฑรติ ่วศมกึ มษือาด้ารวนมงถานึงกวาิชราดกำ� าเรนนิ งหาลนกั วสิจูตัยรตrลeอsiดdจeนncกyารpแrลoกgrเaปmลี่ยนกับนักภศาึกยษใตา้โใคนรรงะกดาับร โลกธรุ กจิ และเกดิ การประยุกต์ใชเ้ ขา้ กับชีวติ ประจ�ำวันของผู้คนในวงกวา้ ง นอกจากน้ี เทคโนโลยบี ล็อกเชน “หนง่ึ คณะ หนงึ่ โครงการตอ่ ยอดความรว่ มมอื ขบั เคลอื่ น มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมส่ เู่ วทโี ลก ครง้ั ที่ 2\" ยังมบี ทบาทในการยกระดับภาคการศึกษา พร้อมสนบั สนนุ และมอบโอกาสใหก้ ับเยาวชนไทยอกี ด้วย ระหวา่ งวนั ท่ี 24-26 เมษายน 2566 ในโอกาสน้ี คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยอูเทรค ซงึ่ การรว่ มมอื ในครงั้ นจี้ ะเปน็ การสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ กจิ กรรมการเรยี นรแู้ ละตอ่ ยอดเพอื่ ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี เปน็ สถาบนั การศึกษาช้ันน�ำทางสตั วแพทย์ของโลก และมคี วามโดดเดน่ ดา้ นการเรยี นการสอนและ บล็อกเชน และเทคโนโลยีท่ีเก่ียวข้อง อาทิ NFT (Non-Fungible Token) และโลกเสมือน (Metaverse) มงาหนาววิจิทัยยาไลดัย้จเัดชียใหงใ้มหีพมิธ่ ีลเมงื่อนวานั มทตี่่อ2อ5าเยมุบษันาทยนึกค2ว5า6ม6ร่วณมมคืณอทะาสงัตววิชแาพกทารยกศับาสตครณ์ มะหสัตาววทิแยพาทลยยั ศอาเู สทตรคร์ เป็นต้น โดยเป็นการร่วมมือกันทั้งในระดับนักศึกษา คณาจารย์ ตลอดจนผู้ท่ีสนใจในเทคโนโลยี นอกจากน้ี ประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ ด้วย จะมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจในตัวเทคโนโลยีผ่านการจัดท�ำกิจกรรมเพ่ือสังคม การจัดท�ำ กิจกรรมเพอื่ การศึกษา การจัดท�ำกจิ กรรมเพ่ือสนบั สนุนธรุ กจิ ขนาดเลก็ (SME และ Startup) เปน็ ตน้ วทิ ยาลัยศิลปะ สอื่ และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่และฟาสทฟ์ ติ เป็นพาร์ตเนอรท์ ี่จะมาช่วย เสริมแกร่งระบบนิเวศบนบิทคับเชน วา่ การรว่ มมือในคร้ังนจี้ ะสามารถผลกั ดนั การศึกษาไทยในเชงิ เทคโนโลยี สมัยใหม่ อีกทั้งยังเป็นการมอบโอกาสให้กับเยาวชนไทยในการเข้าถึงเทคโนโลยีบล็อกเชน เพื่อวางรากฐาน ตอ่ ยอดสู่การส่งเสรมิ และพฒั นาภาคธุรกิจและผลกั ดนั การใชง้ านจรงิ (Use Case) ในวงกว้าง ให้เตบิ โตย่ิงขึ้น “มากกว่าการสร้างโอกาส คือ การเช่ือมโยงโอกาสด้วยการใช้เทคโนโลยี Blockchain เป็น ส่วนหน่ึงของการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ จึงเป็นท่ีมาของความร่วมมือในครั้งนี้ เราเล็งเห็นว่า ความ ร่วมมอื ระหวา่ ง Bitkub Chain และ CAMT CMU จะกอ่ ให้เกิดการศกึ ษาในเชิงวจิ ยั ทเี่ กยี่ วกับวถิ ีชีวิต และเทคโนโลยีสมัยใหม่ รวมถึงการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่ก่อให้เกิดแนวคิดสร้างสรรค์พร้อมเป็นแนวทาง ในการพัฒนาธุรกิจ และการสร้างนวัตกรรุ่นใหม่ๆ เพื่อรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศ Southeast Asia” คุณสุรินธร ใหมอ่ ารนิ ทร์ ประธานเจา้ หน้าทบ่ี ริหาร บรษิ ัท ฟาสท์ฟิต โซกดู๊ จำ� กัด กลา่ ว ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. วรวชิ ญ์ จนั ทรฉ์ าย คณบดี วทิ ยาลยั ศลิ ปะ สอ่ื และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ กล่าวเก่ียวกับความร่วมมือในคร้ังน้ีว่า “ความร่วมมือในครั้งน้ีส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมการเรียนรู้ และการนำ� เอาเทคโนโลยบี ลอ็ กเชนมาประยกุ ตใ์ ชเ้ พอ่ื การศกึ ษาในหลายรปู แบบ การพฒั นางานวจิ ยั รวม ถึง Metaverse ในอนาคต ซ่ึงวิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มองเห็น ความรว่ มมอื ทงั้ 3 ฝา่ ยเปน็ โอกาสสำ� คญั ทจี่ ะชว่ ยขบั เคลอื่ นการศกึ ษาและการพฒั นาทยี่ งั่ ยนื ทางเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั ” โดยได้มีการลงนามความร่วมมือบันทึกความร่วมมือ ณ ห้อง Theater วิทยาลัยศิลปะ ส่ือ และ เทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ เมอื่ วันท่ี 24 เมษายน 2566 “เล่าสู่กันฟงั กบั มหาวิทยาลัยเชียงใหม”่ ทุกวันอาทิตย์ เวลา 08.10 – 08.30 น. ทางสถานีวทิ ยุเสียงสื่อสารมวลชน FM100 คณะการส่อื สารมวลชน มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ งานนโยบายและแผนและประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา คณะการสอ่ื สารมวลชน จดั โครงการ ประเมินแผนปฏิบัติการ ประจ�ำปีงบประมาณ 2566 เพ่ือติดตามและประเมินแผนฯ โดยให้ • วนั อาทิตย์ ท่ี 14 พฤษภาคม 2566 • แต่ละหน่วยงานร่วมน�ำเสนอผลการด�ำเนินงาน การใช้จ่ายงบประมาณ รวมถึงปัญหา/อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ เพอ่ื เพิม่ ประสทิ ธิภาพการทำ� งานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายทกี่ �ำหนดในปี 2566 โดยคณะ สมาคมนักศึกษาเก่า มช. เชิญร่วมทำ�บุญผ้าป่าสามัคคี ได้ปรับแผนกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อเป็นทุนการศึกษาให้กับลูกช้าง มช. ระยะที่ 13 (พ.ศ. 2566 - 2570) มุง่ ขบั เคลอ่ื นประเทศสเู่ ปา้ หมายการพฒั นาที่ยง่ั ยนื (SDGs) ทง้ั นี้ ณ ศาลาธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในกิจกรรมการประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านฯ รองศาสตราจารยธ์ รี ภัทร วรรณฤมล คณบดีคณะการ วันเสาร์ที่ 20 พฤษภาคม 2566 สอื่ สารมวลชน ยงั ไดเ้ ปน็ ประธานในการประกาศเจตจำ� นงสจุ รติ ในการบรหิ ารงานของคณะการสอ่ื สาร มวลชน เพื่อยืนหยัดการมีส่วนร่วมการขับเคลื่อนการด�ำเนินงานด้านคุณธรรมและความโปร่งใส โดย ดร.เภสัชกรชาญณรงค์ เตชะอังกูร อย่างทัว่ ถงึ โดยผู้บริหาร คณาจารย์ และบคุ ลากรท้งั คณะเห็นพ้องต้องกันในการยืนหยัดเจตจำ� นง กรรมการบริหารสมาคมนักศกึ ษาเก่ามหาวิทยาลยั เชียงใหม่ สุจริตโดยเคร่งครัด ตามแนวทางองค์กรคุณธรรมของคณะ นอกจากนี้ คณะผู้บริหารในแต่ละฝ่าย ประธานดำ�เนนิ งานกจิ กรรมทอดผา้ ปา่ สมาคมนักศึกษาเกา่ มช. ยงั ไดน้ ำ� เสนอแผนกลยทุ ธค์ ณะการสอื่ สารมวลชน ปี 2567 – 2570 และการดำ� เนนิ การตามแนวทาง ของเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการด�ำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx) ณ โรงแรมวินทรี รีสอร์ท ผลิตรายการโดย ศูนย์สอื่ สารองค์กรและนักศกึ ษาเกา่ สมั พนั ธ์ ส�ำ นักงานมหาวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ จังหวดั เชียงใหม่ เมื่อวนั ท่ี 25 - 26 เมษายน 2566 ทีผ่ า่ นมา 3www.cmu.ac.th

นกั ศกึ ษาปรญิ ญาโท สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรเ์ ครอ่ื งสำ�อาง คณะเภสชั ศาสตร์ มช. ควา้ รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 จากการแขง่ ขนั Pitching งาน MEDCHIC HEALTH HACKATHON ประจำ�ปี 2023 นกั ศกึ ษาปรญิ ญาโท สาขาวชิ าวิทยาศาสตรเ์ คร่อื งสำ� อาง คณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ไดร้ ับรางวัลรองชนะเลิศ อันดบั 2 จากการแขง่ ขนั Pitching งาน MEDCHIC HEALTH HACKATHON ประจำ� ปี 2023 โดยการแขง่ ขัน ยาวนาน ต่อเน่ือง 36 ช่ัวโมง ในการยกระดับ Solution การดูแลรักษาสุขภาพรูปแบบใหม่ ภายใต้หวั ข้อ ‘Accelerate Health Impact ' ภายใต้ชื่อทีม Sarmma – ผลิตภัณฑ์เวชส�ำอางท่ีมีคุณสมบัติครบจบใน ขวดเดียว ที่มีสารสกัดจากเมล็ดมะม่วง เมลด็ มะปราง และ เมล็ดมะเกีย๋ งน�ำมาผสม นลงาใยนตทำ� ศราับงเคซ์รมั่ธาเปวน็นพ\"งนศา์โนนเาซงรสมั่ าสวาปมมวระศิ\"าปรมะณกชีอบยั ไปนดาว้งยสานวายพาธณราิพดภลคั คโำ� พมธิธริรตัรนม์ นเชาียงงสใาหวม่ ภอัท.เมรวอื ดงเี ชใยีจงคใ�ำหมเม่ จื่อ.วเชันียทง่ี ใ1ห2ม่มนี าคม 2566 ณ โรงแรม วนิ ทรี ซติ ้ี รีสอร์ต นักศึกษาวิทยา มช. ไดร้ บั คดั เลือกเปน็ ผูแ้ ทนประเทศไทย เขา้ ร่วมโครงการนักศกึ ษาภาคฤดูรอ้ นเดซี ประจำ�ปี 2566 นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทย เข้ารว่ มโครงการนักศกึ ษาภาคฤดูรอ้ นเดซี ประจ�ำปี 2566 (ร่นุ ท่ี 20) ระหวา่ ง วนั ที่ 18 กรกฎาคม - 7 กนั ยายน 2566 ณ สถาบันเดซี ประเทศเยอรมนี คณะวิทยาศาสตรข์ อแสดงความยินดีกับ นายณัฐวัตร คำ� มาตา นกั ศกึ ษา ภาควิชาฟิสิกส์และวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ท่ีได้รับคัดเลือกเป็น 1 ใน 4 ผู้แทนประเทศไทย เข้าร่วมโครงการนักศึกษา ภาคฤดูรอ้ นเดซี ประจ�ำปี 2566 (ร่นุ ที่ 20) เข้ารว่ มกิจกรรมระหว่างวันท่ี 18 กรกฎาคม - 7 กันยายน 2566 ณ สถาบันเดซี เมอื งฮัมบรู ก์ และเมืองซอยเธน สหพันธส์ าธารณรฐั เยอรมนี โครงการนักศึกษาภาคฤดูร้อนเดซี ด�ำเนินการโดย มูลนิธิเทคโนโลยี สารสนเทศตามพระราชดำ� รสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ร่วมกบั สำ� นกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาติ และสถาบันวจิ ยั แสงซนิ โครตรอน (องค์การมหาชน) โดยวิธีการสอบสัมภาษณ์ จากน้ันได้น�ำราย ช่ือผู้ผ่านการคัดเลือกเบื้องต้น กราบบังคมทูลสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อพระกรุณา โปรดเกลา้ ฯ คัดเลือกผแู้ ทนประเทศไทยเขา้ ร่วมโครงการดงั กล่าว สถาบันเดซี (Deutsches Elektronen Synchotron:DESY) เป็นหนง่ึ ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารชนั้ นำ� ของโลกดา้ นฟสิ กิ สข์ องอนภุ าคมลู ฐาน และงานวจิ ยั ทใี่ ช้ แสงซนิ โครตรอน ในแตล่ ะปจี ะมนี กั วทิ ยาศาสตรท์ ว่ั โลกเขา้ มาปฏบิ ตั กิ ารทดลอง โดยมีการท�ำวิจัยทางด้านอนุภาคมูลฐานท่ีเน้นการใช้เครื่องเร่งอนุภาค เพื่อที่ จะคน้ หาอนภุ าคมลู ฐานทเ่ี กดิ จากการชนกนั ของอนภุ าคอเิ ลก็ ตรอนและอนภุ าค โปรตรอน และงานวจิ ัยทางด้านแสงซนิ โครตรอน ซ่งึ เป็นการนำ� เอาแสงซินโคร ตรอนท่ีผลิตจากวงแหวนกักเก็บอนุภาคพลังงานสูงไปใช้ประโยชน์ในงานวิจัย พน้ื ฐานและงานวจิ ยั ประยกุ ตใ์ นสาขาฟสิ กิ ส์ ชวี วทิ ยา เคมี วสั ดศุ าสตรธ์ รณวี ทิ ยา และแพทยศาสตร์ ในแต่ละภาคฤดูร้อนสถาบันเดซีได้เปิดโอกาสให้นักศึกษา ที่ผ่านการคัดเลือกในสาขาฟิสิกส์ และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ สาขาต่างๆ เขา้ รว่ มกิจกรรมวิจยั ในห้องปฏิบัติการ ณ สหพนั ธส์ าธารณรฐั เยอรมนี อ่านประกาศรายชื่อ https://www.nstda.or.th/desy ทปี่ รกึ ษา : ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทยพ์ งษ์รักษ์ ศรีบัณฑติ มงคล อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ขขา่ ่าววรรออบบสสัปัปดดาาหห์ ์ บรรณาธกิ ารบรหิ าร : ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธญั ญานุภาพ อานนั ทนะ รองอธกิ ารบดี มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ บรรณาธิการ : อาจารย์ ดร.อฬญิ ญา พงษว์ าท ผู้อ�ำ นวยการศนู ย์สอ่ื สารองค์กรและนักศกึ ษาเก่าสัมพันธ์ กองบรรณาธิการ : ม.ล.กัตติกา เกษมสนั ต์ ละอองศรี นางสาวศภุ วรรณ ขำ�เจรญิ นางสาวอรรตั น์ สวา่ งแสง CCHHIIAANNGGMMAAIIUUNNIIVVEERRSSIITTYY WWEEEEKKLLYYNNEEWWSS hhttttppss:/:///ccmmuu.a.acc.t.thh นางสาวเมธาพร เฉลมิ เขตต์ นางสายฝน จัตุรัตน์ นางวรศิ รา มาละแซม นายปาณัท สินสวุ รรณ์ ฝ่ายภาพ : วา่ ท่ี ร.ต.มงคล ลายค�ำ นายกันตคุณ วงศ์อาษา นางสาวธนั ยรัศ พนั ธุ์พวง ฝา่ ยเผยแพร่ : นายอนุญาชัย ตันตเิ สนยี พ์ งศ์ ส่งข้อมูลเพื่อการประชาสัมพันธ์ได้ที่ ศูนย์สื่อสารองค์กรและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ สำ�นักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โทร. 0-5394-4444 โทรสาร 0-5394-4900 E-mail : [email protected] พมิ พ์ที่ : หจก.นันทกานต์ กราฟฟิค การพมิ พ์ www.nantakarngraphic.com


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook