Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ์ีืีDrug use in nervous system

์ีืีDrug use in nervous system

Published by numphom2518, 2021-01-13 06:54:13

Description: เภสัชวิทยาสำหรับพยาบาล ยาในระบบประสาท

Search

Read the Text Version

เภสัชวทิ ยาสาหรับพยาบาล ยาในระบบประสาท ภาศนิ ี สขุ สถาพรเลศิ

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. สามารถบอกได้ว่ายาในระบบประสาท มยี าอะไรบ้าง 2. สามารถบอกกลไกการทางานของยาในระบบประสาทได้ 3. สามารถอธบิ ายเก่ียวกบั ภาวะแทรกซ้อนและการให้การพยาบาลในยาระบบ ประสาทได้

ระบบประสาทสว่ นกลาง





ไขสนั หลัง (SPINAL CORD) • (1) ไขสนั หลัง (spinal Cord) ไขสันหลังประกอบดว้ ยนิวโรนท่ตี ดิ ต่อเชือ่ มโยงกับรีเซ็ปเตอร์ เพ่ือนาเอา ข่าวสารเข้ามาในไขสนั หลงั เรยี กวา่ นิวโรนนาเขา้ (Afferent Neurons) นิวโรนทตี่ ิดต่อเชอ่ื มโยงกบั อิฟเฟค เตอร์ เพ่อื ส่งขา่ วสารจากไขสนั หลังไปสู่กลา้ มเนื้อและต่อม เรียกว่า นิวโรนสง่ ออก (Efferent Neurons) และ นิวโรนที่เชอื่ มโยงระหว่างนวิ โรนนาเขา้ กับนิวโรนสง่ ออก ทาหนา้ ทีต่ ิดตอ่ ระหวา่ งนวิ โรนทั้งสองชนดิ น้ีและยังทา หน้าท่ีส่งขา่ วสารเข้าสู่ และออกจากสมองอีกด้วย นิวโรนชนดิ นี้เรียกวา่ นิวโรนตวั เช่ือม (Connector Neurons)

ไขสันหลัง (SPINAL CORD) ไขสนั หลงั มหี น้าท่ีอยู่สองประการคือ (1) เปน็ ระบบสง่ กระแสประสาทไปสูส่ มองเพื่อตีความและสัง่ การ และในขณะเดียวกนั กร็ บั กระแสประสาทจาก สมองซ่งึ เปน็ คาสงั่ การไป สู่อิฟเฟคเตอร์ และ (2) เป็นตัวเชอื่ มโยงรเี ซป็ เตอรก์ บั อฟิ เฟคเตอร์โดยตรง การเชอ่ื มโยงโดยตรงน้ี ทาใหค้ นและสัตวส์ ามารถมกี ริ ยิ า ตอบสนองต่อสง่ิ เร้าได้รวดเรว็ ฉับพลัน เชน่ การกระตุกของกล้ามเนอ้ื เม่ือถูกเขม็ แทง การกระตุกของกล้ามเน้ือ หนา้ ขาเมอ่ื ถกู เคาะทห่ี วั เขา่ กริ ยิ าตอบสนองแบบนเี้ รยี กวา่ กริ ยิ าสะท้อน (Reflex Action)

สมอง (THE BRAIN (2) สมอง (The Brain) สมองเปน็ ศนู ยก์ ลางควบคุมพฤตกิ รรมการรู้สึก การรับรู้ การจา การคิด และการตัดสินใจ ซึง่ เป็นพฤติกรรมภายใน และควบคุมการทางานของระบบอ่นื ๆ ในร่างกายเพ่ือให้ทางานอย่างมรี ะเบยี บสอดคล้องกนั เราอาจแบ่งสมองออกเป็นสามสว่ นคอื ก. สมองส่วนหลัง (Hindbrain) ข. สมองสว่ นกลาง (Midbrain) สมองสว่ นกลางเป็นทางผา่ นของเสน้ ประสาททจ่ี ะไปสสู่ มองส่วนหนา้ และทาหนา้ ที่ควบคมุ การกลอกกลงิ้ ของ ลกู นยั น์ตา เพอื่ ตดิ ตามวัตถทุ ่เี คลอ่ื นท่ี นอกจากน้ียังควบคมุ กริ ยิ าสะท้อนเกี่ยวกบั การเหน็ การไดย้ ิน และการสัมผัสด้วย ค. สมองสว่ นหน้า (Forebrain) สมองส่วนหน้าเปน็ สว่ นควบคุมท่ีทาหนา้ ท่สี ูงสุด อาจแบง่ ออกเปน็ สามสว่ นใหญ่ๆ คือ ทาลามัส ระบบลิมบิค และเซรบี รัม

สมองส่วนหลงั (HINDBRAIN) ก. สมองสว่ นหลงั (Hindbrain) สมองสว่ นหลงั เป็นส่วนที่อยู่ตดิ กบั ปลายบนของไขสนั หลงั ประกอบด้วย เมดัลลา เซรีเบลลมั และพอนส์ ก1. เมดลั ลา (Medulla) เปน็ สว่ นทตี่ อ่ จากไขสนั หลงั เปน็ สว่ นทเ่ี สน้ ประสาทจากไขสนั หลงั ตอ้ งผ่านเพ่อื ไปสู่ ส่วนอนื่ ๆ ของสมองและเป็นทีท่ ี่เสน้ ประสาทจากซีกซา้ ยของไขสนั หลงั ไขวม้ าทางซีกขวาของสมองและซีกขวาไขว้ไป ซีกซ้าย นอกจากเปน็ ทางผ่านของเสน้ ประสาทแล้ว เมดัลลา ยังประกอบดว้ ยนิวโรนทีท่ าหน้าทคี่ วบคมุ การหายใจ การกลนื อาหาร การยอ่ ยอาหาร และการเต้นของหวั ใจ

สมองสว่ นหลงั (HINDBRAIN) ก.2. เซรเี บลลัม (cerebellum) มชี อ่ื เรยี กอกี อย่างวา่ สมองน้อย เป็นส่วนที่อยดู่ ้านหลงั ของเมดัลลา มี รปู รา่ งคล้ายผมมวยตงั้ อยู่ระดับท้ายทอยพอดี เซรีเบลลัมแบ่งออกเป็นสองซกี ใหญๆ่ คือซีกซ้ายและซกี ขวา มหี นา้ ทีค่ วบคุมการทรงตัว และการประสานงานของกล้ามเน้อื เพอ่ื ใหก้ ารเคลอ่ื นท่ขี องร่างกาย หรือส่วนใดส่วนหนง่ึ ของร่างกายเป็นไปอยา่ งราบเรยี บ ไม่ตะกุกตะกกั หากเซรเี บลลมั สว่ นใดสว่ นหนึ่งถกู ทาลาย การประสานงานของกลา้ มเนอ้ื ตา่ งๆ จะเกิดปญั หา แม้การกระทาง่ายๆ เชน่ เอาน้วิ ชม้ี อื ขวาแคะ ที่ปลายจมูก ก็จะกระทาไดย้ าก

สมองส่วนหลัง (HINDBRAIN) ก 3.พอนส์ (pons) เปน็ สว่ นหนึง่ ท่ีอยถู่ ดั จากเมดัลลาข้ึนไปขา้ งบน เปน็ ทางผ่าน ของเสน้ ประสาทจากไขสันหลงั ทจ่ี ะไปสู่ส่วนอน่ื ๆ ของสมอง และเปน็ ทีเ่ ชอ่ื มโยง ระหว่างเซรเี บลลมั ซกี ซ้ายและซกี ขวา

สมองส่วนกลาง (MIDBRAIN) สมองสว่ นกลาง (Midbrain) สมองส่วนกลางเปน็ ทางผ่านของเสน้ ประสาทที่จะ ไปสสู่ มองส่วนหนา้ และทาหนา้ ทค่ี วบคุมการกลอกกลิง้ ของลกู นัยน์ตา เพือ่ ตดิ ตามวตั ถทุ เ่ี คลอ่ื นท่ี นอกจากนย้ี ังควบคมุ กิรยิ าสะทอ้ นเก่ียวกบั การเห็น การได้ ยิน และการสมั ผัสด้วย

ทาลามสั (THALAMUS) ทาลามัส (Thalamus) ต้งั อยบู่ นสมองส่วนกลาง เป็นสถานถี ่ายทอดกระแสประสาทท่ีสาคัญ กระแสประสาทจากรี เซ็ปเตอร์ ไขสนั หลัง สมองส่วนหลัง และสมองส่วนกลาง จะมารวมกนั ท่ีศูนย์กลางต่างๆ ในทาลามัส เพือ่ สง่ ตอ่ ไปยัง สว่ นตา่ งๆ ของเซรบี รัม ทาลามสั เป็นระบบจ่ายกระแสประสาททีม่ าจากตาจะถกู สง่ ไปยงั สว่ นของเซรีบรมั ทที่ าหน้าที่ ร้สู กึ เหน็ กระแสประสาททมี่ าจากหูจะถกู สง่ ไปยังส่วนท่ที าหนา้ ทก่ี ารได้ยนิ กระแสประสาททีม่ าจากรีเซป็ เตอร์อนื่ ๆ ก็ จะถูกสง่ ไปยังสว่ นท่ีทาหนา้ ทรี่ บั กระแสประสาทนั้นๆ เพ่ือตีความและสง่ั การตอ่ ไป

• ระบบลมิ บคิ (Limbic System) ประกอบดว้ ยศนู ยป์ ระสาทท่กี ระจดั กระจาย อยรู่ อบๆ ทาลามัส ทางานเป็นระบบทีซ่ ับซ้อน ศูนย์ประสาทในระบบลิมบิค ควบคมุ พฤติกรรมอัตบาล เช่น การทางานของหัวใจ การย่อยอาหาร และ ควบคุมระบบอุณหภมู ิของรา่ งกาย อารมณ์ แรงจูงใจ ตลอดจนการจา จะขอ อธิบายสว่ นท่สี าคัญๆ ของระบบลิมบิคดังน้ี • ไอโปทาลามัส (Hypothalamus) • บรเิ วณเซป็ ตลั (septal Area)

-ไอโปทาลามัส (HYPOTHALAMUS) • ไอโปทาลามัส (Hypothalamus) มีขนาดประมาณเมด็ ถั่วลสิ ง อยูข่ า้ งใต้ทาลามัส ทาหนา้ ทีค่ วบคุมความหิว ความ กระหายนา้ ความกา้ วร้าว ความรู้สึกทางเพศ ความรสู้ กึ วา่ “มีความสขุ ” ปริมาณน้าตาลในโลหิต วฏั จกั รการหลบั และ การตนื่ ของคน ตลอดจนควบคมุ ใหร้ ่างกายมีอุณหภมู อิ ยใู่ นระดบั ปกติ เช่น เมื่ออุณหภูมขิ องรา่ งกายลดต่าลง ศนู ย์ ควบคุมอณุ หภมู ใิ นไฮโปทาลามัสก็จะทางานเพื่อยังผลให้ร่างกายสนั่ อันเป็นการออกกาลงั ท่จี ะทาให้อณุ หภมู สิ งู ข้ึน ในทางตรงกนั ขา้ ม หากอณุ หภูมขิ องร่างกายสูงข้ึนกวา่ ปกติ ศูนย์ควบคุมอณุ หภูมินก็จะทาให้เหงื่อออกเพ่อื ลดอณุ หภูมิ กระบวนการปรับอุณหภมู ใิ หก้ ลับอยใู่ นระดบั ปกติทกุ ครงั้ ท่ีอุณหภูมขิ องร่างกายเพม่ิ มากข้ึนหรอื ลดน้อยลงนี้ เรยี กวา่ โฮเมโอสเตซสิ (Homeostasis)

• บริเวณเซ็ปตลั (septal Area) ตัง้ อยู่ด้านหนา้ ของไฮโปทาลามัส แต่อยู่ในระดบั ที่สงู กว่าเลก็ น้อย บริเวณเซ็ปตัลมีใยประสาทเชอ่ื มโยงกบั ไฮโปทาลามัส การทาลายบรเิ วณ เซป็ ตัลจะทาใหส้ ตั วม์ ีความดุร้าย และกา้ วรา้ ว เปน็ ท่ีสันนิษฐานกนั ว่ากระแสประสาทท่ี สง่ จากสมองส่วนหน้าผ่านบริเวณเซ็ปตัลเขา้ ไปในไฮโปทาลามัส จะทาหนา้ ทีร่ ะงับ อารมณโ์ กรธ

สมองส่วนหน้า (FOREBRAIN) • สมองส่วนหนา้ (Forebrain) สมองสว่ นหนา้ เป็นส่วนควบคมุ ทท่ี าหน้าท่สี ูงสดุ อาจแบ่งออกเป็นสามส่วนใหญๆ่ คือ ทาลามัส ระบบลมิ บคิ และเซรบี รมั

เซรีบรัม (CEREBRUM) • เซรบี รมั (cerebrum) เป็นส่วนทอี่ ยสู่ ูงสดุ ของสมอง ครอบคลุมบรเิ วณสมองสว่ นกลาง และสมองส่วนหลงั เซรีบรัมแบง่ ออกเปน็ สองซีก คอื ซีกซา้ ยและซีกขวา โดยมเี ส้น แบง่ เป็นรอ่ งลกึ ยาวตั้งแต่บริเวณหน้าผากผ่านศีรษะไปจรดท้ายทอย เซรีบรมั ทงั้ สองซกี น้ี เชอ่ื มโยงสู่กนั ด้วย ใยประสาทมากมายผนกึ กนั คล้ายสะพาน





ยาระบบประสาท 1. ยากระตนุ้ ประสาทสว่ นใหญม่ กั แบง่ ตามตาแหนง่ การออกฤทธิ์ท่แี สดงผลให้เหน็ อย่างเด่นชัด ได้แก่ 1.ยากระตุ้นสมองส่วนซีรบี รัม (Cerebrum group) 2. ยากระตุน้ กา้ นสมอง (Brain stem group) 3. ยากระตนุ้ ไขสันหลัง (Spinal cord group) อย่างไรกต็ ามในขนาดสูงๆ ยาทงั้ 3 ประเภทมฤี ทธกิ์ ระตุ้นทั่วทั้งระบบประสาทส่วนกลาง สาหรับยาประเภทแรกได้มี การใชอ้ ย่างกวา้ งขวางและถกู นาไปใช้ในทางที่ผดิ โดยเฉพาะในหม่วู ัยรุ่นและผู้ท่ี ทางานตอนกลางคืน ส่วนยาสอง ประเภทหลังไม่นยิ มใช้เพราะทาใหเ้ กิดการชกั ไดง้ ่าย

ยากระตุ้นสมองส่ วนซีรีบรัม ยากระตนุ้ สมองส่วนซีรบี รัม ยาประเภทนีบ้ างทีเรียกวา่ ไซโคมอเตอร์ สติมูแลนท์ (Psychomotor stimulants) มีฤทธ์ิกระตุ้นสมอง ทาใหม้ ีอารมณ์เปน็ สขุ จติ ใจแจม่ ใส ไม่งว่ งนอน ร้สู กึ มกี าลังวังชา ถ้าใช้ขนาดสงู ๆ อาจคล้มุ คล่ัง ประสาท หลอน และชัก บางทกี ็ถงึ แกค่ วามตาย ยาประเภทนแ้ี บ่งออกเปน็ สองพวกใหญ่ๆ ได้แก่ พวก แอมเฟตา มีน (Amphetamines) และแซนธนี (Xanthines) ยาพวกแอมเฟตามีน (Amphetamines)

• ยาพวก แอมเฟตามีน (Amphetamines) ได้แก่ แอมเฟตามนี (Amphetamines) ชอื่ การค้าเชน่ เบนซดี รีน (Benzedrine) เด็กโตรแอมเฟตามนี (Dextroamphetamine) ช่อื การคา้ เช่น เด๊กซีดรนี (Dexedrine) และ เมธแอมเฟตามีน (Methamphetamines) ชอื่ การคา้ เช่น ดีซ็อกซีน (Desoxyn) เปน็ ตน้ เป็นยาทส่ี ังเคราะห์ขึ้น มชี อ่ื เรยี กตา่ งๆ กนั เชน่ ‘‘ยาขยัน” “ยาแก้งว่ ง” “ยาเพมิ่ พลงั และยาบารงุ กาลงั ” ฯลฯ

• สาหรับเด๊กโตรแอมเฟตามนี (Dextroamphetamine) มกั ถกู นาไปใช้เปน็ ยาลดความ อ้วน * *ยากลุม่ น้ีเมอื่ ใหท้ างปากจะซึมผา่ นกระเพาะและลาไสไ้ ดด้ ี ออกฤทธ์เิ ร็ว กระตุ้นสมอง ทาใหร้ ู้สกึ สบาย มอี ารมณเ์ ป็นสุข พูดมากขึ้น ทางานรวดเรว็ ไมง่ ่วงนอน ถ้าใชต้ ดิ ต่อกัน นานๆ จะทาให้รู้สกึ มนงง นอนไมห่ ลบั ร่างกายไมไ่ ดพ้ กั ผอ่ นเต็มท่ี ฯลฯ เมื่อยาหมดฤทธ์ิลง ร่างกายจะออ่ นเพลยี สมองมึนงง กลา้ มเน้อื ทางานผดิ ปกติ บงั คบั ตวั เองไมไ่ ด*้ *

ประโยชน์ทใี่ ช้ ยาประเภทแอมเฟตามนี (Amphetamines) มกั ใชร้ ักษา 1. ผู้ทป่ี ่วยดว้ ยพิษสุราเรอื้ รัง 2. ผทู้ ี่มอี าการซมึ เศรา้ เชน่ ผู้ทอ่ี ยูใ่ นวัยใกล้จะหมดประจาเดอื น ผูส้ งู อายทุ ่ขี าดคนเอาใจใส่ 3. โรคอ้วน โดยทาใหเ้ บ่ืออาหารแตถ่ ้าหยดุ ใชย้ าทาใหอ้ ยากกนิ อาหารอีก

ฤทธ์ิและอาการทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ ยาพวกน้ที าใหป้ ากแห้ง มือสัน่ วิตกกงั วล นอนไมห่ ลับ ถา้ ใช้ยาเกินขนาดจะทาใหค้ วามดนั เลือดสูง ไข้สูง คลุ้มคล่ัง ประสาทหลอน ชัก และอาจตายได้ แต่ถา้ ใช้ยาตดิ ตอ่ กันนานๆ จะทาให้สมองเส่อื ม ต่นื เต้น ตกใจง่าย นอนไม่หลับ น้าหนกั ลด ประสาทอ่อน เปน็ โรคจติ ประเภทหวาดระแวง (Paranoid psychosis) หรอื ท่ีเรียกวา่ แอมเฟตามีน ซัยโคสิส (Amphetamine psychosis) ซง่ึ ถ้าหยุดใช้ อาการ โรคจติ กจ็ ะหาย

• ยาพวกแอมเฟตามนี (Amphetamine) มกั ถูกใชใ้ นทางท่ผี ิดเพราะมันทาให้มี อารมณ์เป็นสขุ (Euphoria) การใชย้ าเหลา่ นบ้ี ่อยๆ จะทาให้เกิด การทนตอ่ ยา (Tolerance) และเกดิ การตดิ ยาทางจิตใจ (Psychological dependence) ซึ่งถา้ หยดุ ใชย้ าจะรู้สกึ หงุดหงิด หดหู่ เศร้าหมอง ฯลฯ แตไ่ มท่ าใหก้ ารทางาน ของอวยั วะเปลี่ยนแปลง หรืออาจจะกลา่ ววา่ ไมม่ ีการตดิ ยาทางร่างกาย

ข้อควรระวงั ยาพวกแอมเฟตามีน (Amphetamines) ไมค่ วรใชใ้ นบคุ คลตอ่ ไปน้ี 1. ผูท้ ่เี ปน็ โรคความดนั เลอื ดสงู หรอื โรคเกยี่ วกบั หัวใจอ่ืนๆ 2. ผู้ท่ีต่อมธยั รอยด์ทางานมากกว่าปกติ (Hy¬perthyroidism) 3. ผูท้ คี่ ล้มุ คลงั่ (Mania) 4. ผทู้ ี่ไดร้ บั ยากระตนุ้ ระบบประสาท ซมิ พาเธติค (Sympathetics) หรอื ยาประเภทเอ็มเอโอไอ (Monoamine Oxidase Inhibitors)

ยาพวกแซนธีน (XANTHINES) ได้แก่ • คาฟเฟอนี (Caffeine) ธโี อฟลิ ลนี (Theophylline) และ อะมโิ นฟิลลนี (Aminophylline) ฯลฯ เป็นยาทีม่ ฤี ทธ์ติ ่อระบบต่างๆ ในรา่ งกายคลา้ ยๆ กนั แต่ความแรงในการออกฤทธติ์ า่ งกนั 1. ระบบประสาทสว่ นกลาง ยาพวกแซนธนี มีฤทธ์กิ ระตนุ้ ให้สมองตน่ื ตัวทางานคล่องแคลว่ ฯลฯ ในขนาดยาสูงๆ จะ กระต้นุ ศูนย์ต่างๆ ในสมอง เชน่ ศนู ย์ควบคมุ การหายใจ ทาใหห้ ายใจลกึ และเร็ว ศูนยค์ วบคมุ การเตน้ ของหัวใจทาให้ หัวใจเต้นชา้ ศนู ยค์ วบคมุ หลอดเลอื ด ทาใหห้ ลอดเลอื ดหดตวั เป็นต้น ถ้าขนาดของยาสูงมากๆ จะทาให้มอื สัน่ ต่ืนเต้น จนอาจถงึ กับชัก

2. ระบบไหลเวยี นเลอื ด ทาให้หวั ใจเตน้ แรงและเร็ว หลอดโลหติ ขยาย 3. ระบบขบั ถ่าย เพ่มิ การขับปัสสาวะ 4. ระบบยอ่ ยอาหาร เพิม่ การหล่งั นา้ ย่อยทั้ง Pepsin และกรดเกลอื จงึ ไมค่ วรใช้ในผ้ทู ่ีกระเพาะหรือลาไส้ อกั เสบ นอกจากน้ยี ังทาให้กลา้ มเน้ือเรียบคลายตัว ยาพวกนี้ถูกดดู ซมึ ได้ดีจงึ อาจให้ทางปากหรือโดยการฉดี ยา จะกระจายท่วั ร่างกายและถูกขับออกทางปสั สาวะในรปู ทเ่ี ปล่ยี นแปลงแล้ว

ประโยชน์ทใี่ ช้ 1. ใช้กระต้นุ สมอง ซ่งึ ส่วนใหญ่มักอยู่ในรปู ของเครอ่ื งดม่ื 2. ใช้รกั ษาโรคหืด ยาทน่ี ิยมใชไ้ ดแ้ กอ่ ะมิโนฟิลลนี (Aminophylline) 3. ใช้รกั ษาโรคปอดบวมอยา่ งเฉียบพลนั โดยฉดี อะมิโนฟิลลีน (Aminophylline) เขา้ หลอดเลอื ดดา

ฤทธ์ิและอาการทไี่ ม่พงึ ประสงค์ ฤทธแ์ิ ละอาการทไี่ มพ่ งึ ประสงค์ ยาพวกแซนธนี (Xanthines) ทาให้คล่นื ไส้ อาเจียน ปวดศรี ษะ ความดันเลอื ดลดลง หวั ใจเตน้ ผดิ ปกติ ฯลฯ การใหย้ าพวกนีแ้ กเ่ ดก็ ต้องระวงั ขนาดของยาเพราะถา้ ใหข้ นาดสูงๆ อาจทาใหเ้ ด็กชกั และตายได้

2. ยากระตุ้นก้านสมอง ยากระตนุ้ กา้ นสมอง เช่น ปโิ ครทอ๊ กซนิ (Picrotoxin) เพน็ ตลิ ีนเตตราซอล ( Pentylenetetrazol ) ชื่อ การคา้ เช่น เมตราซอล (Metrazol) และ นเิ คธาไมด์ (Nikethamide) ชอ่ื การค้าเชน่ โครามนี (Coramine) เป็นต้น ในขนาดยาปกติทใ่ี ช้ในการรกั ษายากลมุ่ น้จี ะกระตนุ้ กา้ นสมองโดยเฉพาะศนู ย์ ควบคมุ การหายใจ และการไหลเวยี นเลอื ด จงึ อาจ นาไปใชแ้ กพ้ ิษของยากดสมองอน่ื ๆ เชน่ ยาสลบ หรือ ยานอนหลบั

ปิ โครท๊อกซิน (PICROTOXIN) ปิโครท๊อกซนิ พบมากในแถบอินเดียตะวนั ออก มรี สขมมกั ใช้เป็นยาพิษให้ปลากินมีฤทธิ์กระต้นุ ศนู ย์ต่างๆ ในก้านสมอง เช่น การหายใจ การ เต้นของหวั ใจ การหดตวั ของหลอดเลือด การคล่ืนไส้ อาเจียน เป็นต้น ในคนปกติขนาดยาท่ีกระต้นุ การหายใจจะใกล้เคียงกบั ขนาดยาท่ีทาให้ ชกั มาก ในผ้ทู ่ีได้รับยากดประสาท เช่น ยานอนหลบั หรือยาสลบเกินขนาด อาจใช้ยานีก้ ระต้นุ ได้โดยไมท่ าให้ชกั สว่ นมากนิยมฉีดเข้าหลอด เลอื ดดา ซงึ่ จะเห็นผลภายใน 10-15 นาที ยานีถ้ กู ทาลายอยา่ งรวดเร็วภายในเวลา 1-2 ชว่ั โมง

• ประโยชน์ท่ใี ช้ ใช้แก้พิษยานอนหลบั และยาสลบ แตแ่ พทยส์ ว่ นใหญไ่ มน่ ิยมใช้เพราะควบคมุ ขนาดของยาลาบาก

• ฤทธ์ิและอาการท่ีไม่พงึ ประสงค์ ในขนาดยาท่ีสงู กวา่ ที่ใช้ในการรักษาเลก็ น้อย จะทาให้ชกั กระตกุ หมดสติและตาย

• เพน็ ิิลีนเิิราซอล (Pentylenetetrazol) ช่ือการค้าเชน่ เมทราซอลหรือเล็ปตาซอล (Metrazol หรือ Leptazol) เป็นยาท่ีสงั เคราะห์ขนึ ้ มฤี ทธ์ิกระต้นุ ก้านสมองได้ดีกวา่ สว่ นอื่นๆ ถ้าให้ขนาดยาสงู จะกระต้นุ ทวั่ ทงั้ ระบบประสาทสว่ นกลาง ทาให้ชกั กระตกุ และตายได้ เมอ่ื ให้ทางปากยาจะซมึ ผา่ นกระเพาะและลาไส้ได้ดีแต่มกั นิยมให้โดยการฉีดเข้าหลอดเลอื ดดาหรือฉีดเข้ากล้ามหรือ ใต้ผิวหนงั ยาสว่ นใหญ่ถกู ทาลายที่ตบั

• ประโยชน์ท่ใี ช้ ยานีม้ กั ใช้ในห้องทดลองทางวิทยาศาสตร์ ไมค่ ่อยนิยมใช้ในทางแพทยเ์ พราะควบคมุ ขนาดของยาลาบาก แตแ่ พทยบ์ างคนอาจใช้ 1. แก้พิษของยานอนหลบั และยาสลบ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ท่ีกดการหายใจ 2. ใช่กระต้นุ ประสาทของคนชราท่ีซมึ เศร้า ความจาเส่อื ม เลอะเลือนสบั สน

• นิเคธาไมด์ (Nikethamide) ชื่อการค้าเช่นโครามนี (Coramine) นิเคธาไมด์ เป็นยาท่ีสงั เคราะห์ขนึ ้ มฤี ทธ์ิกระต้นุ ก้านสมอง การหายใจ การไหลเวียนเลอื ด ฯลฯ มีฤทธ์ิแรงน้อยกวา่ เพ็นติลนี เตตรา ซอล หรือ ปิโครท๊อกซนิ (Picrotoxin) แตอ่ อกฤทธิ์นานกวา่ เมือ่ ให้ทางปากจะซมึ ผ่านทางเดินอาหารได้ดี โดยมากมกั ให้โดย การฉีดเข้าหลอดเลอื ด ดา หรือเข้ากล้าม

• ประโยชน์ท่ใี ช้ ยานีอ้ าจใช้กระต้นุ การหายใจท่ีถกู กดมากเน่ืองจากการใช้ยาสลบหรือยานอนหลบั สรุ า แตค่ วรมีเครื่องช่วยหายใจอยู่ใกล้ๆ ปัจจบุ นั ไม่ นิยมใช้ ฤทธ์ิและอาการท่ไี ม่พงึ ประสงค์ ไมค่ วรใช้ยานีใ้ นผ้ทู ี่มีนยั น์ตาเป็นต้อหิน (Glaucoma)

3. ยากระตุ้นไขสันหลงั ยากระต้นุ ไขสนั หลงั ได้แกส่ ตร๊ิคนิน (Strychnine) เป็นต้น เป็นยาที่มพี ิษมาก ในขนาดยาต่าๆ จะทาให้รีเฟลก็ ซ์เพิม่ ขนึ ้ (Hyper-reflexia) • แตถ่ ้าขนาดยาสงู ๆ จะทาให้ชกั อยา่ งแขง็ เกร็งซง่ึ อาจถงึ แกช่ ีวติ สิริ๊คนิน (Strychnine) สกดั ได้จากเมล็ดพชื (Strychnos nuxvomica) ซง่ึ พบมากในอินเดียตะวนั ออก มีรสขม

ประโยชน์ทใ่ี ช้ สมัยกอ่ นเคยใช้เปน็ ยากระตนุ้ ใหอ้ ยากกนิ อาหาร และใชแ้ ก้พิษยานอนหลับ ปัจจบุ ันเลิกใชแ้ ลว้ จดั เปน็ ยาอนั ตรายมากไมแ่ จกจ่ายแก่บุคคลทั่วไป ในบางทอ้ งท่อี าจใชเ้ ป็นยาเบื่อสนุ ขั หรือเบ่อื หนู

• ฤทธ์ิและอาการท่ไี ม่พึงประสงค์ ทาให้ชกั อยา่ งแข็งเกร็ง การหายใจติดขดั และตาย ซง่ึ อาจตายระหวา่ งชกั หรือตายด้วยความออ่ นเพลียหลงั จากชกั ก็ได้

ข้อควรระวงั ควรระวงั การจ่ายหรือหยิบยาผดิ การเก็บยา หรอื วางอาหารที่มยี าน้เี จอื ปนอยคู่ วรใหอ้ ย่หู า่ งไกลจากคน อ่นื ๆ โดยเฉพาะเดก็ ๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook