Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข่าวรอบสัปดาห์

ข่าวรอบสัปดาห์

Published by cmuccarc, 2022-06-13 07:28:24

Description: ข่าวรอบสัปดาห์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฉบับที่ 23 วันที่ 6 - 12 มิถุนายน 2565

Search

Read the Text Version

วนั เฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พชั รสุธาพมิ ลลกั ษณ พระบรมราชินี 3 มถิ ุนายน 2565 ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทยพ์ งษร์ กั ษ์ ศรบี ณั ฑติ มงคล รองอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ รองศาสตราจารย์ ดร.ปยิ ะพงศ์ เนยี มทรพั ย์ ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดี ผแู้ ทนอธกิ ารบดี นำ�คณะผู้บรหิ าร คณบดี ผูอ้ ำ�นวยการสถาบัน ส�ำ นกั คณาจารย์ ข้าราชการ และนักศกึ ษา รว่ มพธิ ี มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ประกอบพธิ วี างพานพมุ่ ถวายราชสกั การะหนา้ พระฉายาลกั ษณ์ ลงนามถวายพระพร เพอื่ รว่ มแสดงความจงรกั ภกั ดี และส�ำ นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ เนอ่ื งในโอกาส สมเดจ็ พระนางเจา้ สุทิดา พชั รสธุ าพมิ ลลกั ษณ พระบรมราชนิ ี และพธิ จี ุดเทยี น วนั เฉลมิ พระชนมพรรษาสมเดจ็ พระนางเจา้ สทุ ดิ า พชั รสธุ าพมิ ลลกั ษณ พระบรมราชนิ ี 3 มถิ นุ ายน ถวายพระพรชัยมงคล เนอ่ื งในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 44 พรรษา 2565 ณ ส�ำ นักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3 มิถุนายน 2565 โดยมนี ายประจญ ปรัชญส์ กุล ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เชยี งใหม่ เป็นประธานในพิธี ณ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา รองศาสตราจารย์โรม จิรานุกรม รองอธิการบดีผู้แทนอธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยเชียงใหม่ รองศาสตราจารย์ นพ.อ�ำ นาจ อยสู่ ขุ รองอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ พร้อมด้วยนายพิบูลย์ ญาติมิตรหนุน ผู้อำ�นวยการกองบริหารงานกลาง ร่วมพิธีทำ�บุญตักบาตร เปน็ ประธานเปดิ กจิ กรรม มช.จติ อาสา บ�ำ เพญ็ สาธารณประโยชน์ เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระสงฆ์ 44 รปู ถวายเป็นพระราชกศุ ล เนอ่ื งในโอกาสมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 44 พรรษา พระชนมพรรษา สมเดจ็ พระนางเจ้าสุทดิ า พชั รสุธาพิมลลกั ษณ พระบรมราชนิ ี สมเดจ็ พระนางเจา้ สทุ ดิ า พชั รสธุ าพมิ ลลกั ษณ พระบรมราชนิ ี 3 มถิ นุ ายน 2565 โดยมนี ายประจญ รว่ มท�ำ คนั ดนิ ปอ้ งกนั ดนิ สไลด์ และปรบั ปรงุ ภมู ทิ ศั น์ เพอ่ื ใหบ้ รเิ วณวดั มคี วามสะอาด ปรัชญ์สกุล ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธานในพิธี ณ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้า เรยี บรอ้ ย สวยงาม โดยมพี ระครธู รี สตุ พจน์ เจา้ อาวาสวดั ผาลาด พรอ้ มดว้ ยจติ อาสา 904 นานาชาติเฉลิมพระเกยี รติ 7 รอบ พระชนมพรรษา คณะผู้บริหาร นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และนักเรียนจากโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ร่วมกิจกรรมฯ ณ วัดผาลาด เม่ือวนั ท่ี 3 มถิ นุ ายน 2565 มช.สร้างถนนต้นแบบจากขยะพลาสติก สัญจรได้จริง ข่าวรอบสปั ดาห์ ลดปัญหาพลาสติกที่ไม่สามารถ Recycle ได้ CHIANG MAI UNIVERSITY WEEKLY NEWS https://ccarc.cmu.ac.th »‚·Õè 17 ©ºÑº·Õè 23 วนั ที่ 6 - 12 มิถุนายน 2565 มช. คว้า “รางวลั ชมเชยองค์กรโปรง่ ใส คร้งั ที่ 10” (NACC Integrity Awards) พลาสตกิ เปน็ ส่งิ หนึง่ ท่ีถูกใชเ้ ป็นจ�ำ นวนมหาศาลในทกุ วินาที ขยะพลาสติกจึงเพิม่ มากข้ึน มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ไดร้ บั “รางวลั ชมเชยองคก์ รโปรง่ ใส ครง้ั ท่ี 10” เป็นทวีคูณในทุกวัน ด้วยระบบการจัดการขยะที่ไม่มีคุณภาพ ในแต่ละปีมีจำ�นวนขยะโดยรวม (NACC Integrity Awards) จาก พลตำ�รวจเอก วัชรพล ประสารราชกิจ ประมาณ 27-28 ล้านตัน มีขยะเพียงจ�ำ นวน 11.70 ล้านตนั เท่าน้ันทถี่ กู กำ�จดั โดยวธิ ีการฝงั กลบ ซง่ึ ประธานกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ (ปปช.) จดั ขนึ้ โดย เปน็ การแก้ปัญหาทีป่ ลายเหตุกอ่ ให้เกดิ ปญั หาสงิ่ แวดล้อม และมีผลกระทบต่อประชาชนอย่างมาก ปส�ำ.ปน.กัชง.)านณคณหอ้ะกงนรรนมทกบารุรีป1อ้ งชก้ันนั 2แลอะาปคราารบป4รสา�ำมนกกัารงาทนจุ รปติ .แปห.ชง่ .ชา(สตนิ (าสม�ำ นบกันิ งนา�้ำ น) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ พัฒนางานวิจัยการเพ่ิมความแข็งแรงของถนน จงั หวดั นนทบุรี เม่ือวนั ท่ี 30 พฤษภาคม 2565 ที่ผ่านมา โดยสรา้ งจากขยะพลาสตกิ มาผสมกบั ยางมะตอย นอกจากชว่ ยบรรเทาปญั หาในการจดั การขยะแลว้ รางวัลดังกล่าวเป็นหน่ึงในโครงการมอบรางวัลท่ีสำ�นักงาน ยงั สามารถลดค่าใชจ้ ่ายในการสร้างถนนได้อกี ทางหนงึ่ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ (สำ�นักงาน ป.ป.ช.) หัวข้อการทำ� Zero Waste คือการจดั การขยะดว้ ยตวั เอง 100 % เปน็ หนึง่ ในยทุ ธศาสตร์ ด�ำ เนนิ การภายใตก้ ารขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตรช์ าติ วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปราม ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ท่ีให้ความสำ�คัญแก่การคัดแยกขยะเป็นต้นทางการบริหารจัดการขยะ การทุจริตเพื่อส่งเสริมหลักธรรมาภิบาลภายในองค์กร ที่เปิดโอกาสให้ ท่ีส�ำ คญั มาก โดยมหาวทิ ยาลัยเชยี งใหมไ่ ดส้ ร้างความรู้ความเขา้ ใจแกน่ ักศึกษาและบคุ ลากรในการ หนว่ ยงานรัฐ รฐั วิสาหกิจ และองค์กรธรุ กจิ เอกชน สมัครเขา้ ร่วมโครงการและ คดั แยกขยะ โดยพลาสตกิ ชนดิ ถงุ หวิ้ ถงุ รอ้ นทมี่ กี ารปนเปอื้ นมกั จะไมส่ ามารถRecycle โดยตรง จงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งก�ำ จดั ดว้ ยวธิ กี ารฝงั กลบ หรอื การเผา แมจ้ ะกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นแงข่ องการสรา้ งพลงั งานกต็ าม (อ่านต่อหนา้ 2) แตย่ งั สรา้ งมลภาวะให้แก่สง่ิ แวดล้อม ภาควิชาวศิ วกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัย เชยี งใหม่ จึงไดท้ ำ�การคิดคน้ วิธีการทีจ่ ะเพิ่มมูลค่าให้แก่การแปลงสภาพของขยะพลาสติกเหลา่ นน้ั (อา่ นต่อหน้า 2)

ข่าวรอบสัปดาห์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ฉบบั ที่ 23 ปีที่ 17 วนั ท่ี 6 - 12 มถิ นุ ายน 2565 เขตรัว้ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ มช. คว้า “รางวัลชมเชยองค์กรโปร่งใส ครง้ั ที่ 10 ฯ (ต่อจากหนา้ 1) เมือ่ วันท่ี 1 มิถุนายน 2565 ณ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ สง่ ขอ้ มลู เขา้ รบั การพจิ ารณา เพอื่ ยกยอ่ งเชดิ ชหู นว่ ยงานทมี่ คี วามพยายามสรา้ งความโปรง่ ใสใหเ้ กดิ ขน้ึ ในสงั คม จดั พธิ เี ปดิ การแขง่ ขนั คอมพวิ เตอรโ์ อลมิ ปกิ ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 18 (The 18th Thailand ไทยผ่านการดำ�เนินงานของตนเอง ซ่ึงเป็นรางวัลอันทรงเกียรติ สะท้อนถึงความมุ่งมั่น ทุ่มเท ทำ�งานหนัก Olympiad in Informatics 2022) ณ หอ้ ง SCB2100 อาคาร 40 ปี คณะวทิ ยาศาสตร์ เตม็ ความสามารถ ยดึ มน่ั ในหลกั ธรรมาภิบาล โปรง่ ใส ถกู ตอ้ ง และมีจรยิ ธรรม เปน็ ไปตามกรอบและแนวทาง โดยได้รบั เกยี รตจิ าก ศาสตราจารยค์ ลนิ ิก นายแพทย์นิเวศน์ นันทจิต อธิการบดี การบริหารองค์กร มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ เป็นประธานในพธิ ี ศาสตราจารย์ ดร.ธรณินทร์ ไชยเรืองศรี ศาสตราจารยค์ ลนิ กิ นายแพทยน์ เิ วศน์ นนั ทจติ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ กลา่ ววา่ มหาวทิ ยาลยั คณบดคี ณะวทิ ยาศาสตร์ กลา่ วรายงานการจดั การแขง่ ขนั ฯ และรองศาสตราจารยเ์ ยน็ ใจ ได้ดำ�เนินโครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำ�เนินงานของส่วนงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สมวิเชยี ร กรรมการบรหิ ารมูลนิธิ สอวน. พร้อมดว้ ยผแู้ ทนสถาบนั สง่ เสรมิ การสอน (Chiang Mai University - Integrity and Transparency Assessment : CMU-ITA) ที่ทกุ ส่วนงานได้มี วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณาจารย์ นกั เรียน และนักศึกษา ร่วมเป็นเกียรตใิ นพธิ ี ส่วนร่วมเข้าร่วมโครงการ ซ่ึงเป็นการยกระดับมาตรฐานคุณธรรมในการดำ�เนินงานและ ยกระดับมาตรฐาน เมอื่ วนั ที่ 31 พฤษภาคม 2565 ณ ส�ำ นกั มหาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ การท�ำ งานในการปอ้ งกนั การทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ การเปดิ เผยขอ้ มลู สาธารณะ ของสว่ นงานและมหาวทิ ยาลยั ศาสตราจารย์คลนิ ิก นายแพทยน์ ิเวศน์ นนั ทจติ อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ด้วยแล้วนั้น การได้รับรางวัลคร้ังนี้ถือเป็นการสะท้อนถึงการปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัยและทุกส่วนงาน และอาจารยอ์ ภิชา อินสุวรรณ รกั ษาการอธิการบดีมหาวิทยาลัยพายพั พร้อมด้วย ไดม้ งุ่ มนั่ ใหก้ ารบรกิ ารทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพแกน่ กั ศกึ ษา บคุ ลากร ผรู้ บั บรกิ าร และประชาชนทวั่ ไป ยดึ หลกั ความเสมอภาค รองศาสตราจารย์ ดร.เกียรติสุดา ศรีสุข คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ความเท่าเทยี ม เพื่อร่วมกันพัฒนาใหม้ หาวิทยาลัยเชียงใหมไ่ ปสู่การเป็นองค์กรโปรง่ ใสอยา่ งยั่งยนื ตอ่ ไป เชยี งใหมแ่ ละอาจารยธ์ วชั อศั วเดชาฤทธิ์ คณบดวี ทิ ยาลยั ดรุ ยิ ศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั พายพั โดยมหาวิทยาลยั เชียงใหม่ เป็นเพยี งสถาบันการศกึ ษาแห่งเดียวทไ่ี ดร้ บั รางวัลชมเชยองค์กรโปรง่ ใส รว่ มลงนามในบนั ทกึ ความรว่ มมอื ทางวชิ าการ ระหวา่ ง วทิ ยาลยั ดรุ ยิ ศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั ครงั้ ท่ี 10 ทัง้ นี้ มีหนว่ ยงานที่ไดร้ ับรางวลั องคก์ รโปรง่ ใส คร้ังท่ี 10 จ�ำ นวน 3 หนว่ ยงาน และรางวลั ชมเชย พายัพ กับ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผลิตหลักสูตรใหม่ หลักสูตร องคก์ รโปรง่ ใส คร้ังที่ 10 จ�ำ นวน 17 หน่วยงาน ศกึ ษาศาสตรบณั ฑติ (หลกั สตู ร 4 ป)ี สาขาวชิ าดนตรี การรว่ มกนั จดั ท�ำ หลกั สตู รครงั้ นี้ สำ�หรับเกณฑ์การพจิ ารณารางวัล ประกอบด้วย 4 หมวด จ�ำ นวน 65 ขอ้ ค�ำ ถาม ได้แก่ ถือเป็นหลักสตู รแรกทเ่ี ปน็ ความร่วมมอื ทางวชิ าการที่บรู ณาการความเช่ยี วชาญและ 1. องคก์ รมีความพรอ้ มรับผดิ ชอบ (Accountability) ต่อผ้รู บั บริการ ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย สงั คมและ ทกั ษะดา้ นดนตรขี องวทิ ยาลยั ดรุ ยิ ศลิ ป์ มหาวทิ ยาลยั พายพั ผนวกกบั ความเชย่ี วชาญ สิ่งแวดล้อม จากการปฏิบัติภารกิจหรือการให้บริการ มีนโยบาย รวมถึงแนวปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาจาก ศาสตรก์ ารสอนของ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ได้อยา่ งลงตัว ซึ่งจะ ผลกระทบ และมีแนวปฏิบัตใิ นการจดั การข้อร้องเรยี นท่ตี อบสนองได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ สามารถผลติ บณั ฑติ วชิ าชพี ครดู นตรี ทม่ี คี วามรคู้ วามสามารถทางดา้ นดนตรี ทงั้ ทางมติ ิ 2. องค์กรปฏิบัติภารกิจยึดมั่นในหลักนิติธรรม (Rule of Law) มีแนวปฏิบัติเพื่อกำ�กับให้องค์กร วชิ าการและมติ วิ ชิ าชพี ทท่ี นั สมยั ตอ่ สภาวะการเปลยี่ นแปลงของทางเศรษฐกจิ สงั คม ปฏิบัตติ ามข้อกำ�หนดของกฎหมายทกุ ฉบับท่ีเก่ียวขอ้ งกับภารกจิ ที่องค์กรได้รบั มอบหมาย และวัฒนธรรม โดยมผี ้บู รหิ ารของทงั้ สองฝ่ายรว่ มเปน็ สักขีพยาน 3. องคก์ รใหค้ วามส�ำ คญั กบั สทิ ธมิ นษุ ยชน (Human Rights) ของผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ผรู้ ว่ มงาน และปฏบิ ตั ติ าม เมอื่ วันพฤหสั บดที ่ี 2 มิถนุ ายน 2565 ณ หอ้ งหมอ่ มหลวงป่นิ มาลากุล แนวทางจรยิ ธรรมท่เี ปน็ สากล (International Norms of Ethical Practices) สำ�นักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ศาสตราจารย์คลินิก นพ.นิเวศน์ 4. องค์กรด�ำ เนนิ ภารกิจ และมีระบบการจดั ซอื้ จัดจ้างทโี่ ปร่งใสมีการป้องกันการทุจรติ และปอ้ งกัน นันทจิต อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร ให้การต้อนรับ การให้หรอื รับสินบน Professor Dr.Brian Tighe และ Professor Dr.Paul Topham นกั วิชาการจาก Aston University, UK ในโอกาสเดินทางมาเขา้ รว่ มการประชุมวชิ าการในโครงการ มช.สร้างถนนต้นแบบจากขยะพลาสตกิ ฯ (ต่อจากหนา้ 1) Molecular Design of Polymers for Biomedical Applications (MEDIPOL) ซงึ่ เปน็ โครงการความรว่ มมอื แบบสหวทิ ยาการในระดบั นานาชาติ โดยใชก้ ารแลกเปลย่ี น โดยน�ำ เขา้ สกู่ ระบวนการทดสอบความสามารถในการ รว่ มกบั การท�ำ งานกบั ชมุ ชน เพอื่ คนื คณุ คา่ บคุ ลากรนกั วจิ ยั ระหวา่ งสหภาพยโุ รปและเอเซยี เพอ่ื แกไ้ ขประเดน็ ส�ำ คญั ดา้ นเศรษฐกจิ เป็นสารยึดเกาะที่ผสมกับยางมะตอยหรือที่เรียกว่า Asphalt ความดีงามสู่สังคม สร้างประโยชน์ ท้ังใน และสังคมในประเทศนน้ั ๆ โดยการถ่ายทอดความรู้ การฝึกอบรมโดยความเช่ยี วชาญ พลาสตกิ ไดเ้ ปลย่ี นแปลงรปู รา่ งพนั ธะอยา่ งสมบรู ณ์ ไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ ระดบั ประเทศและระดบั โลกได้ ถนนแหง่ น้ี ของคณะผวู้ จิ ยั ในแตล่ ะสถาบนั ของสหภาพยโุ รป ระหวา่ งวนั ที่ 27 พฤษภาคม 2565- การปนเปื้อนของไมโครพลาสติกสู่สิ่งแวดล้อมที่เป็นผลมาจาก ไมเ่ พยี งแตไ่ ดเ้ ปน็ ทางเดนิ รถเทา่ นน้ั แตเ่ ปน็ 9 มิถนุ ายน 2565 จดั โดย คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ภายใต้ความ การชะล้างในสภาวะธรรมชาติ สง่ิ ทสี่ ะทอ้ นวา่ ถงึ การจดั การปญั หาทสี่ งั่ สม ร่วมมือทางวชิ าการ Marie Sklodowsk-Curie Research and Innovation Staff ถนนพลาสติกน้ีมีความแข็งแรงข้ึน ในขณะเดียวกัน มานานไดอ้ ยา่ งเป็นรูปธรรม Exchange, Research and Innovation Staff Exchange (RISE), Molecular สามารถลดการใชย้ างมะตอยได้ ท�ำ ใหต้ น้ ทนุ ของการท�ำ ถนน หรอื Design of Polymers for Biomedical Applications (MEDIPOL) การท�ำ พน้ื ผวิ ทางโยธาถกู ลง ความส�ำ คญั อกี ประการในการวจิ ยั ครง้ั นค้ี อื การทดสอบความทนทานของทอ้ งถนน สรา้ งความมน่ั ใจวา่ ถนนสามารถใช้งานได้จริง รองรับต่อการเสียดสีในระยะยาว 7 – 8 ปี งานวิจยั ประสบความสำ�เร็จจนเกดิ ถนนต้นแบบท่ีได้ มาตรฐานทางวิศวกรรมของการทำ�ทางทั้งจากกรมทางหลวง และกรมทางหลวงชนบท เปน็ ถนนสาธารณะทท่ี างมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ไดเ้ ปิดให้ชมุ ชนโดยรอบไดใ้ ช้สัญจร ตงั้ อยู่ ณ บริเวณ ศนู ย์วิจัย สาธติ และฝึกอบรมการเกษตรแม่เหยี ะ ปญั หาการจดั การขยะไมเ่ พยี งแตเ่ ปน็ หนา้ ทข่ี องหนว่ ยงาน ใดหน่วยงานหน่ึงเท่านั้น หากแต่เป็นส่ิงที่เราทุกคนสามารถ รว่ มมอื กนั เพอื่ สรา้ งสง่ิ แวดลอ้ มทดี่ ขี น้ึ ได้ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ มคี วามมงุ่ มน่ั ในทศิ ทางการด�ำ เนนิ งานสเู่ ปา้ หมายของการพฒั นา อยา่ งยง่ั ยนื โดยก�ำ หนดเปน็ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธข์ ององคก์ ร “เล่าสกู่ นั ฟังกบั มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม”่ ทุกวันอาทิตย์ เวลา 08.10 – 08.30 น. ทางสถานีวิทยเุ สียงสอื่ สารมวลชน FM100 คณะการสื่อสารมวลชน มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ • วนั อาทติ ย์ ท่ี 5 มิถุนายน 2565 • PDPA พ.ร.บ.คมุ้ ครองขอ้ มูลสว่ นบุคคล และแนวทางการด�ำ เนนิ งานของ มช. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปติ พิ งษ์ ยอดมงคล ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั รองศาสตราจารย์ ดร.พรชยั วสิ ทุ ธศิ ักดิ์ เชยี งใหม่ ใหก้ ารตอ้ นรบั Mr.Robert Hurlbutt, Head of International Recruitment ผู้ชว่ ยอธิการบดี มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ จาก Birmingham City University, UK, ในโอกาสที่มาปรึกษาหารือการจัดทำ� หลกั สตู รรว่ ม 2+2 หรอื 3+1 และการท�ำ วจิ ยั รว่ มกนั ในสาขาดงั น้ี Art, Design, Media ผลติ รายการโดย ศูนยส์ ่อื สารองคก์ รและนกั ศึกษาเกา่ สมั พันธ์ สำ�นักงานมหาวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ (ADM) Computing, Engineering and Built Environment (CEBE), Health Education, Life Science (HELS), Business Laws and Social Sciences ณ ห้องประชมุ อาวุธ ศรศี กุ รี สำ�นกั งานมหาวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ เมอื่ วนั ท่ี 2 30 พฤษภาคม 2565 www.cmu.ac.th

ข่าวรอบสัปดาห์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ ฉบับท่ี 23 ปที ่ี 17 วนั ที่ 6 - 12 มถิ ุนายน 2565 STeP ร่วมลงนาม “กลไกการสง่ เสริมศกั ยภาพด้านนวตั กรรมเพมิ่ เตมิ เขตรวั้ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ จากการสนับสนนุ ดา้ นการเงิน (เสือตดิ ดาบ)” พร้อมติดอาวธุ 7ดา้ น ใหผ้ ู้ประกอบการนวตั กรรมไทย หวงั ยกระดบั ธรุ กิจให้เตบิ โตในยคุ วกิ ฤต สาํ นกั งานนวตั กรรมแหง่ ชาติ (องคก์ าร แผใแพณจห�ำลลู้ชรก้กศะอ้ะ่วาัดนูผมปยรยู้ชคศรตแว์ณ่วะาอ้ลจิ ยสชนะะยั รศตานฯรแอสารบัาลใงสัามยนะศนจตพนฝโาาาอรกึัเนสยรรากอตธยศจวาบ์ร์วิโาสชาครดรรเมจขตณย์รา้ทาพิ์.คะณเรสี่ดชัยเยงงูรฐี่ยกรค์ .คาิมตษดนตพณชารติธรกม.งิศระรเศากกรเศกน์ศมายาผษรตนิิ้มสผจู้ดต์ีตแูจ้ัดำ�เรพยกรัดเกศนย์้มตกาาินมัคพุราสงทหฆหรตยาทว่ััวาารคันไั่วห์วมฆขปไิผทนหปอ์ ู้ชย้ารบางอ่วศอาศวรายงูนลทินูิษวคคัยยโุยยทั ณณส์วเา์วชิจลจิบซบบียัยยััยีพดดรงแเแษิีฝีีฝชใลรลหา่ยทัี่าเีะะยยงมทฝซฝใวก่ลหึกพีกึิเิจพทลมออีกงิรศร่บบเาคีเ้อสมทรรร์ มมัอื่มพมจลพดวทำ�ทลิเนัศก้วันี่ิงสีส่ ษทยคดัธูงูง่ี์์ มหาชน) หรอื NIA กระทรวงการอดุ มศึกษา 10 พฤษภาคม 2565 วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (อว.) รว่ มกบั ศนู ยบ์ รหิ ารจดั การเมอื งอจั ฉรยิ ะมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ไดใ้ หก้ ารตอ้ นรบั พันธมิตรนวัตกรรมไทย เปิดตัวโครงการ คณะศกึ ษาดงู านจาก องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั ล�ำ ปาง ในโอกาสเดนิ ทางมาศกึ ษา “เสอื ตดิ ดาบ” พรอ้ มลงนามความรว่ มมอื “กลไก เแดมงูลอื าะงนอรดจัะฉา้บนรบยิกะขามนรหจสาดั ่งวกมทิ าวยรลาเมลชอืยั นเงชอยี โจั งดฉใยหรยิมมะ่ีผรู้ว่พบมลรใิงัหหงาก้ารานรตกแอ้าลรนะจรบรบั าุคเจมลรอ่ื ากวกนัารรทศรี่ 1กัูน7ษยพา์บคฤรวษิหาภมาาปรคจลมัอด2ดก5ภา6ยัร5 กจาารกสกง่ าเรสสรมนิ ศับกัสยนภุนาดพ้าดนา้ กนานรวเงตั ินก”รรมกเับพหมิ่ นเต่วมิย งานชั้นน�ำ ของประเทศทั้งภาครฐั สถาบันการ ศกึ ษา ภาคเอกชน และสมาคมธรุ กจิ จ�ำ นวน 15 หน่วยงาน อาทิ อุทยานวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ (STeP) ศนู ยน์ วตั กรรมอาหารและบรรจภุ ณั ฑ์ (FIN) สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแหง่ ประเทศไทย (TISTR) บรษิ ัท ยไู อซี เซอร์ติฟเิ คชน่ั เซอรว์ สิ เซส จ�ำ กัด (UIC Certification) ฯลฯ เพ่ือสร้างเคร่ืองมือช่วยเหลือและสนับสนุนผู้ประกอบการนวัตกรรมผ่านการเข้าถึงบริการและสิทธิ ประโยชนจ์ ากหนว่ ยงานทปี่ รกึ ษา/ผใู้ หบ้ รกิ าร โดยใหก้ ารสนบั สนนุ ธรุ กจิ จ�ำ นวน 7 ดา้ นครอบคลมุ ตลอดหว่ งโซ่ คณุ คา่ ทง้ั ดา้ นการผลติ การบรหิ ารจดั การและการขยายผลการเตบิ โตของนวตั กรรม เสมอื นเปน็ การตดิ อาวธุ ให้ผู้ประกอบการไทยสามารถใช้นวัตกรรมสำ�หรับสร้างการเติบโตให้กับธุรกิจเพื่อต่อสู้และปรับตัวต่อ ภัยคกุ คามทางด้านเศรษฐกิจในยุคปจั จบุ นั โดยได้รับเกยี รติจาก รศ.นพ.สรนิต ศิลธรรม ประธานกรรมการ นวตั กรรมแหง่ ชาติ กลา่ วเปดิ โครงการ และ ดร. พนั ธอุ์ าจ ชยั รตั น์ ผอู้ �ำ นวยการ ส�ำ นกั งานนวตั กรรมแหง่ ชาติ (องค์การมหาชน) บรรยายพเิ ศษหวั ขอ้ “การปรบั ตัวและการสนบั สนุนธุรกิจนวัตกรรมในภาวะวิกฤต” ในการน้ี คณุ เมลนิ เชอ้ื มโนชาญ ผชู้ ว่ ยผอู้ �ำ นวยการอทุ ยานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เขา้ ร่วมการลงนามดังกล่าว พร้อมกล่าวแนะนำ�บริการด้านโครงสร้างพนื้ ฐานของอุทยานฯ ไดแ้ ก่ โรงงานต้นแบบนวัตกรรมอาหารครบวงจร (Innovative Food Fabrication Pilot Plant), โรงงานตน้ แบบ ก�ำ จดั แมลงและไขแ่ มลงดว้ ยเคลนื่ ความถว่ี ทิ ยุ (RF Technology Pilot Plant), ศนู ยเ์ ทคโนโลยกี ารขน้ึ รปู ชนิ้ งาน สามมติ แิ บบครบวงจร (The Brick FABLAB), ศูนยพ์ ัฒนาวสั ดุด้วยเทคโนโลยลี �ำ ไอออนและการวเิ คราะห์เชงิ แสง (Center of Ion Beam Materials Development and Optical Analysis) ศูนย์วิจยั เชงิ ธุรกจิ ดา้ น เทคโนโลยพี ลาสมาส�ำ หรบั เกษตรและชวี ภาพ(Agriculture and Bio Plasma Technology Center: ABPlas) และหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกลางอทุ ยานวทิ ยาศาสตรภ์ าคเหนอื (จ.เชยี งใหม)่ ณ ส�ำ นกั งานนวตั กรรมแหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน) รองศาสตราจารยป์ ระทปี จนั ทรค์ ง นกั ศกึ ษาเกา่ มช. น ครพิงค์ จค�ำ ณกัดะว(ิศENวกSรEร:มEศNาEสRตGร์YมNหAาKวOิทยRาNลPัยINเขGียงCใOห.ม,L่ TจDับ.ม) ือร่วบมรกิษนั ัทบูรพณลาังงกาานร รหสั 12 เปน็ ตวั แทนคณะผจู้ ดั ท�ำ หนงั สอื #ทศวรรษแรก งานวชิ าการ วจิ ยั นวตั กรรม และบรกิ ารวชิ าการ เสรมิ ศกั ยภาพ ความเขม้ แขง็ ทาง ชวี ติ นกั ศกึ ษา มช. ภาพและเรอื่ งโดยนกั ศกึ ษา มช. ชว่ งปี เวนวชชิิชักย่ี าาววกกิจชาายั ารรญแทฝลใากึ นะงทวกวักิศชิาษวรากคชะพีรวกรบาโมรคดทมุย(Cำ�งนงoา�ำานnอนsงเดuคเลา้lค์ tนะiวnอวาgศิอมวกsรกeเดู้ เรrบา้ vรนบiมcวงจeศิาา)วนกเกวปกริศดิารวรโมกอดปรกำ�รรเานะมสยนิใมกุหงกีตา้ครนใ์ณชอจก้าบรจบัริงาะกรกยาย่อระ์ใเเนกวหกัลิดบ้ ศาครึกวกิ4ษาาปมราี 2507-2516 #มาส่งมอบหนังสือ ตามที่มหาวิทยาลัย ณโใดนยหบคอนั ณเทกบกึยี ดขรคีตอ้ ณยิตศกะชวลน้ัศิงวค6กวอราารมคมราศว่ รามส3ม0ตอื รป์พรี คอรณงอ้ ศมะาวกสศิ รตวรกรมารกจรามารรศผยาจู้ ์สดดั ตรกร.ธา์ เรงมชอื่EยัวNนัฟSทEอี่ ง1คส7ณุ มพชทุ ฤมุรษนเภปดั าน็ ภคผม์ มลู้ 2งณน5ศี6าม5ริ ิ ไดใ้ หค้ วามสนบั สนนุ จ�ำ นวน 100 เลม่ ใหก้ บั ศนู ยส์ อ่ื สาร องค์กรและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ เพื่อเผยแพร่หนังสือ ให้กบั นักศึกษาเก่าทส่ี นใจ โดยมี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ อาคม ตนั ตระกลู ผูอ้ ำ�นวยการศูนยส์ ่ือสารองคก์ รและ นกั ศกึ ษาเกา่ สมั พนั ธ์ เปน็ ผรู้ บั มอบ ณ ศนู ยศ์ นู ยส์ อื่ สาร องคก์ รและนกั ศกึ ษาเกา่ สมั พนั ธ์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เม่อื วนั ท่ี 27 พฤษภาคม 2565 ศนู ยบ์ รกิ ารพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ จดั พธิ ปี ดิ และมอบประกาศนยี บตั รการอบรมการพยาบาลเฉพาะทางสาขาการบรหิ ารการพยาบาล รผปปกสแุ่นลาลรู้ชรขะา่ทะะว่ วธาธี่ยแากา1รศนสนา4อาดครงสบงณผแศคตร้ชูละวารหิ ว่กะาสาารยมจตรรสศยากมรานิารากาขสดยราจาตีพ์รณกาดรสยราราาขารย.จขว่ธบพ์ฉาางาายกมวรนลาาว่ยีวีรบนผแ์รพดาใูช้กรจยลรว้ว่ณ๋า.ชอธยบบนั้ารศญุาชธร1าลีวงมพสอออชาชิตาานันยชคชราวุกีาาามอผรจลู ัยนู้จอา2คแารติำ�คณมลยนตณยัะ์บ์ภวดแสะยดักรลพิ่งก.ีคดแะวยาณีวสราปรดง่ิบนัะศแรลาธพวะูน้อลรดยธศยมณลาาา์บนบอ้์สรจรมคาตุ่นงิกลณรกทราศ์ลุ่งเะี่รมาโา่ก1พสรอื่ว5รจตวรยรานันรามโย์ทส์บดเกงปี่กยาา2าน็นลุมล7รี สมาคมนกั ศกึ ษาเกา่ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จดั กจิ กรรมกจิ กรรม Entaneer Business Club No.96 พฤษภาคม 2565 โดย คณุ เกรยี งไกร ไชยศริ วิ งศส์ ขุ เกยี ร์ 22 ผอู้ �ำ นวยการการทา่ เรอื แหง่ ประเทศไทย (กทท.) เขา้ รว่ มการรบั ฟงั 3www.cmu.ac.th และร่วมพูดคุยแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ในหัวข้อ คุยสบายๆ กับ ผ้อู �ำ นวยการ การทา่ เรือแห่งประเทศไทย พรอ้ มจัดกิจกรรมเชอ่ื มความสมั พันธ์ สำ�หรับพีน่ ้องวิศวกรรมศาสตร์ มช. ในงาน PIONEER PARTY GE4R 1-10 REUNION NO.1/2565 เมื่อวนั ที่ 28 พฤษภาคม 2565 ณ ท่ีท�ำ การอาคารสมาคมฯ ซ.ลาดปลาเค้า 14 กรงุ เทพมหานคร

วศิ วฯ จบั มือ บริษทั ระบบที่จอดรถอตั โนมัตทิ ่วั ไป เครือ GMC Group กรรมการผจู้ ดั การบรษิ ทั ระบบทจี่ อดรถอตั โนมตั ทิ วั่ ไป จ�ำ กดั คณุ วสิ รสั เอย่ี มประชาและ คณุ จตุพร หอระตะ เป็นผู้ลงนาม ซ่ึงมีผ้บู ริหาร และเจ้าหนา้ ที่ ของท้ังสองฝา่ ยรว่ มเป็น ส่งเสรมิ การวจิ ยั และพัฒนาองค์ความรรู้ ะบบโครงสร้างควบคมุ อาคารจอดรถ สักขีพยาน ณ ส�ำ นักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ อัตโนมตั ิ พร้อมผลติ นกั ศึกษาเพมิ่ ศักยภาพ ตอบโจทยว์ ิชาชีพระดบั สากล ทม่ี าของความรว่ มมอื ฯ สบื เนอื่ งจากปจั จบุ นั บรษิ ทั ฯ ประสงคพ์ ฒั นาเทคโนโลยี อัตโนมัติด้านอาคารจอดรถอัตโนมัติ กอรปกับเทคโนโลยีระบบอัตโนมัติเป็นสิ่งสำ�คัญ ต่อการแก้ไขปัญหาขาดแคลนสถานที่จอดรถ เป็นโอกาสให้นักวิจัย มช. มีส่วนร่วม มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ โดย ในกระบวนการคดิ คน้ วเิ คราะห์ พรอ้ มน�ำ เทคโนโลยรี ะบบควบคมุ เสรมิ เขา้ กบั ระบบดงั กลา่ ว คณะวศิ วกรรมศาสตร์ รว่ มมอื กบั บรษิ ทั ซง่ึ บรษิ ทั ฯ น�ำ เขา้ ระบบอาคารจอดรถอตั โนมตั ติ ดิ ตง้ั ในพนื้ ทตี่ ามความตอ้ งการของลกู คา้ ระบบท่ีจอดรถอัตโนมัติทั่วไป จำ�กัด ทงั้ ยงั มแี นวโนม้ ตอ่ ยอด พฒั นาใหผ้ ดู้ แู ลควบคมุ การท�ำ งานสามารถทราบถงึ การท�ำ งานของ (บริษัทในเครือ GMC Group) เพ่ือ ระบบ รวมทงั้ แสดงขอ้ มลู การท�ำ งานของระบบ หรอื อปุ กรณต์ า่ งๆ กรณเี กดิ ความผดิ พลาด สง่ เสรมิ การวจิ ยั พฒั นาสรา้ งองคค์ วามรู้ ทงั้ สองฝา่ ยจงึ รว่ มมอื กนั เพอื่ เสรมิ ขดี ความสามารถการวจิ ยั และพฒั นา สรา้ งองคค์ วามรู้ ด้านระบบโครงสร้าง ควบคุมอาคาร ดา้ นอาคารจอดรถอตั โนมตั ิ รองรบั ความกา้ วหนา้ ดา้ นอตุ สาหกรรมอาคารจอดรถของประเทศ จอดรถอตั โนมตั ริ ปู แบบตา่ งๆ รองรบั และภูมภิ าคอาเซียนตามมาตรฐาน นอกจากน้ยี งั แลกเปลยี่ นความรู้ ทกั ษะ ทรพั ยากร การพฒั นาดา้ นอตุ สาหกรรมระบบจอด และบคุ ลากร ให้มคี วามสอดคล้องกบั ความต้องการของประเทศ รถอตั โนมตั ิ อกี ทงั้ ผลติ นกั ศกึ ษา พฒั นา ขอบเขตความรว่ มมอื คอื มหาวทิ ยาลยั ฯ สนบั สนนุ บคุ ลากรเขา้ รว่ มด�ำ เนนิ การศกึ ษา ศักยภาพ ประสทิ ธภิ าพในการศกึ ษา แลกเปลี่ยนความรู้ ทักษะ ทรพั ยากร ตลอดจน วิเคราะห์ วจิ ัย ฝึกอบรม รวมท้ังทรพั ยากรบุคคล สถานที่ อปุ กรณ์ งบประมาณ และ พัฒนาบุคลากร สำ�หรับปรับปรุงหลักสูตรตอบสนองมาตรฐานทางวิชาชีพระดับสากล ทรพั ยากรอืน่ ๆ ทจ่ี �ำ เปน็ ส่วนบรษิ ทั ฯ สนบั สนนุ งบประมาณ ขอ้ มลู การออกแบบและ ผ่านกจิ กรรมอบรมระยะส้ันอันเป็นประโยชน์แก่นกั ศึกษา และบุคลากรของทั้งสองฝ่าย พัฒนาระบบอาคารจอดรถอัตโนมัติ ก่อเกิดการเรียนรู้ สร้างความเข้าใจต่อการพัฒนา รวมถงึ รว่ มโครงการบรกิ ารวชิ าการแกห่ นว่ ยงานภายนอกในการวจิ ยั พฒั นาระบบอาคาร ดา้ นดงั กลา่ ว พรอ้ มใหพ้ นื้ ทเี่ รยี นรแู้ กก่ ารสรา้ งระบบ เชน่ โครงสรา้ งอาคาร การออกแบบ จอดรถอตั โนมัติ ทัง้ น้ี พิธีลงนามขอ้ ตกลงทางวิชาการมขี น้ึ เม่ือที่ 27 พฤษภาคม 2565 ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ระบบควบคมุ อตั โนมตั ิ ตลอดจนอปุ กรณท์ จี่ �ำ เปน็ พรอ้ มสนบั สนนุ การพฒั นา โดยอธิการบดมี หาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ศาสตราจารย์คลินกิ นายแพทย์นเิ วศน์ นันทจิต นกั ศกึ ษา และบคุ ลากร มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ใหม้ คี วามรดู้ า้ นระบบอาคารขา้ งตน้ อยา่ งถอ่ งแท้ พรอ้ มดว้ ยคณบดคี ณะวศิ วกรรมศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ธงชยั ฟองสมทุ ร ตลอดจน ภายในระยะเวลา 3 ปี นกั ศึกษา มช. คว้า 4 รางวัล นักศึกษาแมสคอม มช. คว้า 2 รางวัลชนะเลิศ และรองชนะเลิศอันดับ 2 ระดับประเทศ โครงการทตู เยาวชนวทิ ยาศาสตร์ไทย ประจ�ำ ปี 2564 โครงการ Thai PBS Young Content Creator นกั ศกึ ษาคณะการสอื่ สารมวลชน มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ทมี \"Y1\" , \"Y9\" และ \"Y10\" ผ่านเข้ารอบ 16 ทีมสุดท้ายระดับ ประเทศ พรอ้ มคว้า 2 รางวัลชนะเลศิ และ รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 เพมิ่ อกี 1 รางวลั จากการประกวดโครงการ Thai PBS Young Content Creator โดยจดั พธิ ปี ระกาศผลและมอบรางวลั เมอ่ื วนั ที่ 29 พฤษภาคม 2565 4 นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ไดร้ บั รางวลั ในโครงการทตู เยาวชนวทิ ยาศาสตรไ์ ทย ทผ่ี ่านมา ณ สถานีโทรทศั น์ไทยพีบเี อส กรงุ เทพมหานคร ประจ�ำ ปี 2564 (Young Thai Science Ambassador, YTSA 2021) ซง่ึ จดั โดย องคก์ าร โครงการประกวดดงั กลา่ วจดั ขน้ึ ภายใตก้ ารด�ำ เนนิ งานของสถานวี ทิ ยโุ ทรทศั นไ์ ทยพบี เี อส พพิ ธิ ภัณฑว์ ิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) เปดิ โอกาสใหเ้ ยาวชน นกั ศกึ ษา และประชาชนทวั่ ไปทว่ั ประเทศ อายรุ ะหวา่ ง 20 – 23 ปี นทพ.อภิชญา ปริศนานันทกุล ทมี่ คี วามสนใจดา้ นสอื่ สารมวลชน ไดเ้ ขา้ รว่ มโครงการเพอื่ พฒั นาทกั ษะดา้ นแนวคดิ ภาควชิ า นักศึกษาช้ันปีที่ 3 คณะทันตแพทยศาสตร์ การและภาคปฏบิ ตั ิ การผลติ รายการ การเลา่ เรอื่ ง การถา่ ยวดิ โี อและการตดั ตอ่ เตรยี มพรอ้ ม ได้รับคัดเลือกให้เป็น ทูตวิทยาศาสตร์ไทย การเป็นนกั ส่ือสารมวลชนในอนาคต โดยมกี ารอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ ณ กรงุ เทพฯ และ ในโครงการทตู เยาวชนวทิ ยาศาสตรไ์ ทย ประจ�ำ ปี ศนู ยข์ า่ วภมู ภิ าคของไทยพบี เี อส เรยี นรกู้ ารผลติ รายการกบั คนสอ่ื มอื อาชพี จาก Thai PBS และ 2564\" (Young Thai Science Ambassador ผเู้ ชย่ี วชาญจากภายนอก รวมถงึ ผลติ ผลงานเขา้ รว่ มการประกวดในประเดน็ “เศรษฐกจิ ปากทอ้ ง” 2021) ครง้ั ท่ี 17 พรอ้ มเงนิ รางวลั 5,000 บาท หรอื “ระบบอปุ ถมั ภ”์ หรอื “Future Skill” ลนุ้ ชงิ ทนุ การศกึ ษารวมกวา่ 150,000 บาท และไดร้ บั หนา้ ทเี่ ปน็ พธิ กี รรว่ มงานกบั อพวช. โดยนกั ศกึ ษาจากคณะการสื่อสารมวลชน มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ผา่ นเขา้ รอบ ตลอด 1 ปี 16 ทีมสดุ ท้าย จ�ำ นวน 3 ทมี และควา้ มาได้ 3 รางวลั ดงั น้ี นายณัฐดนัย คำ�หลวง นักศึกษา - ทมี Y10 ไดร้ ับ “รางวลั ชนะเลศิ ประเภทโทรทัศน์” และ “รางวัลชนะเลิศ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สง่ิ แวดลอ้ ม ช้ันปีที่ 4 ประเภทมลั ตมิ เี ดยี ” รบั ทนุ การศกึ ษารางวลั ละ 40,000 บาท พรอ้ มใบประกาศเกยี รตคิ ณุ คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลนักสื่อสาร นสมายาชภกิรู ภิในทั ทรีมอยปใู่ รหะมกแ่ อลบะดน้วายงสนาาวยลเกลลติ า้ากรวอินดทเเรต์งตรโดีทยิพมยี อรากั จษา์ รนยา์ ดยรธ.นศกวิ พฤตร สปกุ รฤะตกาานยนศทรี์ วิทยาศาสตร์ยอดเยย่ี ม และไดเ้ ป็นผู้แทนทูต เยาวชนวิทยาศาสตร์ไทยเดินทางไปศึกษา เปน็ อาจารยท์ ี่ปรึกษา ดงู านดา้ นการสอื่ สารวทิ ยาศาสตร์ เปน็ เวลา 1 - ทีม Y9 ได้รับ “รางวลั รองชนะเลิศอันดบั ท่ี 2 ประเภทมลั ติมเี ดีย” รบั ทุน สัปดาห์ ณ สหพันสาธารณรฐั เยอรมนี การศกึ ษาจ�ำ นวน 10,000 บาท พรอ้ มใบประกาศเกยี รตคิ ณุ สมาชกิ ในทมี ประกอบดว้ ย นายภานวุ ฒั น์ พลแหลม นกั ศกึ ษาสาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรส์ ง่ิ แวดลอ้ ม ชนั้ ปที ่ี 4 นางสาวสิรกิ ร กองบตุ ร นายจักรินทร์ นมนาน นางสาวฐติ ารีย์ ไชยวัต และ นางสาว คณะวิทยาศาสตร์ ได้รับรางวัลนกั ส่อื สารวิทยาศาสตร์รนุ่ ใหม่ ฟ้าริดา วีระเพช็ ร์ นางสาวพรไพลิน หอมสมบัติ นักศึกษาภาควิชาคณิตศาสตร์ ช้ันปีท่ี 3 - ทีม Y1 ผ่านเข้ารอบ 16 ทีมสุดท้าย ประกอบด้วย นายกฤษฎา ต๊ะวัน คณะวิทยาศาสตร์ ไดร้ บั รางวัล นกั สอ่ื สารวทิ ยาศาสตร์ดีเดน่ นางสาวนริ มัย มลู ค�ำ และ นางสาวภรู ชิ ญา พนั แพง การคัดเลือกน้ีจัดโดย องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) ส�ำ หรบั ประเดน็ ทท่ี ง้ั สองทมี เลอื กผลติ ผลงานสง่ เขา้ ประกวด คอื Future Skill โดยทมี กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัยและนวัตกรรม รว่ มกับสมาคมวิทยาศาสตร์ Y10 ผลติ รายการ \"เปด็ ขน้ั เทพ\" มงุ่ สรา้ งแรงบนั ดาลใจใหก้ บั คนทเี่ ปน็ เปด็ คอื มคี วามสามารถ แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ สถาบันเกอเธ่ ประเทศไทย และบริษัท ทรู หลายดา้ นแตอ่ าจไมเ่ กง่ หรอื ไมโ่ ดดเดน่ สกั ดา้ น ท�ำ ใหม้ องตวั เองไปในทางลบ ซงึ่ แทจ้ รงิ แลว้ คอปเปอเรช่นั จำ�กดั (มหาชน) โดยมกี ารอบรมความรู้ด้านการส่ือสารวิทยาศาสตร์กบั การที่เป็นเป็ดก็สามารถสร้างความเป็นตัวตนและประสบความสำ�เร็จได้ ส่วนทีม Y9 นกั สอื่ สารวทิ ยาศาสตร์ เพอ่ื สง่ เสรมิ การพฒั นาบคุ ลากรทางดา้ นการสอ่ื สารวทิ ยาศาสตร์ ผลติ รายการ \"Hello Social\" น�ำ เสนอเรอ่ื งราวเกยี่ วกบั วธิ กี ารจดั การความเครยี ดของนกั ศกึ ษา ในระดับอุดมศึกษา ให้มีความรู้และความสามารถ ในการถ่ายทอดองค์ความรู้และ จบใหม่ โดยการโทรศพั ทส์ มั ภาษณน์ กั จติ วทิ ยาในประเดน็ ดงั กลา่ ว พรอ้ มน�ำ เสนอทกั ษะ เรอื่ งราววทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม โดยโครงการฯ ดังกลา่ วจดั ขนึ้ เมือ่ วนั ท่ี ทน่ี กั ศกึ ษาจบใหมค่ วรมเี พอ่ื ใชใ้ นการท�ำ งานหลงั เรยี นจบ ตดิ ตามรบั ชมผลงานของผเู้ ขา้ รว่ ม 27 - 29 พฤษภาคม 2565 ณ องคก์ ารพิพิธภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) โครงการ Thai PBS Young Content Creator ไดท้ าง Facebook Page : Thai PBS Academy ข่าวรอบสัปดาห์ ทป่ี รึกษา : ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์นเิ วศน์ นนั ทจิต อธกิ ารบดีมหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ บรรณาธิการบรหิ าร : รองศาสตราจารย์โรม จิรานุกรม รองอธกิ ารบดี CHIANG MAI UNIVERSITY WEEKLY NEWS บรรณาธกิ าร : ผูช้ ่วยศาสตราจารยอ์ าคม ตันตระกูล กองบรรณาธิการ : ม.ล.กัตตกิ า เกษมสันต์ ละอองศรี นายอนุญาชยั ตันติเสนยี ์พงศ์ นางสาวศภุ วรรณ ขำ�เจรญิ นางสาวอรรัตน์ สว่างแสง https://ccarc.cmu.ac.th นางสาวเมธาพร เฉลมิ เขตต์ นางสาวจนั ทร์จริ า วรรณฤทธ์ิ นางสายฝน จัตรุ ัตน์ นางวริศรา มาละแซม ฝา่ ยภาพ : ว่าท่ี ร.ต.มงคล ลายค�ำ นายกันตคณุ วงศอ์ าษา ฝ่ายศลิ ปกรรม : นายพิเศษ ขันติพงษ์ ฝ่ายเผยแพร่ : นางสาวคำ�แสน อินตะ๊ นิล ส่งข้อมูลเพื่อการประชาสัมพันธ์ได้ที่ ศูนย์สื่อสารองค์กรและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ สำ�นักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พมิ พ์ที่ : หจก.นันทกานต์ กราฟฟคิ การพิมพ์ www.nantakarngraphic.com โทร. 0-5394-4444 โทรสาร 0-5394-4900 E-mail : [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook