Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการประเมินคุณภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใต้สถานการณ์ COVID – 19 การศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

รายงานการประเมินคุณภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใต้สถานการณ์ COVID – 19 การศึกษาปฐมวัยและระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Published by จํารูญ มลิพันธ์, 2021-07-19 10:28:54

Description: รหัสสถานศึกษา ๑๐๓๓๕๓๐๓๒๓ โรงเรียนบ้านสะอาง (ประชาสามัคคี)
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต ๓
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ระดับการศึกษาที่เปิดสอน ชั้นอนุบาลปีที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

Search

Read the Text Version

รายงานการประเมินคณุ ภาพภายนอก : ผลการประเมิน SAR ภายใตส้ ถานการณ์ COVID – 19 การศกึ ษาปฐมวยั และระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน รหสั สถานศึกษา ๑๐๓๓๕๓๐๓๒๓ โรงเรียนบา้ นสะอาง (ประชาสามัคค)ี สงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาศรสี ะเกษ เขต ๓ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ระดับการศึกษาที่เปิดสอน ช้นั อนุบาลปที ่ี ๑ ถงึ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๖ ตัง้ อยหู่ มู่ท่ี ๑๒ ตำบลหว้ ยเหนือ อำเภอขขุ นั ธ์ จังหวัดศรีสะเกษ รหสั ไปรษณีย์ ๓๓๑๔๐ โทรศพั ท์ ๐๙-๘๕๙๑-๖๕๒๔. E-mail: Saang2561@gmail.com สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน)

ตอนท่ี ๑ สรุปข้อมลู เกีย่ วกบั สถานศึกษา (ข้อมูล ณ วันท่ี ๑๒ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๔) ๑. ขอ้ มูลทั่วไปของสถานศึกษา ประเภท จำนวน หมายเหตุ ๑.๑ ข้อมลู ผเู้ รยี น ๓๑ ไม่ปรากฏ จำนวนเด็ก ๗๙ ไมป่ รากฏ จำนวนผู้เรียน ไมป่ รากฏ ๑.๒ ข้อมลู บคุ ลากร ๑ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ๒ ครปู ฐมวยั ๖ ครปู ระถมศึกษา ๑ บุคลากรสนับสนุน ๑.๓ จำนวนห้อง ๓ ห้องเรียนปฐมวัย ๖ ห้องเรยี นประถมศึกษา - หอ้ งปฏิบตั กิ าร - หอ้ งพยาบาล - อน่ื ๆ โปรดระบุ ๒. สรุปข้อมลู สำคัญของสถานศึกษา จำนวน หมายเหตุ ประเภท ๑ : ๑๖ ๒.๑ การศึกษาปฐมวยั ๑ : ๑๐ อตั ราส่วน ครู ต่อ เด็ก อัตราสว่ น หอ้ ง ตอ่ เด็ก  ครบชน้ั  ไม่ครบชนั้ ในระดบั ชน้ั จำนวนครูครบช้ัน ๑ : ๑๑ ๒.๒ ระดบั ประถมศกึ ษา ๑ : ๑๒ อตั ราสว่ น ครู ตอ่ ผูเ้ รียน อตั ราสว่ น ห้อง ต่อ ผู้เรยี น ๑

ประเภท จำนวน หมายเหตุ จำนวนครู ครบชั้น  ครบชน้ั  ไม่ครบชน้ั ในระดับชนั้ ๒.๓ รอ้ ยละของผู้สำเรจ็ การศกึ ษา อนุบาลปที ่ี ๓ ๑๐๐ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๑๐๐ ๒.๕ จำนวนวนั ท่ีสถานศึกษาจัดการเรียนการสอนจรงิ ในปกี ารศกึ ษาทีป่ ระเมนิ ๒๐๐ การศึกษาปฐมวัย ๒๐๐ ระดับประถมศึกษา ๒

ตอนท่ี ๒ ผลการประเมิน SAR รายมาตรฐาน และข้อเสนอแนะ การพิจารณา ให้ทำเครื่องหมาย √ หนา้ ข้อทีพ่ บข้อมลู ใน SAR ให้ทำเคร่ืองหมาย X หนา้ ข้อทีไ่ ม่พบข้อมูลใน SAR การศกึ ษาปฐมวัย มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเดก็ จุดเนน้ เด็กมพี ฒั นาการท้งั ๔ ดา้ นอย่างสมวัย ผลการพจิ ารณา ตัวช้วี ดั สรุปผลประเมนิ o ปรบั ปรงุ (๐-๓ ข้อ) ✓ ๑. มีการระบุเปา้ หมายคุณภาพของเด็กปฐมวยั o พอใช้ (๔ ข้อ) ✓ ดี (๕ ข้อ) ✓ ๒. มกี ารระบวุ ธิ ีพัฒนาคุณภาพของเด็กปฐมวัยอยา่ งเป็นระบบ ตามเปา้ หมายการพฒั นาเด็กปฐมวัย ✓ ๓. มีพัฒนาการสมวัยตามเป้าหมายการพัฒนาเด็กปฐมวยั ✓ ๔. มีการนำผลประเมนิ คุณภาพของเด็กปฐมวัยมาพัฒนาเด็ก ปฐมวัยให้มพี ฒั นาการสมวัย ✓ ๕. มกี ารนำเสนอผลการประเมนิ คณุ ภาพของเดก็ ปฐมวยั ต่อผูท้ ่ี เก่ยี วขอ้ ง ข้อเสนอแนะในการเขยี น SAR ให้ไดผ้ ลประเมนิ ระดับสูงขึ้น สถานศึกษาควรเขียนรายงาน SAR โดยนำผลการประเมินพัฒนาการของเด็กมาเปรียบเทียบความก้าวหน้า ย้อนหลัง ๓ ปีการศึกษา เพื่อให้ทราบความก้าวหน้าของแต่ละโครงการ กิจกรรม และควรระบุให้ชัดเจนว่ามีการ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริง ขณะจัดกิจกรรมเช่น กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริม ประสบการณ์ และปฏิบัติกิจวตั รประจำวัน ได้แก่ การรับประทานอาหารกลางวนั การแปรงฟัน การด่ืมนม การเข้า ห้องน้ำ การล้างมือก่อนรับประทานอาหาร และหลังจากเข้าห้องน้ำ เป็นต้น ใช้การสังเกตและประเมินพัฒนาการ เด็กเป็นรายบุคคล เก็บข้อมูลลงในแบบสังเกต โดยครู ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ สรุปผล การประเมินพัฒนาการเด็กหาจุดเด่น จุดด้อยที่ควรพัฒนา และนำผลการประเมินพัฒนาเด็กไปใช้พัฒนาเด็กให้ มพี ฒั นาการสมวยั โดยใช้แบบสำรวจประเมินความพึงพอใจผ้มู ีส่วนเกยี่ วข้อง สรุปผลการประเมินวา่ มคี วามพึงพอใจ ในผลการประเมินพัฒนาการเด็ก เฉลี่ยเป็นร้อยละ แล้วรายงานผู้มีส่วนเก่ียวข้องทราบ ระบุข้อมูทุกประเด็น ให้ชัดเจนครบถ้วน และควรมีภาพประกอบการจัดกิจกรรมเป็นหลักฐานอ้างอิงการดำเนินการกิจกรรมไว้ ในภาคผนวก เพ่ือยืนยันข้อมูลในการเขียนSAR ให้มีความสมบูรณ์ย่ิงข้ึน เป็นท่ีน่าเช่ือถือเป็นระบบ และสามารถ ตรวจสอบได้ ๓

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ จุดเน้น การบริหารปฐมวยั แบบมสี ่วนร่วมเพือ่ จดั ประสบการณ์เด็กรอบดา้ นบูรณาการภูมิปัญญาท้องถนิ่ ผลการพิจารณา ตัวชีว้ ัด สรปุ ผลประเมนิ ✓ ๑. มกี ารวางแผนการดำเนินการในแต่ละปีการศึกษา o ปรับปรุง (๐-๓ ขอ้ ) ✓ ๒. มกี ารนำแผนการดำเนินการไปใชด้ ำเนินการ o พอใช้ (๔ ข้อ) ✓ ๓. มกี ารประเมินผลสัมฤทธ์ิของการดำเนนิ การตามแผน ✓ ดี (๕ ข้อ) ✓ ๔. มกี ารนำผลการประเมนิ ไปใช้ในการปรับปรุงแก้ไขในปี การศกึ ษาต่อไป ✓ ๕. มีการนำเสนอผลการบริหารจดั การของสถานศกึ ษาใหผ้ ูม้ ีส่วน ได้สว่ นเสียได้รบั ทราบ ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ใหไ้ ดผ้ ลประเมินระดับสูงขึ้น สถานศึกษาควรเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR) ด้านการบริหารปฐมวัยอย่าง ชัดเจนเพิ่มมากขึ้น โดยมีรายละเอียดของข้อมูลพ้ืนฐาน ที่ต้ัง แผนผังอาคารเรียนอาคารประกอบ สภาพแวดล้อม ทั่วไป ข้อมูลครู ข้อมูลนักเรียน แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน วิทยากรภายนอก โครงสร้างการบริหารงาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ การใช้และการกำหนดค่าเป้าหมายมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย การปรับปรุงหลักสูตร ปฐมวัยให้ชัดเจน โดยให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม รวมถึงวิธีการ ข้ันตอนและทรัพยากรการวางแผนในแต่ละ ปีการศึกษา การดำเนินการตามแผน การประเมินผล การนำผลการประเมินไปปรับปรุงแก้ไขและการนำเสนอ ผลการบริหารปฐมวัยเพื่อให้ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาและสาธารณชนท่ัวไปได้รับทราบ อันเป็น ประโยชน์ตอ่ องค์กรและหนว่ ยงานอนื่ ๆ ทจี่ ะนำไปประยุกตใ์ ช้ได้ในอนาคต ๔

มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ท่ีเนน้ เดก็ เป็นสำคัญ จุดเนน้ จัดประสบการณ์ใหเ้ ด็กมพี ฒั นาการทั้ง ๔ ดา้ นอยา่ งสมวยั ผลการพจิ ารณา ตวั ชวี้ ดั สรุปผลประเมิน o ปรบั ปรุง (๐-๓ ขอ้ ) ✓ ๑. ครูมกี ารวางแผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้รายปคี รบทกุ o พอใช้ (๔ ข้อ) ✓ ดี (๕ ขอ้ ) หนว่ ยการเรียนรู้ ทุกชั้นปี ✓ ๒. ครูทกุ คนมีการนำแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ไปใชใ้ น การจดั ประสบการณ์โดยใช้ส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรยี นรทู้ ี่เอื้อตอ่ การเรยี นรู้ ✓ ๓. มีการตรวจสอบและประเมินผลการจัดประสบการณ์อย่างเปน็ ระบบ ✓ ๔. มกี ารนำผลการประเมนิ มาพัฒนาการจดั ประสบการณ์ของครู อยา่ งเปน็ ระบบ ✓ ๕. มีการแลกเปล่ียนเรยี นรแู้ ละให้ข้อมลู ป้อนกลบั เพือ่ พัฒนา ปรบั ปรุงการจดั ประสบการณ์ ข้อเสนอแนะในการเขียน SAR ใหไ้ ด้ผลประเมนิ ระดับสูงขึ้น สถานศึกษาควรเขียนรายงาน SAR โดยนำผลการประเมินพัฒนาการของเด็กมาเปรียบเทียบพัฒนาการ ย้อนหลัง ๓ ปีการศึกษา เพ่ือให้ทราบความก้าวหน้าในการจัดประสบการณ์ ระบุแผนการจัดประสบการณ์รายปี ๔๐ สัปดาห์ ครบทกุ หน่วยการเรียนรู้ มีกระบวนการเขียนแผนการจดั ประสบการณ์ทช่ี ัดเจน มีบันทกึ ผลหลังการจัด กิจกรรม เพ่ือจะได้ทราบปัญหาในการจัดกิจกรรม นำไปปรับปรุงแก้ไขต่อไป และเขียนอธิบายการประเมิน พัฒนาการเด็กตามสภาพจริง ขณะจัดกิจกรรม เช่น กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเกมการศึกษา และในขณะเด็กปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน ได้แก่ กิจกรรมเข้าแถวเคารพ ธงชาติ กิจกรรมตรวจสุขภาพ กิจกรรมการรับประทานอาหารกลางวัน เป็นต้น มีการสังเกต กำหนดระดับคุณภาพ และเกณฑ์การประเมินให้ชัดเจน วิเคราะห์ตามเกณฑ์ที่กำหนด และเก็บข้อมูลลงในแบบสังเกต โดยครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ สรุปผลการประเมินพัฒนาการเด็กหาจุดเด่น จุดด้อยท่ีควรพัฒนา นำผลการ ประเมินพัฒนาการเด็กไปใช้พัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการสมวัย และสำรวจประเมินความพึงพอใจผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สรุปผลการประเมินเป็นค่าเฉล่ียร้อยละ รายงานผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ ควรเผยแพร่แบบอย่างท่ีดีเป็นประโยชน์ ต่อวงการครูปฐมวัย และสาธารณชน ระบุข้อมูลทุกประเด็นให้ชัดเจน ครบถ้วน และควรมีภาพประกอบการจัด กิจกรรมเปน็ หลกั ฐานอา้ งอิงการดำเนนิ กิจกรรมไวใ้ นภาคผนวก เพ่อื ยืนยนั ข้อมลู ในการเขียนSAR ใหม้ ีความสมบูรณ์ ยิง่ ขน้ึ ๕

ระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผู้เรยี น จดุ เนน้ ผู้เรียนมคี ณุ ลกั ษณะและคา่ นยิ มทด่ี ี ผลการพิจารณา ตัวชีว้ ดั สรุปผลประเมนิ o ปรับปรงุ (๐-๓ ขอ้ ) ✓ ๑. มกี ารระบเุ ปา้ หมายคุณภาพของผู้เรียน o พอใช้ (๔ ข้อ) ✓ ดี (๕ ขอ้ ) ✓ ๒. มีการระบุวิธพี ฒั นาคุณภาพของผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบตาม เป้าหมายการพัฒนาผูเ้ รยี น ✓ ๓. มผี ลสมั ฤทธิข์ องผู้เรียนตามเปา้ หมายการพฒั นาผู้เรียน ✓ ๔. มกี ารนำผลประเมินคุณภาพของผู้เรยี นมาพัฒนาผู้เรยี นด้าน ผลสัมฤทธ์ใิ ห้สงู ข้ึน ✓ ๕. มกี ารนำเสนอผลการประเมนิ คณุ ภาพของผู้เรยี นตอ่ ผู้ท่ี เกย่ี วข้อง ข้อเสนอแนะในการเขียน SAR ใหไ้ ด้ผลประเมินระดบั สูงข้ึน สถานศึกษาควรเขียน SAR โดยระบุเป้าหมายคุณภาพของผู้เรียนท่ีสอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศึกษา ไว้ใน SAR ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น การพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนจะต้องมีการกำหนดจุดเน้น เช่น ค่านิยม ที่ดี โดยมีเป้าหมายให้ผู้เรียนปฏิบัติตามค่านิยมที่ดี ร้อยละ ๙๐ แล้วดำเนินการตามโครงการเป็นระยะเวลา ๑ ปี การศึกษา สรุปผลการดำเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย มกี ารนำเสนอต่อท่ีประชุมครู ผปู้ กครอง หรือคณะกรรมการ สถานศึกษาให้ทราบอย่างต่อเน่ือง โดยมีข้อมูลหลักฐานอ้างอิงครบถ้วน และมีภาพถ่ายกิจกรรมในภาคผนวก เพื่อยนื ยนั ข้อมูลในการเขียน SAR ใหม้ ีความสมบูรณย์ ่ิงขนึ้ ๖

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ จดุ เนน้ การบรหิ ารแบบมีส่วนร่วมเพ่อื พฒั นาคุณภาพผ้เู รยี นรอบด้านบรู ณาการภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ผลการพจิ ารณา ตัวช้วี ัด สรปุ ผลประเมิน o ปรับปรงุ (๐-๓ ข้อ) ✓ ๑. มีการวางแผนการดำเนนิ การในแต่ละปีการศึกษา o พอใช้ (๔ ข้อ) ✓ ดี (๕ ข้อ) ✓ ๒. มกี ารนำแผนการดำเนินการไปใชด้ ำเนินการ ✓ ๓. มีการประเมินผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินการตามแผน ✓ ๔. มีการนำผลการประเมนิ ไปใชใ้ นการปรับปรงุ แกไ้ ขในปี การศึกษาต่อไป ✓ ๕. มีการนำเสนอผลการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษาใหผ้ มู้ ี ส่วนไดส้ ่วนเสียไดร้ บั ทราบ ข้อเสนอแนะในการเขยี น SAR ใหไ้ ดผ้ ลประเมนิ ระดับสูงขึ้น สถานศึกษาควรเขียนรายงานการประเมินตนเอง SAR ด้านการบริหารอย่างชัดเจนเพ่ิมมากข้ึน โดยมี รายละเอียดของข้อมูลพื้นฐาน ท่ีตั้ง แผนผังอาคารเรียนอาคารประกอบ สภาพแวดล้อมท่ัวไป ข้อมูลครู ข้อมูล นักเรียน แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น วิทยากรภายนอก โครงสร้างการบรหิ ารงาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ การใช้และการกำหนดค่าเป้าหมายมาตรฐานการศึกษา การปรับปรุงหลักสูตรให้ชัดเจนที่ให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่าย มีส่วนร่วม รวมถึงวิธีการ ข้ันตอนและทรัพยากรการวางแผนในแต่ละปีการศึกษา การดำเนินการ การประเมินผล การนำผลการประเมินไปปรับปรุงแก้ไขและการนำเสนอผลงานการบริหารสถานศึกษาให้ผู้ปกครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาและสาธารณชนทั่วไปได้รับทราบ อันเป็นประโยชน์ต่อองค์กรและหน่วยงานอื่น ๆ ที่จะ นำไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้ในอนาคต ๗

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคญั จดุ เน้น การจดั การเรยี นรดู้ ว้ ยกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจริง ผลการพจิ ารณา ตวั ชว้ี ัด สรปุ ผลประเมนิ ✓ ๑. ครูมีการวางแผนการจดั การเรียนรู้ครบทกุ รายวชิ า ทุกชน้ั ปี o ปรับปรงุ (๐-๓ ขอ้ ) ✓ ๒. ครูทุกคนมีการนำแผนการจัดการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดการ o พอใช้ (๔ ข้อ) ✓ ดี (๕ ขอ้ ) ✓ เรียนการสอนโดยใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่ง เรยี นรู้ทเ่ี อือ้ ตอ่ การเรยี นรู้ ✓ ๓. มีการตรวจสอบและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน ✓ อย่างเปน็ ระบบ ๔. มีการนำผลการประเมินมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ของครูอยา่ งเปน็ ระบบ ๕. มีการแลกเปลย่ี นเรียนรู้และใหข้ ้อมลู ป้อนกลับเพ่ือพฒั นา ปรบั ปรุงการจัดการเรียนการสอน ขอ้ เสนอแนะในการเขียน SAR ใหไ้ ด้ผลประเมินระดับสูงข้ึน สถานศกึ ษาควรมีการระบขุ อ้ มลู ใน SAR เพ่มิ เติมในด้านการสง่ เสริมให้ครูทุกคนจดั การเรยี นการสอนโดยใช้ ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้อย่างเหมาะสมและหลากหลาย โดยใช้แหล่งเรียนรู้ ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา นำภูมิปัญญาท้องถ่ินบูรณาการให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติได้จริง ครูมีการดำเนินการ ตามโครงการหรือกิจกรรม โดยระบุวิธีการดำเนินงาน วิธีประเมินผลและผลการดำเนินงานไว้ชัดเจน มีการรายงาน ผลตามแผนการดำเนินงาน ให้ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ ดว้ ยการประชุมครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาหรือ การเผยแพร่ทางระบบออนไลน์ เว็บไซด์หรือเอกสาร และมีหลักฐานการดำเนินการนำมาเสนอไว้ในภาคผนวก เพอื่ ยืนยนั ขอ้ มลู ความน่าเชือ่ ถอื ของการรายงานต่อไป ๘

ขอ้ เสนอแนะเพมิ่ เติม สถานศึกษาควรเขียน SAR ในครั้งต่อไปให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยมีรายละเอียดของข้อมูลพ้ืนฐาน ท่ีต้ัง แผนผังอาคารเรยี น อาคารประกอบ สภาพแวดล้อมท่ัวไป ข้อมูลครู ข้อมูลนักเรียน แหลง่ เรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน วิทยากรภายนอก โครงสร้างการบริหารงาน บทสรุป ผู้บริหาร วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย จุดเน้น ท่ีมุ่งพัฒนา คุณภาพของผู้เรียนเป็นสำคัญเป็นปัจจุบัน มีข้อมูลการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาระยะส้ัน ระยะยาว และ แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา โครงการหรือกิจกรรม หลักสูตรของสถานศึกษา ระบุข้อมูลพ้ืนฐานให้ครบถ้วน มีข้อมูลสรุปการพัฒนาอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย ๓ ปี ระบุ แบบอย่างที่ดี (Best Practice) หรือนวัตกรรม (Innovation) ในทุกมาตรฐาน มีการแยกประเมินตนเองในแต่ละช่วงชั้น เช่น ระดับพ้ืนฐานแยกประเมินเป็น ช่วงชั้นท่ี ๑ ช่วงชั้นท่ี ๒ มีการสรุปข้อมูลในเชิงลึกของแต่ละช่วงช้ันได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ได้เผยแพร่ SAR ให้ผู้เกี่ยวข้อง ตา่ ง ๆ ครู ผปู้ กครองนักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด หรือผ้เู กี่ยวข้องได้รับทราบ ในรูปแบบ ออนไลน์ เว็บไซด์และเอกสาร มีช่องทางให้ผู้ที่สนใจสามารถเข้าถึงข้อมูลรายงานการประเมินตนเอง และหลักฐาน อ่ืน ๆ ที่สถานศึกษาจัดทำ เช่น กลุ่มไลน์ ลิงค์ หรือ QR Code ท่ีเช่ือมโยงกับฐานข้อมูลของการสรุปการปฏิบัติงาน แต่ละโครงการ กิจกรรมทนี่ ำมาอา้ งอิงในแตล่ ะมาตรฐานของสถานศึกษา ๙

คำรับรอง คณะผู้ประเมินขอรับรองว่าได้ทำการประเมิน SAR ตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกของสำนักงาน รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) ซึ่งตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอกบน ฐานความโปรง่ ใส และยุตธิ รรมทุกประการ ลงนามโดยคณะผูป้ ระเมนิ ดังน้ี ตำแหน่ง ช่อื - นามสกุล ลายมือชือ่ ประธาน นายธงชัย จันทร์แจ้ง นางวชั ราภรณ์ วงษ์จนั ทรา กรรมการ กรรมการและเลขานกุ าร นายธานนิ ทร์ แทนคำ วันท่ี ๑๒ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.๒๕๖๔ ๑๐

๑๑