เมอ่ื วันพธุ ท่ี 4 พฤษภาคม 2565 ณ ห้องราชพฤกษ์ ศูนยป์ ระชุมและแสดงสินค้านานาชาตเิ ฉลิมพระเกียรติ 7 รอบ พระชนมพรรษา จ.เชียงใหม่ นายประจญ ปรัชญ์สกุล ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ เป็นประธานประกอบพิธี วันฉัตรมงคล ประจำ�ปี 2565 โดยมีศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์นิเวศน์ นันทจิต อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ พร้อมด้วยกงสุลต่างประเทศ เจ้านายฝ่ายเหนือ หัวหน้าส่วน ราชการ อยั การ ตุลาการ ทหาร ต�ำ รวจ ข้าราชการ พนักงาน เจ้าหน้าที่และภาคเอกชน ร่วมถวายราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติ แดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว มช.พฒั นา VR โลกเสมอื นจริง ช่วยเด็กออทสิ ซมึ คว้ารางวัลเชดิ ชเู กยี รตริ ะดับประเทศ เนอื่ งจากสถานการณโ์ ควดิ -19 ทส่ี ง่ ผลตอ่ การด�ำ เนนิ ชวี ติ ในหลายๆ ดา้ น ขา่ วรอบสัปดาห์ โดยเฉพาะเด็กออทิสซึม ทำ�ให้มีข้อจำ�กัดในการช่วยเหลือและส่งผลต่อทักษะ การเรียนรู้ท่ีถูกชะลอไว้ จนอาจก่อให้เกิดการขาดการพัฒนาการในที่สุด CHIANG MAI UNIVERSITY WEEKLY NEWS มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ นอกเหนอื จากมงุ่ เนน้ ทางดา้ นการศกึ ษาแลว้ ยงั เลง็ เหน็ ถึงความสำ�คัญของการบูรณาการความรู้ที่สามารถนำ�ไปสู่การเปลี่ยนแปลง https://ccarc.cmu.ac.th จงึ ได้พฒั นานวัตกรรม “ระบบความเป็นจริงเสมือน (VR) เพอื่ พฒั นาทกั ษะ การเขา้ สงั คมส�ำ หรับเด็กกลุม่ อาการออทสิ ซึม” โดย อาจารย์ ดร.กรรณิการ์ »‚·Õè 17 ©ººÑ ·Õè 19 วนั ที่ 9 - 15 พฤษภาคม 2565 อินต๊ะวงศ์ อาจารย์ประจำ�คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และทีมวิจัย ล่าสุดได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติจากกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัย นักศึกษาศึกษาศาสตร์ มช. ได้รับรางวัลชนะเลิศ และสรา้ งสรรค์ ในงาน \"TMF Media Innovation Awards 2021\" ท่ีจดั ขน้ึ เพอื่ ผลกั ดนั ใหม้ กี ารผลติ สอ่ื ทม่ี คี ณุ ภาพ สรา้ งสรรค์ และไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ สงั คม โครงการประกวดความเป็นเลิศในการจัดการเรียนรู้ (อ่านตอ่ หนา้ 2) ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 11 {บทพระราชนิพนธ์พระมหาชนก} ศาสตราจารย์ ดร.นพ.พงษ์รักษ์ ศรีบัณฑิตมงคล รองอธิการบดี เม่อื วนั ท่ี 6 เมษายน 2565 นกั ศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เขา้ รว่ ม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นำ�คณะผู้บริหาร คณาจารย์และเจ้าหน้าที่ สักการะ การแข่งขันโครงการการประกวดความเป็นเลิศในการจัดการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา คร้ังที่ 11 ศาลท้าวรณกาจพนาสูรย์และศาลปู่ย่า ศูนย์ส่งเสริมพฤฒพลังผู้สูงอายุ ชงิ ถว้ ยพระราชทาน สมเดจ็ พระกนษิ ฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (CMU Senior Wellness Center) เพื่อแสดง เรื่อง “บทพระราชนิพนธ์พระมหาชนก” และได้รับรางวัลชนะเลิศ ได้รับถ้วยพระราชทานฯ ความเคารพและสรา้ งความเปน็ สริ มิ งคลกอ่ นการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี และกลา่ วตอ้ นรบั พรอ้ มใบประกาศนยี บตั ร และเงินรางวัล 10,000 บาท ณ หอ้ งประชุมศาสตราจารย์ ดร.ประเสรฐิ และกล่าวถึงความเป็นมาของโครงการศูนย์ฯ เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ณ นคร อาคาร 1 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ บางเขน กรงุ เทพมหานคร ในระบบการท�ำ งาน ตลอดจนแนะนำ�สถานที่ อปุ กรณ์ สิ่งอ�ำ นวยความสะดวก ตา่ งๆ ณ ศนู ย์สง่ เสริมพฤฒพลงั ผูส้ งู อายุ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ เม่ือวนั ท่ี 2 (อ่านต่อหน้า 3) พฤษภาคม 2565
ข่าวรอบสัปดาห์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฉบบั ท่ี 19 ปีท่ี 17 วันที่ 9 - 15 พฤษภาคม 2565 เขตรัว้ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ มช.พัฒนา VR โลกเสมอื นจริง ชว่ ยเด็กออทิสซึม ฯ (ต่อจากหนา้ 1) นายจตุ ิ ไกรฤกษ์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ โครงการนเี้ ปน็ หนงึ่ ในผลงานของโครงการนวตั กรรมส�ำ หรบั และ นางพชั รี อาระยะกลุ ปลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ เปน็ สกั ขพี ยาน เมอื งและชมุ ชน มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เปน็ การตอ่ ยอดจากสงิ่ ทม่ี อี ยู่ เใพนพอ่ื พธิ ลี ฒั งนนาามทบกั นัษทะกึงขานอ้ ตในกยลคุงคดวจิ าทิ มลัร”ว่ มรมะอืหแวสา่ ดงมงเหจาตวจทิ �ำ ยนางลในยั กเชายีรงรใว่ หมมข่บักเรคมลกอื่ จิ นก“ารกผาสู้รงูเรอยี านยรุ กตู้ รลมอกดจิ ชกวี าติร ใหเ้ กดิ ประโยชน์ และสามารถน�ำ ไปใชไ้ ดจ้ รงิ โดย อาจารย์ ดร.กรรณกิ าร์ เดก็ และเยาวชน ส�ำ นกั งานการวจิ ยั แหง่ ชาติ เครอื ขา่ ยโรงเรยี นผสู้ งู อายแุ หง่ ประเทศไทย และเครอื ขา่ ย อินต๊ะวงศ์ ผู้คว้ารางวัลบุคคลดีเด่น ด้านนวัตกรรมสื่อโครงการ YEN-Dx เมอื่ วนั ท่ี 28 เมษายน 2565 ณ ส�ำ นกั บรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ “ระบบความเปน็ จรงิ เสมอื น (VR) เพอื่ พฒั นาทกั ษะการเขา้ สงั คม โดยศาสตราจารยค์ ลนิ กิ นายแพทยน์ เิ วศน์ นนั ทจติ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ นางสจุ ติ รา ส�ำ หรบั เดก็ กลมุ่ อาการออทสิ ซมึ ” ในงาน “TMF Media Innovation พทิ ยานรเศรษฐ์ อธบิ ดกี รมกจิ การผสู้ งู อายุ นางจตพุ ร โรจนพานชิ อธบิ ดกี รมกจิ การเดก็ และเยาวชน Awards 2021” ทผ่ี า่ นมา จากการคดั สรร 62 ผลงาน โดยแบง่ เปน็ โดรรง.เวรภิยี านรผตั สู้ นงู ์ อดาอี ยอ่ ุง17ผอู้ จ�ำ งั นหววยดั กภาารคส�ำเหนนกั องื าแนลกะานรวาจิ ยยั กแติ หตง่ ร์ิชเามตศิ พอรธะกิครรธปู รียิ พวรฒั รนณ์ ปพรพิ ะฒั ธานน์ ปYรeะnธา-dนเfคroรอืnขtiา่eยr 4 ด้าน คือ นวัตกรรมสอ่ื เพ่ือสังคม นวัตกรรมส่อื เพื่อส่ิงแวดล้อม Thailand-Laos และรองประธานสมาพันธ์ SME อสี านเหนอื ตอนบนและผ้แู ทนเครอื ขา่ ย นวตั กรรมสอื่ เพอื่ สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ และนวตั กรรมสอื่ เพอ่ื สง่ เสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรม อนั เปน็ พนื้ ฐานและเครอ่ื งมอื YEN-Dx รว่ มลงนามในบันทกึ ขอ้ ตกลงความเขา้ ใจ สำ�คญั ทช่ี ว่ ยในการสอื่ สาร เพ่ือถ่ายถอดความรู้สกึ ความต้องการหรอื ตอบโต้กบั บคุ คลอน่ื โดยเฉพาะกับเด็ก ศาสตราจารยค์ ลนิ กิ นายแพทยน์ เิ วศน์ นนั ทจติ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ที่มีความต้องการการดูแลเป็นพิเศษอย่างเด็กที่มีภาวะออทิสซึม ซ่ึงมีความบกพร่องของพัฒนาการด้านการ ประธานฝา่ ยฆราวาสพธิ ที อดผา้ ปา่ สามคั คเี พอ่ื ทนุ การศกึ ษาแกน่ กั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ มปี ฏสิ มั พนั ธท์ างสงั คม การสอื่ สารดว้ ยวจั นภาษาและอวจั นภาษา จงึ เปน็ ปจั จยั ทท่ี มี วจิ ยั พฒั นานวตั กรรมระบบ โคดณยามจนี าารงยน์ เจฤา้ มหลนา้พทูลี่ พเพรอ้ียมรดนว้ ายยคกณสะมการครมมนกกัารศสึกมษาาคเมกา่แมลหะานวกั ทิ ศยกึ าษลาัยเกเชา่ ยี รงว่ ใมหพมธิ่ คี ณณศะาผล้บู ารธหิรรามร ความเปน็ จริงเสมอื น (VR) ดังกล่าวข้ึน ดว้ ยเทคโนโลยแี หง่ โลกอนาคตทถ่ี ูกนำ�มาประยุกตใ์ ชจ้ ำ�ลองเหตุการณ์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เมอ่ื วนั ท่ี 30 เมษายน 2565 ในชีวิตประจำ�วัน ยกระดับวิธีการดูแล เสริมสร้างและพัฒนาทักษะในด้านการเข้าสังคมของเด็กออทิสซึม โดยปรากฏวตั ถุ 3D object ที่มคี วามสมจริง ซึง่ พฤตกิ รรมการตอบโตข้ องเด็กจะถกู น�ำ มาวเิ คราะห์และแสดง ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ณฐั วรยศ รองอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ พรอ้ มดว้ ย ผลภายหลังการใช้งาน ซึ่งนักกิจกรรมบำ�บัดสามารถนำ�ข้อมูลไปทำ�การวางแผนการดูแลให้มีประสิทธิภาพ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เกษมศกั ด์ิ อทุ ยั ชนะ รองผอู้ �ำ นวยการอทุ ยานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มากขน้ึ ทำ�ใหพ้ วกเขามีทกั ษะในการเขา้ สามารถพ่งึ พาตนเองได้ เป็นการเพ่ิมโอกาสให้เดก็ ท่มี ภี าวะออทสิ ซมึ ผแล้ชู ะว่ บยรศราจสภุ ตณั รฑาจ์ นาารยยโ์กดศรล.ภตญาล.วทรอินงทนรารยักกษสม์ศาิรควิ มณพชิ ชื กรรอะงทผอ่ อู้ มำ�แนหวง่ยปกราะรเศทูนศยไท์นยวตัใหกก้รารรมตออ้ านหราบั ร สามารถใชช้ วี ติ ในสงั คม อยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ งเปน็ ปกติ ชว่ ยบรรเทาปญั หาทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ตอ่ ตวั เดก็ ในอนาคตได้ นายสมศกั ด์ิ เทพสทุ นิ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงยตุ ธิ รรม ในโอกาสทม่ี าประชมุ ปรกึ ษาหารอื นบั ว่าเป็นรางวัลแหง่ ความภาคภมู ิใจ และสรา้ งแรงขบั เคลื่อนให้กับคณาจารย์ นักวิจยั ทจี่ ะสร้างสรรค์ส่ิงดๆี แพลืชะกแรละกทเป่อลมยี่ แนหขอ้่งปคดิรเะหเน็ทเศกยไ่ี ทวกยบั เ“รกอ่ื งาขรอพงัฒ“พนชื ากแรละะทวอ่ ิจมัยไทพยืชแกหรง่ ภะทาค่อใมตโส้ มู่ผเดลลิต”ภโัณดยฑน์มายูลกคส่ามสาูคง”ม ออกมาสสู่ าธารณะมากข้ึน มหาวิทยาลัยเชยี งใหมม่ ีแนวคดิ ทจี่ ะประยกุ ตป์ ัญญาความรู้ ภายใตอ้ ดุ มการณ์การ โดยศนู ยน์ วตั กรรมอาหารและบรรจภุ ณั ฑ์“บทบาทอทุ ยานวทิ ยาศาสตรต์ อ่ การขบั เคลอื่ นภาคเกษตร” มงุ่ ม่ันสูค่ วามเป็นเลศิ เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเปลยี่ นแปลงเชงิ บวก เกิดการเจรญิ เตบิ โตทางนวัตกรรม ควบคกู่ บั การ โดยอทุ ยานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และเยย่ี มชมโรงงานตน้ แบบสารสกดั พชื กระทอ่ มคณุ ภาพสงู ไม่ละทิ้งใครคนใดคนหนึ่งไว้ การเชิดชูรับใช้สังคม และเตรียมพร้อมปรับตัวให้เท่าทันต่อความเปลี่ยนแปลง ณ อาคารนวตั กรรมสารสกดั มลู คา่ สงู iExtract ซงึ่ ถอื เปน็ การเตรยี มพรอ้ มใหม้ หาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ และความก้าวหนา้ ของโลก เปน็ “ผนู้ �ำ ดา้ นการสกดั สารมลู คา่ สงู ทม่ี คี วามบรสิ ทุ ธสิ งู ” วางรากฐานเพอื่ เปน็ การสง่ เสรมิ และ สนับสนุนในการปลูก การดูแล การเพาะปลูก การแปรรูปพืชกระท่อม และการส่งเสริม นักคณติ ศาสตร์ มช. รว่ มวิจยั กบั สงิ ค์โปร ให้เกิดการพัฒนาสมุนไพรพืชกระท่อมแบบครบวงจร ต้ังแต่การผลิตวัตถุดิบการผลิต สารสกัดพืชกระท่อมที่มีคุณภาพ และได้เข้าเย่ียมชมโรงงานต้นแบบนวัตกรรมอาหาร พัฒนาแอปพลเิ คชนั ตดิ ตามโควดิ รู้ผลเร็ว ใน 1 วนั ครบวงจร ของอทุ ยานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เกยี่ วกบั เครอ่ื งมอื เครอ่ื งจกั ร ขนั้ ตอนและ กระบวนการตา่ งๆ ตลอดจนตวั อยา่ งผลติ ภณั ฑท์ เ่ี ปน็ ผลผลติ ของโรงงาน เมอ่ื วนั ท่ี 28 เมษายน 2565 จากการ แพร่ระบาดใน เมอื่ วนั ท่ี 28 เมษายน 2565 ณ หอ้ งประชุม 201 ช้นั 2 สำ�นกั บริการเทคโนโลยี โรงพยาบาลของไวรัสโคโรนา 2019 สารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ศาสตราจารยค์ ลนิ กิ นายแพทยน์ เิ วศน์ นนั ทจติ อธกิ ารบดี หรือ โควิด-19 ที่มีความสำ�คัญต่อ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ไดใ้ หเ้ กยี รตเิ ปน็ ประธานในงานประกาศรางวลั \"CMU-ITA AWARD 2022\" กคลวมุ่ามทปม่ี ลภี อมู ดคิ ภมุ้ กัยนัขตอ�่ำงแผลู้ปะ่วเยสยี่ โงดตยอ่ เอฉาพกาาะร และมอบโลเ่ กยี รตยิ ศใหก้ บั สว่ นงานทมี่ ผี ลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนนิ งาน รุนแรง เน่ืองจากห้องปฏิบัติการใน ของส่วนงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระดับ A (คะแนนร้อยละ 85-95) โดยมีส่วนงาน โรงพยาบาลขาดแคลนนกั ชวี สารสนเทศ ท่ีไดร้ ับมอบโลเ่ กยี รตยิ ศฯ ประจ�ำ ปี 2565 จ�ำ นวน 10 สว่ นงาน ประกอบด้วย ส�ำ นกั งานสภา ด้วยเหตุน้ี จึงเกิดเป็นความท้าทาย มหาวทิ ยาลยั ส�ำ นงั านมหาวทิ ยาลยั ส�ำ นกั บรกิ ารวชิ าการ สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ของนักวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะบริหารธุรกิจ คณะอุตสาหรรมเกษตร สถาบันวิศวกรรมชีวการแพทย์ สำ�นักบริการ ท่ีได้คิดค้นเว็บแอปพลิเคชันสำ�หรับ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ส�ำ นกั พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ส�ำ นกั สง่ เสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรม พรอ้ มน้ี โรงพยาบาล ร่วมกบั คณะนกั วจิ ยั จาก ได้รบั เกียรตจิ ากรองศาสตราจารย์ ดร.พรชัย วิสทุ ธศิ กั ด์ิ ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดี ให้การบรรยาย Genome Institute of Singapore เรอ่ื ง \"นโยบายและการขบั เคลอื่ นคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนนิ งานของมหาวทิ ยาลยั และ Singapore General Hospital เชยี งใหม\"่ และไดร้ บั เกยี รตจิ ากผบู้ รหิ ารสว่ นงาน ไดแ้ ก่ คณะบรหิ ารธรุ กจิ คณะอตุ สาหกรรมเกษตร พฒั นาระบบสำ�หรบั วิเคราะหล์ ักษณะ สถาบนั วจิ ยั และพฒั นาพลงั งานนครพงิ ค์ ส�ำ นกั งานสภามหาวทิ ยาลยั และส�ำ นกั งานมหาวทิ ยาลยั ทางพันธุกรรมและติดตามการแพร่ ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำ�เนินงานด้านคุณธรรมและความโปร่งใสของส่วนงาน ทั้งนี้ ระบาดของเช้ือไวรัส SARS-CoV-2 รองศาสตราจารย์ ดร.สรุ พล เศรษฐบตุ ร ประธานคณะท�ำ งานตรวจประเมนิ คณุ ธรรมและ โดยเมอ่ื พบผตู้ ดิ เชอื้ จะสามารถวเิ คราะห์ ความโปรง่ ใสในการด�ำ เนินงานของสว่ นงาน มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ได้น�ำ เสนอ \"สรปุ ผลการ และติดตามการแพร่ระบาดได้อย่าง ประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการด�ำ เนนิ งานของสว่ นงาน มช. ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2565\" แมน่ ยำ�ภายใน 1 วัน ท�ำ ใหโ้ รงพยาบาลสามารถป้องกันและตัดวงจรการแพร่ระบาดไดท้ ันการณ์ โดยในกจิ กรรมนม้ี ีผู้บรหิ าร บคุ ลากรทเี่ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ณ ห้องประชมุ 201 ชั้น 2 ส�ำ นัก การพัฒนาแอปพลิเคชัน “ระบบสำ�หรับวิเคราะห์ลักษณะทางพันธุกรรมและติดตามการแพร่ ระบาดของเช้อื ไวรัส SARS-CoV-2 ทใี่ ช้ในสถานพยาบาล” เป็นการบูรณาการและเปน็ หน่ึงในโครงการ 2 บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ และผ่านระบบ Zoom Meeting รวมประมาณ 380 ท่าน สรา้ งสรรคน์ วัตกรรม โดยโครงการจัดต้งั ศนู ย์วจิ ัยวิทยาการข้อมูล คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ www.cmu.ac.th ดว้ ยผลงานจากความต้ังใจและทุ่มเทของ ผศ.ดร.หทยั รตั น์ ย่งิ ทวีสทิ ธิกุล อาจารย์จากภาควชิ าคณติ ศาสตร์ ซึง่ รว่ มมอื กบั คณะนกั วิจัยจากสงิ คโปร สาเหตุหน่งึ ทที่ ำ�ให้งานวิจยั น้ีมคี วามส�ำ คัญ เนื่องจากสถานพยาบาล คเปว็นามสปถลาอนดทภ่ีรยัอขงอรับงผผปู้ ู้ปว่ ่วยยมจาำ�เปนน็วอนนัมดาบักแรถกือวโด่ายเสเฉ่ียพงตาะ่ออกยาา่ รงแยพง่ิ กรล่ระมุ่ บทาม่ี ดภี ขมู อคิ งมุ้ ไกวนัรัสต�ำ่โคแวลิดะเ-ส1ย่ี9งตจอ่ ึงอตา้อกงาครำ�รนนุ ึงแถรึงง หากเชอ้ื ลงสปู่ อดจะมอี นั ตรายมากกวา่ คนปกตแิ ละยงิ่ ไปกวา่ นนั้ นกั ชวี สารสนเทศทม่ี หี นา้ ทใ่ี นการวเิ คราะห์ ข้อมูลรหัสพันธุกรรมในห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลต่างๆ ยังมีไม่มากนัก ทีมนักวิจัยจึงได้พัฒนา เวบ็ แอปพลเิ คชนั ส�ำ หรบั โรงพยาบาลเขา้ มาเปน็ ตวั ชว่ ยส�ำ คญั ทางการรกั ษาและควบคมุ การระบาดอยา่ งทนั การณ์ โดยเมื่อพบผู้ติดเช้ือจะสามารถวิเคราะห์รหัสพันธุกรรมของทั้งจีโนม (Whole genome sequencing) และตดิ ตามการแพรร่ ะบาดอยา่ งแมน่ ย�ำ ภายใน 1 วนั จากการวจิ ยั ครงั้ นไ้ี ดม้ กี ารทดลองใชจ้ รงิ และไดร้ บั การ ตีพิมพผ์ ลงานในวารสารวิชาการ Frontiers in Medicine ซง่ึ อยู่ใน Q1 (ISI) with impact factor 5.0910 ซงึ่ ถอื วา่ มคี วามนา่ เชอ่ื ถอื และเป็นที่ยอมรับในระดบั สากล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่พร้อมสนับสนุนและมุ่งพัฒนาผลงานวิจัยเพ่ือออกรับใช้สังคม ซึ่งจากงาน วจิ ัยครัง้ นีถ้ อื เป็นนวตั กรรมทก่ี า้ วหนา้ และมปี ระสทิ ธภิ าพ เอือ้ ตอ่ การรกั ษาและยบั ยั้งการแพร่เชื้อโควดิ -19 ได้อย่างทันท่วงที สามารถช่วยเหลือคนได้อีกเป็นจำ�นวนมาก อีกท้ังยังเป็นการนำ�ศักยภาพด้านการวิจัย พัฒนาของคณาจารย์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ให้เป็นที่รู้จักและเผยแพร่ในระดับนานาชาติ เพื่อเป็นเครื่อง การันตีในการต่อยอดเพ่ือขยายผลสู่การใช้ประโยชน์ได้จริง ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ซ่ึงจะทำ�ใหป้ ระชาชนเกิดความม่ันใจ ประเทศเกิดความม่ันคงในระบบสาธารณสขุ อีกดว้ ย
ขา่ วรอบสัปดาห์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ ฉบบั ที่ 19 ปีที่ 17 วันท่ี 9 - 15 พฤษภาคม 2565 เขตรว้ั มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ สมาคมนกั ศึกษาเกา่ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ น�ำ โดย นางนฤมล พลู เพียร นายกสมาคมนักศึกษาเก่า อาจารย์ ดร.ไพรชั พบิ ลู ยร์ งุ่ โรจน์ รองคณบดฝี า่ ยวเิ ทศสมั พนั ธ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหมพ่ รอ้ มดว้ ยคณะกรรมการสมาคม จดั พธิ ที อดผา้ ปา่ สามคั คเี พอื่ ทนุ การศกึ ษาแกน่ กั ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่พรอ้ มดว้ ยอาจารย์ดร.ชนามาศอนิ ตะ๊ ปนั หวั หนา้ งานบรหิ ารงานวจิ ยั มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ประจำ�ปี 2565 โดยมศี าสตราจารย์คลินิก นายแพทย์นิเวศน์ นนั ทจติ อธิการบดี บรกิ ารวชิ าการและวเิ ทศสมั พนั ธ์ และบคุ ลากรคณะเศรษฐศาสตร์ รว่ มใหก้ ารตอ้ นรบั มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ เปน็ ประธานฝา่ ยฆราวาส พร้อมดว้ ยผู้บรหิ าร คณาจารย์ เจ้าหน้าท่ี คณะกรรมการ Prof. Vasco Fitas da Cruzผปู้ ระสานโครงการErasmus+ICMจากUniversityofEvora สมาคม และนักศึกษาเก่ามหาวิทยาลัยเชยี งใหมร่ ว่ มงาน เม่อื วนั ท่ี 30 เมษายน 2565 ท่ีผ่านมา ณ ศาลาธรรม ประเทศโปรตเุ กส และ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จกั รเมธ บตุ รกระจา่ ง ผชู้ ว่ ยหวั หนา้ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ภาควชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอรฝ์ า่ ยวจิ ยั และวเิ ทศสมั พนั ธ์ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ เขา้ รว่ มหารอื ความรว่ มมอื ดา้ นวชิ าการและการแลกเปลยี่ นภายใตโ้ ครงการ Erasmus+ ICM ณ ห้องประชุม ECB2602 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชยี งใหม่ เมอื่ วนั ที่ 7 เมษายน 2565 นักศกึ ษาศึกษาศาสตร์ มช. ได้รบั รางวัลชนะเลศิ โครงการประกวดความเปน็ เลิศ ฯ (ต่อจากหน้า 1) ศาสตราจารย์ ทันตแพทย์พีรนิธ กนั ตะบุตร อาจารย์สาขาทนั ตกรรม สำ�หรับเด็ก และผู้อำ�นวยการศูนย์ความเป็นเลิศเพื่องานวิจัยทางเวชพันธุศาสตร์ ทมี นกั ศกึ ษาทเ่ี ขา้ แขง่ ขนั ประกอบดว้ ย นายณฐั พล ค�ำ วงั นายจกั รณรงค์ อนิ พหล สาขาวชิ าภาษาไทย (Center of Excellence in Medical Genetic Research) คณะทนั ตแพทยศาสตร์ ช้ันปที ี่ 5 และ นายไกรวิชญ์ จิตต์จักร สาขาวิชาประถมศึกษา ช้นั ปีที่ 5 มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ได้รับเชิญใหเ้ ป็น Visiting Professor ท่ี Harvard School ทมี อาจารยผ์ ปู้ ระสานงานและน�ำ นกั ศกึ ษาแขง่ ขนั ประกอบดว้ ย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สนุ ยี ์ เงนิ ยวง of Dental Medicine โดย บรรยายในหัวข้อเร่อื ง “What is learned from ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สิระ สมนาม อาจารยช์ ยั ณรงค์ จารพุ งศพ์ ัฒนะ อาจารย์ ดร.วชิ ญา ผิวค�ำ Craniofacial Development and Genetic Disorders” ใหแ้ กน่ กั ศกึ ษาระดบั ทมี อาจารยผ์ คู้ วบคมุ การฝกึ ซอ้ ม ประกอบดว้ ย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สนุ ยี ์ เงนิ ยวง อาจารย์ ดร.นฐั จริ า บณั ฑิตศึกษาขัน้ สงู (AGE Program) ณ Harvard School of Dental Medicine, บศุ ยด์ ี ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ กนกวรรณ องั กสทิ ธ ิ์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สริ ะ สมนาม อาจารย์ ดร.ประไพลนิ Boston, Massachusetts ประเทศสหรฐั อเมรกิ า เมอื่ วนั ท่ี 4 เมษายน 2565 และ จันทน์หอมอาจารย์ ดร.วิชญา ผิวคำ� อาจารย์ ดร.ภักดีกุล รัตนา อาจารย์ ชัยณรงค์ จารุพงศ์พัฒนะ บรรยายในหัวข้อ “Tooth and Gum in Medical Genetics” ให้ อาจารย์ อาจารย์ ดร.พมิ พพ์ ธู สุตานันต์ ดร.สุระศักด์ิ เมาเทอื ก และ Fellow สาขา Medical Genetic ท่ี Harvard Medical School ในวันท่ี 6 ซึ่งความสำ�เร็จนี้เป็นผลมาจากความมานะอุตสาหะในการเพียรฝึกซ้อม และความใฝ่รู้เสมือนน้ำ� เมษายน 2565 ได้มกี ารเจรจาเพื่อเริ่ม Genetic Research Collaboration กบั ไม่เตม็ แกว้ ในการลงพน้ื ทีจ่ รงิ เพอ่ื เก็บข้อมูลแล้วน�ำ มาปรบั ใช้ในการแข่งขัน Prof. Yingzi Yang ซง่ึ เปน็ Associate dean for Research กบั Prof. William Giannobile ซ่ึงเป็นคณบดี Harvard School of Dental Medicine “เลา่ สู่กันฟังกบั มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม”่ งานบรหิ ารงานวจิ ยั บรกิ ารวชิ าการและวเิ ทศสมั พนั ธ์ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ จดั โครงการพฒั นาการเขยี นบทความทางวชิ าการเพอ่ื การตพี มิ พ์ ทกุ วนั อาทิตย์ เวลา 08.10 – 08.30 น. ทางสถานีวิทยุเสียงสือ่ สารมวลชน FM100 คณะการส่อื สารมวลชน มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ ในวารสารวชิ าการระดบั นานาชาติ รนุ่ ท่ี 1 โดยไดร้ บั เกยี รตจิ าก ศาสตราจารย์ ดร.ธรณนิ ทร์ ไชยเรอื งศรีคณบดคี ณะวทิ ยาศาสตร์เปน็ ประธานเปดิ โครงการและรองศาสตราจารย์ดร.วสุ • วนั อาทิตย์ ที่ 8 พฤษภาคม 2565 • ปฐมอารยี ์ บรรณาธกิ ารวารสาร Chiang Mai Journal of Science ใหเ้ กยี รตเิ ปน็ วทิ ยากร ในการบรรยาย หวั ขอ้ \"โลกของวารสารและการตพี มิ พ\"์ ณ หอ้ งสมั มนา ชน้ั 2 อาคาร 40 ปี Healthy CMU ปี 2 เปดิ ตัวโครงการมหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ คณะวิทยาศาสตร์ และถา่ ยทอดผ่านระบบออนไลน์ เมอื่ วนั ที่ 18 เมษายน 2565 ตน้ แบบมหาวทิ ยาลัยสุขภาพอย่างอัจฉรยิ ะและยง่ั ยนื โดยการจดั โครงการในครงั้ นี้ มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื สง่ เสรมิ ใหค้ ณาจารยค์ ณะวทิ ยาศาสตร์ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั เทคนคิ วธิ กี ารสบื คน้ วารสาร ไดท้ ราบถงึ แนวทางการประเมนิ (Smart & Sustainable Healthy Chiang Mai University Model) คณุ ภาพของวารสาร และการพจิ ารณาคดั เลอื กวารสารระดบั นานาชาติ อกี ทง้ั ยงั ไดพ้ ฒั นา วันท่ี 20 พ.ค. 2565 น้ี ณ สำ�นกั บรกิ ารวิชาการ มช. ทกั ษะ และเทคนคิ การเขยี นผลงานเพอื่ ตพี มิ พใ์ นวารสารระดบั นานาชาติ ซง่ึ จะชว่ ยเพมิ่ ศกั ยภาพใหแ้ กค่ ณาจารยแ์ ละนกั วจิ ยั ในการพฒั นางานวจิ ยั ของตนใหก้ า้ วสรู่ ะดบั ทส่ี งู ขนึ้ อนั จะเปน็ ประโยชนต์ ่อองคก์ ร และประเทศชาตติ อ่ ไป รองศาสตราจารย์ ดร.วณชิ า พึ่งชมภู ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จักรพนั ธ์ จลุ ศรีไกวลั หวั หน้าศูนยน์ วตั กรรม หัวหน้าโครงการ Healthy CMU สมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พร้อมด้วย น.ส.วรรณนรี หวั หน้าศูนย์พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา เจริญทรัพย์ และว่าท่รี ้อยตรีสัมพันธ์ วงคเ์ ทพ ให้การต้อนรับคณะทมี งานดูแล และเทคโนโลยี คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ และนกั เรยี นโรงเรียนพฒั นาปญั ญาไท จ�ำ นวน 24 คน ในโอกาสเขา้ เยยี่ มชมสวน ผลติ รายการโดย ศนู ยส์ ื่อสารองค์กรและนักศึกษาเกา่ สัมพนั ธ์ ส�ำ นักงานมหาวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั เชียงใหม่ สมุนไพรและพิพิธภัณฑ์สมุนไพร ณ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เม่อื วันท่ี 18 เมษายน 2565 3www.cmu.ac.th
ข่าวรอบสปั ดาห์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฉบบั ท่ี 19 ปีที่ 17 วันที่ 9 - 15 พฤษภาคม 2565 อาจารย์สำ�นักวชิ าการวจิ ัยวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ ไดร้ ับทุน Erasmus program คณาจารย์คณะเกษตรศาสตร์ ไดร้ บั การ Citation ผลงานทางวิชาการ อาจารย์ ดร.กนกวรรณ กุลประชากานต์ อาจารย์ ประจำ�สำ�นักวิชาการวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ สถาบันวิจัย TOP 10 ของประเทศ วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับทุน ในสาขา Agriculture and Forestry International Credit Mobility Staff for Teaching สำ�หรับอาจารย์ ภายใต้แหล่งทุน Erasmus program เพ่ือทำ�การสอนให้กับนักเรียน นักศึกษาในประเทศยุโรป ณ University of Evora ประเทศโปรตเุ กส จ�ำ นวน 10 วัน ระหวา่ งวนั ท่ี 1-10 มถิ นุ ายน 2565 นกั ศกึ ษาพยาบาล มช. รับรางวลั ผลงานนวตั กรรมทางการพยาบาล คณาจารยค์ ณะเกษตรศาสตร์ ไดร้ ับการ Citation ผลงานทางวชิ าการ TOP 10 นกั ศกึ ษาพยาบาล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ไดร้ บั รางวลั ระดับดีเย่ยี มและดมี าก ของประเทศ ในสาขา Agriculture and Forestry จ�ำ นวน 3 ท่าน ดงั น้ี ประเภทผลงานนวัตกรรมทางการพยาบาล จากการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง CMU TOP 10 Researchers by subject 2022 จากฐานข้อมูล SCIVAL year การคดิ อยา่ งมเี หตผุ ลเชงิ คลนิ กิ ทางการพยาบาลและการประกวดนวตั กรรมการพยาบาล range 2015 to 2019 คร้งั ท่ี 1 (The 1st National Clinical Reasoning in Nursing Forum and Nursing TOP 6 รองศาสตราจารย์ ดร.Hien Van Doan Innovation 2022) จดั โดย ส�ำ นกั วชิ าพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั วลยั ลกั ษณ์ เมอ่ื วนั ท่ี TOP 7 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รชั ดาวรรณ ชีวงั กรู 31 มนี าคม 2565 ผา่ นทาง Facebook Live และ Zoom Meeting TOP 10 รองศาสตราจารย์ ดร.ชนากานต์ เทโบลต์ พรมอทุ ัย นางสาวดารณี วรรณเวก นางสาวปนัสยา ลิ้มสิริ และ นางสาวพิชชากร วีระศรีนารา นักศึกษาพยาบาลช้ันปีท่ี 4 หลักสูตรนานาชาติ คณะพยาบาลศาสตร์ นกั ศกึ ษาสาขาวชิ าเคมี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ไดร้ บั รางวลั ระดบั ดมี าก ประเภทผลงานนวตั กรรมทางการพยาบาล ไดร้ ับรางวัล บทความวจิ ัยดเี ดน่ และ จากการน�ำ เสนอผลงาน เรอ่ื ง \"นวัตกรรมเครอ่ื งนวดกดปบุ๊ คลายปับ๊ \" การน�ำ เสนอวจิ ยั ดีเด่น นางสาวปลายฟา้ พืน้ ม่วง นางสาวพชั ราภรณ์ มแี จ้ และ นางสาวอรกญั ญา จากการประชมุ วชิ าการ INTEC2022 ทนนั ชยั ชมุ ภู นกั ศกึ ษาพยาบาลชน้ั ปที ี่ 4 หลกั สตู รปกติ ไดร้ บั รางวลั ระดบั ดเี ยย่ี ม ประเภท ผลงานนวตั กรรมทางการพยาบาล จากการน�ำ เสนอผลงาน เรอื่ ง \"Nifty Heady Band\" นางสาวณฐั รกิ า คำ�เขยี ว นักศกึ ษาชนั้ ปีที่ 5สาขาวิชาเคมี ภาควิชาหลกั สูตร นกั ศกึ ษาคณะวทิ ย์ มช. พรอ้ มเพื่อนร่วมทีม การสอนและการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รับรางวัล \"บทความวจิ ยั ดเี ดน่ และการน�ำ เสนอวจิ ยั ดเี ดน่ \" จาก การประชมุ วชิ าการระดบั นานาชาติ ควา้ รางวัลชนะเลศิ พัฒนาศักยภาพทางดา้ นปัญญาประดษิ ฐ์ และระดับชาติ: \"Teacher Education in The Next Normal\" (INTEC 2022) จัดโดย ท่ีประชุมคณบดีคณะครศุ าสตร/์ ศกึ ษาศาสตรแ์ ห่งประเทศไทย (ทปคศ.) นกั ศกึ ษาภาควชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ นอกจากนี้ยังมนี ักศกึ ษาสาขาวชิ าเคมี ชั้นปีท่ี 5 จ�ำ นวน 3 คน เข้ารว่ มน�ำ เสนอ คณะวิทย์ มช. พร้อมเพ่ือนร่วมทีม คว้ารางวัล งานวิจัยและได้รับการตีพิมพ์ผลงานวิจัยในรูปแบบ Proceedings อีกด้วย ได้เแก่ ชนะเลิศ พร้อมทุนการศึกษา 5 หม่ืนบาท เพื่อ นายณัฐดนยั ค�ำ อา้ ยอาจ นางสาวพชั รญิ า ปลูกปัญญาและ นางสาวนาฏยา ชติ เพิม่ พัฒนาเทคโนโลยีทางด้านปัญญาประดิษฐ์ฯ โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุษรี เพ่งเล็งดี เป็นอาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย จากโครงการพัฒนาศักยภาพทางด้านปัญญา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุทธิดา จำ�รัส อาจารย์ ดร.วชิรศรณ์ แสงสุวรรณ และ ประดษิ ฐ์ (Artificial Intelligence) ผา่ นเครอื ขา่ ย ครูพี่เล้ียงเป็นผู้เชี่ยวชาญตรวจเครื่องมือ ดร.สุระศักด์ิ เมาเทือก ผู้ให้คำ�แนะนำ� สารสนเทศ ส�ำ หรบั อตุ สาหกรรมไทย ระหวา่ งวนั ท่ี ในการนำ�เสนองานวิจยั 8-11 เมษายน 2565 ทีก่ รงุ เทพฯ สมาชกิ ทีมประกอบด้วย นายธเนศ สงิ หล์ อ : ภาควชิ าวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ นายธวัชชยั จนั ทะบุตร : ภาควชิ าพชื ศาสตรแ์ ละปฐพศี าสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ นายพทั ธนนั ท์ นริ กุ ตศิ านต์ิ : สาขาวชิ าเทคโนโลยผี ลติ ภณั ฑท์ างทะเล คณะอตุ สาหกรรมเกษตร โดยมอี าจารย์ ดร.ปราการ อุณจกั ร เป็นอาจารยท์ ีป่ รกึ ษาของทีม โดยโครงการนเี้ ปดิ โอกาสใหน้ กั ศกึ ษาไดส้ ง่ เสรมิ และพฒั นาศกั ยภาพดา้ นปญั ญา ประดิษฐ์ ซึ่งจะนำ�ไปสู่การยกระดับความรู้ความสามารถทางด้านปัญญาประดิษฐ์ ให้ทดั เทยี มระดับสากล โดยเน้นกระบวนการท�ำ งานและอบรมอยา่ งมอื อาชีพทุกขน้ั ตอน ต้งั แต่รอบทห่ี น่งึ จนถึงรอบชิงชนะเลิศ CR.photos https://www.facebook.com/ai.development.th/ ข่าวรอบสัปดาห์ ที่ปรึกษา : ศาสตราจารย์คลินกิ นายแพทยน์ เิ วศน์ นนั ทจติ อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บรรณาธิการบริหาร : รองศาสตราจารยโ์ รม จิรานกุ รม รองอธกิ ารบดี CHIANG MAI UNIVERSITY WEEKLY NEWS บรรณาธิการ : ผชู้ ่วยศาสตราจารยอ์ าคม ตนั ตระกลู กองบรรณาธกิ าร : ม.ล.กตั ตกิ า เกษมสนั ต์ ละอองศรี นายอนญุ าชยั ตนั ตเิ สนยี พ์ งศ์ นางสาวศุภวรรณ ข�ำ เจริญ นางสาวอรรัตน์ สว่างแสง https://ccarc.cmu.ac.th นางสาวเมธาพร เฉลิมเขตต์ นางสาวจันทรจ์ ิรา วรรณฤทธิ์ นางสายฝน จตั ุรัตน์ นางวรศิ รา มาละแซม ฝา่ ยภาพ : วา่ ท่ี ร.ต.มงคล ลายค�ำ นายกนั ตคณุ วงศ์อาษา ฝ่ายศิลปกรรม : นายพเิ ศษ ขนั ตพิ งษ์ ฝ่ายเผยแพร่ : นางสาวคำ�แสน อินตะ๊ นิล 4 cmuส่งข้อมูลเพื่อการประชาสัมพันธ์ได้ที่ ศูนย์สื่อสารองค์กรและนักศึกษาเก่าสัมพันธ์ สำ�นักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พมิ พท์ ่ี : หจก.นนั ทกานต์ กราฟฟิค การพมิ พ์ www.nantakarngraphic.com โทร. 0-5394-4444 โทรสาร 0-5394-4900 E-mail : [email protected] www. .ac.th
Search
Read the Text Version
- 1 - 4
Pages: