ภาวนา ไม่เลิกไม่ละ หลวงพอ่ ปราโมทย ์ ปาโมชโฺ ช
ภาวนา ไม่เลิกไม่ละ หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชโฺ ช จากพระธรรมเทศนา ๑๖ กนั ยายน ๒๕๖๑
ภาวนา หลวงพ่อปราโมทย ์ ปาโมชฺโช ไม่เลกิ ไมล่ ะ วดั สวนสันตธิ รรม อ.ศรรี าชา จ.ชลบรุ ี www.dhamma.com ชมรมกัลยาณธรรม หนังสอื ดีลำ� ดับท ี่ ๓๘๖ สัพพทานงั ธัมมทานัง ชนิ าติ การให้ธรรมะเปน็ ทาน ย่อมชนะการให้ทง้ั ปวง พมิ พค์ รงั้ ท ่ี ๑ : มกราคม ๒๕๖๒ จำ� นวนพมิ พ ์ ๕,๐๐๐ เลม่ จดั พมิ พโ์ ดย ชมรมกัลยาณธรรม ๑๐๐ ถนนประโคนชยั ต�ำบลปากน้�ำ อำ� เภอเมอื ง จังหวดั สมทุ รปราการ ๑๐๒๗๐ โทรศัพท ์ ๐-๒๗๐๒-๗๓๕๓ และ ๐-๒๗๐๒-๙๖๒๔ ภาพปก/ภาพประกอบ เซมเบ้ ออกแบบ คนข้างหลงั พิสจู น์อักษร ทีมงานกลั ยาณธรรม พิมพ์ บรษิ ทั ขมุ ทองอุตสาหกรรมและการพิมพ ์ จ�ำกัด โทร. ๐-๒๘๘๕-๗๘๗๐-๓ ขอขอบพระคณุ มลู นธิ สิ ือ่ ธรรม หลวงพอ่ ปราโมทย์ ท่กี รุณาอนญุ าตให้จดั พิมพเ์ พ่อื เป็นธรรมทาน www.kanlayanatam.com Facebook : kanlayanatam
คํ า น ํ า ช ม ร ม ก ั ล ย า ณ ธ ร ร ม ปจั จยั สำ� คญั มากประการหนงึ่ ในทางเดนิ สคู่ วามพน้ ทกุ ข ์ คอื “กลั ยาณมติ ร” ผชู้ ที้ างแหง่ อรยิ มรรคมอี งค ์ ๘ ที ่ สบื ทอดสายธารธรรมจากองคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธ- เจ้า ผ่านพระสาวก พระอรหันต์ พระอริยะ ครูบา อาจารย์ ผู้ผ่านพ้น ผู้เปี่ยมเมตตา ผ่านยุคสมัยแห่ง วิวฒั นาการมาอยา่ งอบอุน่ ต่อเนอ่ื งไม่ขาดสาย เทคโนโลยที ีล่ ้ำ� ยคุ ในประเทศอนั เจรญิ ด้วยพระ- พุทธศาสนา นับเป็นประโยชน์ยิ่งในการเป็นเคร่ืองมือ ช่วยศึกษาธรรม หากรู้จักน�ำมาใช้อย่างเหมาะสม ก ็
5 ห ล ว ง พ่ อ ป ร า โ ม ท ย์ ป า โ ม ชฺ โ ช ช่วยท�ำให้คนไกลวัดไม่ห่างไกลธรรม ความห่างไกล จากครูบาอาจารย์ไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาสติ ปัญญาและความเข้าใจในธรรม หากมีกุศลเจตนาท่ ี ตงั้ ใจเรยี นรจู้ รงิ จงั ไมเ่ หลาะแหละ แตต่ อ้ งมสี ง่ิ ส�ำคญั คือ “โยนิโสมนสิการ” อันเป็นกัลยาณมิตรภายในตน ยามห่างไกลจากครูบาอาจารย์ ก็ต้องมีเกณฑ์วัดที ่ ถกู ตรงตามธรรม มฉิ ะนน้ั อาจหลงเขา้ รกเขา้ พง เพราะ ธรรมชาติของคนเราย่อมเอากิเลสออกหน้า พร้อมทั้ง อตั ตาเป็นเจา้ ของทกุ เร่อื งราวอยู่เนืองๆ หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช พระผู้รู้ ท่าน เปี่ยมด้วยความกรุณาต่อสาธุชนต่อเนื่องตลอดมา เมตตาพร่�ำสอน ซ้�ำแล้วซ�้ำเล่า ถึงเรื่องของทุกข์และ ความดับทุกข์ เป็นธรรมะที่ตรงประเด็น ชี้ให้เห็นถึง เหตปุ จั จยั แหง่ การรจู้ กั รปู นามกายใจ ไปจนตลอดสาย
6 ภ า ว น า ไ ม่ เ ลิ ก ไ ม่ ล ะ แห่งอริยมรรคมีองค์ ๘ ท้ังยังเป็นค�ำสอนที่ให้ จากใจ ถึงใจ ที่เน้นการดูจิต ควบคู่ไปกับการรู้กาย ไม่เคร่ง เครียดแต่จริงจัง นับเป็นธรรมะที่ถูกตรงและทันสมัย อันเหมาะสมกับคนในเมือง หรือสังคมบริโภคนิยม ในปจั จบุ นั ทำ� ใหผ้ คู้ นจำ� นวนมากมที างออกและคำ� ตอบ ให้ตัวเองอย่างแจ่มแจ้งในธรรมตามล�ำดับ และท�ำให้ คนร่นุ ใหม่จ�ำนวนมากไมก่ ลวั การเรยี นธรรมะ พวกเราไดท้ ราบขา่ วอาพาธของหลวงพอ่ ปราโมทย ์ ปาโมชโฺ ช เมอ่ื กลางป ี ๒๕๕๙ สรา้ งความตระหนกและ หว่ันไหวในใจไม่น้อย ได้ติดตามข่าวตลอดมาด้วย ความหว่ งใยในครบู าอาจารยผ์ ปู้ ระเสรฐิ ยง่ิ ในทส่ี ดุ ดว้ ย เหตปุ จั จยั หลายอยา่ ง ทงั้ ดว้ ยพลงั แหง่ ธรรมและเมตตา อนั ไมม่ ปี ระมาณของหลวงพอ่ เอง รวมทงั้ พลงั อธษิ ฐาน ของพวกเรา หลวงพอ่ กลบั มามสี ขุ ภาพแขง็ แรงพอสมควร
7 ห ล ว ง พ่ อ ป ร า โ ม ท ย ์ ป า โ ม ชฺ โ ช ในความดูแลของคณะแพทย์ และหลวงพ่อยังเมตตา กลับมาเทศน์โปรดสอนธรรมพวกเราเหมือนเดิม นับเป็นข่าวดีที่ย่ิงใหญ่และเป็นก�ำลังใจแก่ศิษย์ทุกคน อย่างมาก แต่การอาพาธของหลวงพ่อครั้งน้ีก็นับเป็น เสียงเตือนดังๆ ถึงพวกเราทุกคนว่า เราต้ังใจเรียนรู้ สง่ิ ทหี่ ลวงพอ่ เมตตาตรากตร�ำพรำ�่ สอนมากนอ้ ยแคไ่ หน การจดั งานอบรมภาวนา ครงั้ ท ี่ ๓๙ ในวนั อาทติ ย ์ ท ่ี ๑๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ ท่ีจะถึงน้ี นับเป็นงานคร้ัง พิเศษท่ีส�ำคัญยิ่ง ท่ีหลวงพ่อเมตตารับนิมนต์มาเป็น องค์บรรยายอีกครั้ง ซึ่งนับเป็นงานคร้ังแรกๆ ของ หลวงพ่อท่ีคณะแพทย์อนุญาตให้ท่านออกมาเทศน์ นอกวัด คณะศิษย์ชมรมกัลยาณธรรมตระหนักใน ความเมตตาของหลวงพ่อเหนือเศียรเกล้า และตั้งใจ เตรยี มการจดั งานอบรมภาวนาครงั้ นใ้ี หด้ ที สี่ ดุ เพอ่ื เปน็
8 ภ า ว น า ไ ม่ เ ลิ ก ไ ม่ ล ะ ประโยชน์แก่สาธุชนผู้ใฝ่ในธรรมจะได้พบแสงสว่าง นำ� ทางชวี ติ ใหค้ คู่ วรกบั ความกรณุ าของหลวงพอ่ และ ในส่วนตัวของพวกเราผู้ท�ำงานเผยแผ่ธรรมทุกคนนั้น ต่างตระหนักในคุณค่าแห่งธรรมแห่งความพ้นทุกข์ อนั เปน็ ทางสายตรงขององคส์ มเดจ็ พระสมั มาสมั พทุ ธ- เจ้า ตั้งสัจจะวาจาตั้งใจปฏิบัติบูชา น้อมถวายบูชา พระคณุ ของหลวงพอ่ ให้เตม็ ก�ำลังความเพยี ร ในนามชมรมกัลยาณธรรม ขอขอบคุณมูลนิธิ สอ่ื ธรรมหลวงพอ่ ปราโมทย ์ ทอี่ นญุ าตใหจ้ ดั พมิ พห์ นงั สอื “ภาวนา ไม่เลิกไม่ละ” ซึ่งเรียบเรียงจากพระธรรม เทศนาของหลวงพ่อ ที่วัดสวนสันติธรรม เมื่อวันที ่ ๑๖ กันยายน ๒๕๖๑ เพื่อเป็นอาจริยบูชาน้อมถวาย หลวงพ่อ และเพื่อประโยชน์แห่งการศึกษาธรรมแก่ สาธุชนผู้มาร่วมงานอบรมภาวนาครั้งนี้ ขอขอบคุณ
9 ห ล ว ง พ่ อ ป ร า โ ม ท ย ์ ป า โ ม ชฺ โ ช ศิลปิน “เซมเบ้” ท่ีช่วยเขียนภาพประกอบให้อย่าง งดงามเพื่อร่วมกันบูชาธรรม พวกเราหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ ตน้ ไมท้ หี่ ลวงพอ่ ปลกู และหมั่นรดน�้ำพรวนดินอย่างเหน่ือยยากตรากตร�ำ ตลอดมา จะไดเ้ ตบิ โต งดงาม ออกดอกออกผล ผลบิ าน ต่อเน่ืองไป เพ่ือบูชาธรรมอันประเสริฐขององค์พระ สัมมาสัมพทุ ธเจา้ อยา่ งต่อเนื่องตลอดไป กราบนอบน้อมบูชาคุณพระรตั นตรัย ทพญ. อัจฉรา กลิน่ สุวรรณ์ ประธานชมรมกัลยาณธรรม
ไม่มีใครบรรลุมรรคผล ด้วยการฟัง ด้วยการคิดนะ เขาต้องเห็นท้ังนั้นเลย อย่างบางคน ฟังพระพุทธเจ้าเทศน์ แล้วท�ำไมบรรลุ ? ไม่ใช่บรรลุด้วยการฟัง แต่เขาเห็นจริง
13 ห ล ว ง พ่ อ ป ร า โ ม ท ย์ ป า โ ม ชฺ โ ช มสี ตไิ วน้ ะ... การปฏบิ ตั มิ นั อยใู่ นชวี ติ ธรรมดานเี้ อง ตอ้ ง ฝึกให้ได้ การปฏิบัติมีสองส่วน ส่วนหนึ่งเราท�ำใน รปู แบบ ถงึ เวลากป็ ฏบิ ตั ิ แบง่ เวลาไวเ้ ลย ทกุ วนั ตอ้ งทำ� อกี สว่ นหนง่ึ เปน็ เรอื่ งการเจรญิ สต ิ เจรญิ ปญั ญาอยใู่ น ชวี ติ ประจำ� วนั การทำ� ในรปู แบบนนั้ ทำ� ใหเ้ ราไดก้ ำ� ลงั แล้วก็เป็นการฝึกซ้อมท่ีจะเจริญสติในชีวิตประจ�ำวัน คลา้ ยๆ ทหารซอ้ มรบ ถา้ ไมซ่ อ้ มรบ อยๆู่ ออกไปรบเลย อยไู่ ม่ไหว สไู้ มไ่ ด้
14 ภ า ว น า ไ ม่ เ ลิ ก ไ ม่ ล ะ ถ้าวันไหนใจเราฟุ้งซ่านก็ท�ำความสงบ วันไหน ใจเราสงบแล้วก็หัดเจริญปัญญา วิธีท�ำใจให้สงบ มี หลกั ขอ้ เดยี ว คอื นอ้ มใจไปอยใู่ นอารมณท์ มี่ คี วามสขุ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง แตถ่ า้ วนั ไหนกเิ ลสรนุ แรงมาก เราตอ้ ง มชี นั้ เชงิ หนอ่ ย ถา้ กเิ ลสรนุ แรงกต็ อ้ งสกู้ นั หนอ่ ย เรยี กวา่ ขม่ มนั ดว้ ยธรรมะทีต่ รงกนั ขา้ ม อย่างปกติหลวงพ่อ ใช้อานาปานสติ เวลาท�ำ สมถกรรมฐาน แต่วันไหนกิเลสแรงมาก ฟุ้งซ่านมาก อยๆู่ ไปทำ� อานาปานสต ิ ทำ� ไมล่ ง กต็ อ้ งมอี บุ ายมาชว่ ย ถา้ ฟงุ้ ซา่ นมาก เรากค็ อ่ ยๆ ตะลอ่ มจติ ใหเ้ ขา้ ท ่ี อยา่ ง หลวงพอ่ จะไปอา่ นหนงั สอื การต์ นู อา่ นหนงั สอื การต์ นู แล้วลดความรุนแรงของอารมณ์ มาอยู่ในอารมณ์ท่ีมี ความสุข นี่เป็นเทคนิค แต่ต้องเป็นการ์ตูนเด็กๆ นะ
15 ห ล ว ง พ่ อ ป ร า โ ม ท ย์ ป า โ ม ชฺ โ ช การ์ตูนญ่ีปุ่น อะไรอย่างน้ันไม่ได้ หรือบางทีโทสะ แรง บางวนั หงดุ หงดิ อยใู่ นทท่ี ำ� งานกม็ เี รอ่ื งหงดุ หงดิ เยอะ ตอนกลับบ้าน ฝนตกรถติดอีก กว่าจะถึงบ้าน สะบกั สะบอม ใจคอหงดุ หงดิ นกึ ถงึ ใครกโ็ มโหไปหมด เลย เราก็ข่มกิเลสโดยการท�ำส่ิงท่ีตรงข้ามกับโทสะ คอื เจริญเมตตา
16 ภ า ว น า ไ ม่ เ ลิ ก ไ ม่ ล ะ นเี่ ปน็ แทคตคิ นะ ไมใ่ ชห่ ลกั อยา่ งหลกั การปฏบิ ตั ิ สมถะน ี่ เราตอ้ งรวู้ า่ เราเหมาะกบั อะไร อยา่ งหลวงพอ่ เหมาะกับอานาปานสติ อันนี้ใช้เป็นมาตรฐานไว้เลย แต่เวลาจิตมันมีอะไรที่หวือหวา ผิดปกติมากๆ น่ ี อานาปานสติเอาไม่ลง ต้องมี tactic กลอุบาย ถ้า กิเลสมันรุนแรงมาก ก็ข่มมันด้วยธรรมะที่ตรงข้าม อย่างโทสะมากก็เจริญเมตตา ราคะมาก ก็พจิ ารณา ปฏิกูลอสุภะ อะไรอย่างน้ี อย่างใจมันไปยึดติดอะไร รุนแรง เช่น เรายึดความคิดความเห็นของเรารนุ แรง เอาไมล่ งเลย กใ็ หค้ ดิ ถงึ ความตาย เจา้ ความคดิ ความเหน็ สดุ ทา้ ยกต็ ายหมดแหละ ไมเ่ หน็ มอี ะไรเหลอื เลย นเี่ ปน็ อุบาย
17 ห ล ว ง พ่ อ ป ร า โ ม ท ย์ ป า โ ม ชฺ โ ช ต้องแยกให้ออกนะ อุบาย กับ หลัก หลักใน การปฏบิ ตั นิ ี่ เราตอ้ งรวู้ า่ เราจะใชอ้ ะไรเปน็ หลกั อยา่ ง หลวงพอ่ สมถะน ่ี หลวงพอ่ ใชอ้ านาปานสต ิ วปิ สั สนา ใช้จิตตานุปัสสนา ใช้พวกนี้เป็นหลัก แต่ว่าบางคร้ัง ก็ต้องมีลูกเล่น เพราะว่าจิตเราเหวี่ยงแรง เอาไม่อยู ่ อยา่ งโทสะแรงกเ็ จรญิ เมตตา ราคะแรงกพ็ จิ ารณาอสภุ ะ ยดึ ถอื ในความคดิ ความเหน็ รนุ แรง กพ็ จิ ารณาความตาย พจิ ารณาอะไรไป บางทใี จหดหทู่ อ้ ถอย ไมม่ กี ำ� ลงั ใจ ก ็ ใหค้ ดิ ถงึ พระพทุ ธเจา้ คดิ ถงึ ครบู าอาจารย ์ มพี ทุ ธานสุ ต ิ มสี ังฆานสุ ต ิ สอนตัวเอง ปลอบใจตวั เอง มปี ลอบดว้ ยนะ ไมใ่ ชข่ ม่ อยา่ งเดยี ว ดอุ ยา่ งเดยี ว บางทีก็ต้องปลอบ อันน้ีเป็นเทคนิคในการปฏิบัต ิ พระพทุ ธเจา้ ทา่ นกบ็ อก เวลาทา่ นสอนนะ (วา่ ) บางท ี
18 ภ า ว น า ไ ม่ เ ลิ ก ไ ม่ ล ะ ธรรมะบางอยา่ งกต็ อ้ งขม่ เอา อยา่ งกเิ ลสแรง กต็ อ้ งขม่ เอาดว้ ยธรรมะตรงขา้ ม บางทกี ต็ อ้ งคอยประคบั ประคอง จติ อยา่ งจติ เราฟงุ้ ไมม่ าก เราประคบั ประคอง คอ่ ยๆ ตะล่อมให้มันเข้าท่ี อย่างหลวงพ่อไปอ่านหนังสือ การต์ นู เปน็ การคอ่ ยๆ ปรบั มาทลี ะนดิ จากทโ่ี ลดโผน รุนแรง ค่อยๆ ลดระดับลง ค่อยๆ ประคับประคอง จนกระทั่งมนั เข้าท ่ี จึงท�ำอานาปานสติ บางทกี ต็ อ้ งเชยี ร ์ ใหก้ ำ� ลงั ใจมนั บางวนั ทอ้ ถอย กค็ ดิ ถงึ พระพทุ ธเจา้ เมอื่ กอ่ นทา่ นกม็ กี เิ ลส หรอื คดิ ถงึ ครบู าอาจารย ์ ไปดปู ระวตั ทิ า่ นแตล่ ะองคๆ์ ไมใ่ ชผ่ วู้ เิ ศษ ทไ่ี หนมาเกดิ เลย กค็ นมกี เิ ลสนน่ั แหละมาเกดิ ถา้ ไมม่ ี กเิ ลสไมม่ าเกดิ หรอก นค่ี รบู าอาจารยก์ ม็ กี เิ ลสมากอ่ น แล้วท่านก็ต่อสู้มา เข้มแข็ง บางองค์ก็ธุดงค์เข้าป่า
20 ภ า ว น า ไ ม่ เ ลิ ก ไ ม่ ล ะ เข้ารก บางองค์ก็ตาย ถึงขนาดตายก่อนที่จะส�ำเร็จ เป็นครูบาอาจารย์ก็มีนะ องค์ที่มาเป็นครูบาอาจารย ์ เรานี่ เป็นประเภทท่ีรอดตายมาแล้ว ไม่ใช่ผู้วิเศษ ที่ไหนมาเลย แต่ละองค์สะบักสะบอม ข้ึนเขาลงหว้ ย หลงป่า อดข้าวทีหน่ึงหลายๆ วัน ไม่ได้เจตนาจะอด แตว่ า่ ไมม่ ใี หฉ้ นั หลวงปเู่ ทสกก์ เ็ คยหลงปา่ ไปเจอพวก ชาวเขา มนั ไมใ่ ชเ่ วลาบณิ ฑบาตแลว้ ตอนสายๆ แลว้ ท่านก็เล่าว่าไม่ได้ข้าวกิน ล�ำบาก เจอเสือ เจอช้าง เจองู ทีนี้บางทีต้องเร้าใจ ต้องรู้จักให้กำ� ลังใจตัวเอง แตอ่ ยา่ ไปยใุ หม้ นั เหลงิ บางครง้ั ใจเราเหวยี่ งแรง ยนิ ดยี นิ รา้ ยมาก กฝ็ กึ ใหม้ นั เปน็ อเุ บกขา นมี่ นั ตอ้ งมเี ทคนคิ นะ บางวนั กต็ อ้ ง น้อมใจไปสู่อุเบกขา มันยินดียินร้ายก็รู้ทันมันเข้าไป
21 ห ล ว ง พ่ อ ป ร า โ ม ท ย์ ป า โ ม ชฺ โ ช เลย มันยินดีในความสุข ความสงบ หรือมันไม่พอใจ ในความฟุ้งซ่าน มันหงุดหงิดร�ำคาญ ให้รู้ทันที่ยินด ี ยินร้ายเข้าไป จิตก็เป็นอุเบกขาข้ึนมา อุเบกขาแล้วก ็ ภาวนาต่อ จะมีลูกเล่น มีแทคติคหลายอัน บางคร้ัง กต็ อ้ งขม่ จติ บางครง้ั กต็ อ้ งประคบั ประคองจติ บางครงั้ ต้องปลุกเร้าจิต บางครั้งก็ต้องท�ำจิตให้เป็นอุเบกขา พอจติ ใจเราเปน็ อเุ บกขา จติ ใจอยกู่ บั เนอื้ กบั ตวั สบายๆ แลว้ งานตอ่ ไปกค็ อื นอ้ มจติ ไปเจรญิ ปญั ญา โนม้ นอ้ ม จิตไปเพื่อญาณทัสสนะ
22 ภ า ว น า ไ ม่ เ ลิ ก ไ ม่ ล ะ เพราะฉะนั้นฝึกไป อย่างวันนี้ ใจเราเป็นยังไง กค็ อ่ ยๆ ฝกึ คอ่ ยๆ แกท้ ใี่ จเรา ในเวลาทเ่ี ราแบง่ เอาไว ้ ฝกึ ในรปู แบบนแี่ หละ พอใจเราเขา้ ทแี่ ลว้ ยงั เหลอื เวลา อยู่ สมมติเราตั้งใจท�ำวันละช่ัวโมง เราสู้กับมันมา แลว้ ๔๕ นาท ี ใจสงบ ใจตงั้ มนั่ มอี เุ บกขาขนึ้ มาแลว้ เวลาเหลือก็เจริญปัญญา แยกรูปแยกนามไป เจริญ ปญั ญาอยา่ งงา่ ยเลย อยา่ งเรานง่ั อยอู่ ยา่ งน ี้ เหน็ รา่ งกาย มนั นงั่ ใจเปน็ คนด ู การแยกรปู แยกนามเปน็ จดุ ตงั้ ตน้ ของการเจรญิ ปญั ญา เปน็ ญาณ เปน็ ปญั ญาขนั้ ทห่ี นงึ่ เรยี กวา่ “นามรปู ปรเิ ฉทญาณ” อยา่ งขณะนเี้ รานง่ั อย่ ู เรารวู้ า่ รา่ งกายนงั่ รดู้ ว้ ยใจปกต ิ รดู้ ว้ ยใจธรรมดา กอ่ น ที่จะมารู้ได้นี่ ต้องปรับจิตให้มันเข้าที่ก่อน ให้มันเป็น อุเบกขา เป็นกลาง สามารถรู้ทุกสิ่งทุกอย่างได้ด้วย ใจต้ังม่ัน ด้วยความเป็นกลาง ใจเป็นคนดู เรามีใจ เป็นคนดู
23 ห ล ว ง พ่ อ ป ร า โ ม ท ย์ ป า โ ม ชฺ โ ช อย่างหลวงพ่อ เวลาภาวนาท�ำอานาปานสต ิ ไม่ได้ท�ำเพ่ือให้สงบเฉยๆ หายใจไป พอจิตไหลไปคิด รู้ทัน... จิตไหลไปอยู่ท่ีลมหายใจ รู้ทัน... น่ีเราฝึกอยู่ ในหลักปฏิบัติกรรมฐานหลักของเราทุกวันๆ เพื่อจะ รทู้ นั จติ ทนี พี้ อจติ ไหลแลว้ ร ู้ ไหลแลว้ ร ู้ จติ กจ็ ะตง้ั มน่ั เดน่ ดวงขน้ึ มา พอจติ ตง้ั มนั่ เดน่ ดวงขน้ึ มาแลว้ กถ็ งึ เวลา เจรญิ ปญั ญา หลวงพอ่ เจรญิ ปญั ญาดว้ ยการดจู ติ เลย กห็ ายใจตอ่ ไป จติ เคลอ่ื นแลว้ ร ู้ เคลอื่ นแลว้ ร ู้ กจ็ ะเหน็ วา่ จติ รกู้ ไ็ มเ่ ทย่ี ง จติ เคลอื่ นกไ็ มเ่ ทยี่ ง อนั นคี้ อื การเจรญิ ปัญญา หรือเห็นว่าจิตรู้ก็รักษาไม่ได้ จิตท่ีเคลื่อนไป ถล�ำไปก็ห้ามไม่ได้ อย่างน้ีก็เรียกเจริญปัญญา อันนี้ เหน็ อนตั ตา ถา้ เหน็ วา่ จติ รกู้ ช็ ว่ั คราว จติ เคลอื่ น จติ ถลำ� ไปก็ช่ัวคราว อันน้ีเห็นอนิจจัง ถ้าเห็นว่าจิตรู้ก็รักษา ไมไ่ ด ้ จติ เคลอ่ื นกห็ า้ มไมไ่ ด ้ อนั นเ้ี ปน็ อนตั ตา อยา่ งน ้ี เรยี กวา่ เราขน้ึ วิปสั สนา เดินวปิ สั สนา
ตรงที่เห็นร่างกาย เห็นรูปเห็นนาม นี่ยังเป็นสมถะนะ ตรงที่เห็นรูปนาม แสดงไตรลักษณ์ ถึงจะเป็นวิปัสสนา
26 ภ า ว น า ไ ม่ เ ลิ ก ไ ม่ ล ะ แต่ถ้าเราเห็นร่างกายหายใจ ใจเป็นคนดู อันนี ้ เริ่มมีปัญญาแล้ว กายกับใจแยกกัน แต่ยังไม่ถึง วิปัสสนา เพราะยังไม่เห็นไตรลักษณ์ ในโสฬสญาณ นม่ี นั จะสอนเรา ญาณทห่ี นงึ่ แยกรปู แยกนาม ญาณ ที่สอง รู้ว่ารูปแต่ละรูป นามแต่ละนาม มีเหตุให้เกิด ญาณทส่ี าม เหน็ วา่ นามแตล่ ะนาม รปู แตล่ ะรปู ไมเ่ ทย่ี ง เกิดดับได้ แต่เห็นด้วยการเปรียบเทียบ เช่น เมื่อกี ้ กอ่ นจะนงั่ จติ ฟงุ้ ซา่ น ตอนนจ้ี ติ สงบ นจ่ี ิตไมเ่ ท่ียงนะ อันนี้ดูคนละสภาวะ เทียบคนละสภาวะ อันน้ีก็เป็น ปัญญา เรียกวา่ สัมมสนญาณ อนั แรกแยกรปู นามได ้ เรยี กวา่ นามรปู ปรจิ เฉท- ญาณ อนั ทสี่ อง รวู้ า่ นามรปู เกดิ จากเหต ุ มเี หตใุ หเ้ กดิ เรียกว่า ปัจจยปริคคหญาณ รู้ปัจจัยที่ท�ำให้มันเกิด
27 ห ล ว ง พ่ อ ป ร า โ ม ท ย ์ ป า โ ม ชฺ โ ช อนั ทสี่ ามน ี่ รวู้ า่ นามรปู เปน็ ไตรลกั ษณด์ ว้ ยการเปรยี บ เทียบเอา เรียกว่า สัมมสนญาณ ยังไม่ข้ึนวิปัสสนา อยา่ งเราเหน็ วา่ จติ เราเมอื่ วานกบั จติ เราวนั นไี้ มเ่ หมอื นกนั น่แี สดงว่าจิตไม่เที่ยง อันนี้เปน็ การเทยี บคนละสภาวะ ไมใ่ ชว่ ปิ สั สนา วปิ สั สนานต่ี อ้ งสภาวะอนั เดยี วกนั นแ้ี หละ เกดิ ขน้ึ ตงั้ อย ู่ ดบั ไปใหด้ ู ไมใ่ ชเ่ อาสองอนั มาเทยี บกนั อยา่ งเราไปดรู ปู เกา่ ๆ ของเรา เออ หนา้ ตาเรา เม่ือปีกลายกับหน้าตาปีนี้ไม่เหมือนกัน แสดงว่ารูปนี้ ไม่เที่ยง อันนี้ไม่ใช่วิปัสสนา มันเทียบรูปคนละเวลา คนละปี คนละรูปกัน เอารูปในอดีตมาเทียบกับรูป ปจั จบุ นั เอานามในอดตี มาเทยี บกบั นามปจั จบุ นั อนั น ี้ แค่มปี ัญญาดว้ ยการคดิ เอา ยังไมใ่ ช่วปิ สั สนา
28 ภ า ว น า ไ ม่ เ ลิ ก ไ ม่ ล ะ ญาณทสี่ ่ี ถงึ จะขนึ้ วปิ สั สนา เรยี กวา่ อทุ ยพั พย- ญาณ อุทยัพพยญาณคือเห็นรูปอันน้ีแหละเกิดข้ึน ตงั้ อย ู่ ดบั ไป เหน็ นามอนั นแี้ หละ เกดิ ขน้ึ ตง้ั อย ู่ ดบั ไป รปู น ่ี ใหร้ รู้ ปู เปน็ ปจั จบุ นั ขณะ นามนน้ั ตามร ู้ เรยี กวา่ ปจั จุบันสนั ตติ เราเหน็ จติ ดวงหนง่ึ มนั โกรธ แลว้ จติ ดวงใหมม่ นั ร ู้ มนั มาเหน็ จติ ดวงทโี่ กรธดบั ไป มนั ดยู อ้ นหลงั ดยู อ้ นหลงั ติดๆ กัน ดูจิตน่ีจะไม่ได้ดูปัจจุบันทีเดียว แต่ว่าเป็น ปจั จบุ นั สนั ตต ิ คอื สบื เนอ่ื งกบั ปจั จบุ นั แตด่ รู ปู จะดเู ปน็ ปัจจุบันขณะ คือเด๋ียวนี้ เดี๋ยวน้ีก�ำลังนง่ั อย ู่ รสู้ กึ ไหม ดไู ดไ้ หมเดย๋ี วนก้ี ำ� ลงั นงั่ ลองพยกั หนา้ ซ ิ ร้สู ึกไดไ้ หม
29 ห ล ว ง พ่ อ ป ร า โ ม ท ย ์ ป า โ ม ชฺ โ ช เพราะฉะนน้ั ดรู ปู นใ่ี หด้ ปู จั จบุ นั ขณะ คอื เดย๋ี วนี้ เลย กำ� ลงั เปน็ อย ู่ กำ� ลงั ยนื กำ� ลงั เดนิ กำ� ลงั นง่ั กำ� ลงั นอน กำ� ลงั หายใจออก กำ� ลงั หายใจเขา้ กำ� ลงั เคลอื่ น ไหว ก�ำลังหยุดน่ิง ดูอย่างน้ี แต่เวลาดูจิตดูใจมันจะ ดตู ามหลงั โกรธแลว้ โลภแลว้ หลงแลว้ ฟงุ้ ซา่ นแลว้ หดหู่แล้ว สุขแล้ว ทุกข์แล้ว ให้ความรู้สึกทั้งหลาย เกดิ ขน้ึ กอ่ น แลว้ รอู้ ยา่ งกระชนั้ ชดิ ถา้ เมอื่ วานมคี วามสขุ วนั นรี้ วู้ า่ เมอื่ วานมคี วามสขุ อนั นนั้ ไมไ่ ดน้ ะ มนั เปน็ การ เปรียบเทียบคนละสภาวะกัน อันนี้เราเห็นตัวมันเอง แตเ่ ราเห็นย้อนหลงั ไปนิดหนึง่ การดจู ติ ทำ� ไมดปู จั จบุ นั ขณะไมไ่ ด ้ เพราะขณะท่ ี กิเลสเกิดน่ี สติจะไม่เกิด สติมันเกิดทีหลัง พอกิเลส เกิดแล้ว สติระลึกได้ว่าโกรธแล้วนะมีค�ำว่า “แล้ว”
31 ห ล ว ง พ่ อ ป ร า โ ม ท ย์ ป า โ ม ชฺ โ ช จะเห็นว่าจิตดวงที่โกรธนั้นเกิดแล้วดบั ไป มนั เหน็ ยอ้ น หลงั ยอ้ นนดิ เดยี วนะ ขณะแวบ้ เดยี วเท่านั้น ถ้านานๆ ใชไ้ มไ่ ดเ้ ลย นานๆ เปน็ การคดิ เอา อนั นหี้ างมนั ยงั อย่ ู อยา่ งเวลาโกรธๆ อย ู่ ยงั เหน็ หางมนั ไหวๆ อย ู่ อยา่ งนี้ ถึงใช้ได้ ใครเคยเห็นหางกิเลสไหม ? เห็นไหม เห็น หางมนั แว้บๆ นะ ส่วนตัวมนั ไปแลว้ น่ี ดูอย่างนี้นะ เวลาดูจิตดูใจ แต่ดูรูป ให้ดูว่า รปู กำ� ลงั เคลอื่ นไหว รปู กำ� ลงั หายใจ รปู กำ� ลงั ยนื เดนิ นงั่ นอน รดู้ ว้ ยใจทธ่ี รรมดา รดู้ ว้ ยใจทธ่ี รรมดา ทฝี่ กึ สมถะกนั นนั่ เพอ่ื ใหไ้ ดใ้ จทธี่ รรมดา ทมี่ แี รง ธรรมดา ดว้ ย มแี รงดว้ ย ธรรมดาอยา่ งไมร่ เู้ นอื้ ไมร่ ตู้ วั ? อยา่ งน.ี้ .. (หลวงพอ่ ทำ� ทา่ ) ธรรมดาอยา่ งนนั้ นะ่ พกิ าร ใชไ้ มไ่ ด ้ ธรรมดา ต้องมีเรี่ยวมีแรง รู้เน้ือรู้ตัว อย่างขณะนี้
ส�ำรวม ไม่ใช่แปลว่า หนีการกระทบอารมณ์ การหนีการกระทบอารมณ์ เป็นความปรุงแต่งแบบที่ ๓ เรียกว่า ‘อเนญชาภิสังขาร’ ใช้ไม่ได้...อวิชชาพาท�ำ
34 ภ า ว น า ไ ม่ เ ลิ ก ไ ม่ ล ะ อย่าเปลี่ยนใจของเรานะ ใช้ใจอย่างน้ี รู้สึกไหม รา่ งกายนง่ั ? ถา้ ใจเราเปน็ ปกตอิ ยา่ งน ี้ พอรรู้ ปู ทน่ี งั่ ปบุ๊ จะเหน็ วา่ รา่ งกายทนี่ ง่ั ไมใ่ ชต่ วั เรา แตถ่ า้ ใจผดิ ธรรมชาติ ไปแลว้ เอาแลว้ จะดรู ปู แลว้ ดแู ลว้ กท็ อื่ ๆ อยอู่ ยา่ งนนั้ เอง ไมเ่ หน็ หรอกว่าไม่ใชเ่ รา ฉะนั้นคอ่ ยๆ ฝกึ เวลาท�ำในรปู แบบนะ วนั ไหน ฟุ้งแหลก มีกิเลสรุนแรง ก็มีอุบายต่อสู้ ถ้าวันไหน กิเลสธรรมดา ก็ใช้กรรมฐานหลักของเราไป มีสติรู ้ อารมณก์ รรมฐานไปอยา่ งสบายๆ ดว้ ยใจสบายๆ ตอ้ ง ฝึกรู้ด้วยใจท่ีสบายนะ ส่วนใหญ่ไปรู้ด้วยใจท่ีไม่สบาย เครยี ด ! ใจทเ่ี ครยี ด เกดิ สมาธไิ มไ่ ดห้ รอก ! สมาธเิ กดิ จากใจท่ีมีความสุข ในต�ำราท่านบอกว่า ความสุข เป็นเหตุใกล้ให้เกิดสมาธ ิ ถ้าใจเครียด จ้อง อย่างน้ี
35 ห ล ว ง พ่ อ ป ร า โ ม ท ย์ ป า โ ม ชฺ โ ช ใจไม่มีความสุข อย่างตอนน้ีใจสบาย เห็นร่างกาย หายใจไหม ? อยา่ ไปทำ� ใจใหข้ รมึ นะ อยา่ ทำ� ใจสำ� รวม สำ� รวม (หนา้ เครยี ดคว้ิ ขมวด) อยา่ งนท้ี เุ รศนะ่ ท�ำใจใหพ้ กิ าร ยังคิดว่าส�ำรวมอีก ส�ำรวมหมายถึงมีสตินะ ส�ำรวม อนิ ทรยี ์ ตา ห ู จมกู ลน้ิ กาย ใจ สำ� รวมยงั ไงหมายถงึ ว่ามีสติอยู่ ตามองเห็นรูป เรามีสติรักษาใจเราอยู่ หูได้ยินเสียง มีสติรักษาใจ ไม่ใช่ไม่ดูไม่ฟังไม่คิดนะ ส�ำรวม ไม่ใช่แปลว่า หนีการกระทบอารมณ์ การ หนีการกระทบอารมณ์ เป็นความปรุงแต่งแบบที่ ๓ เรียกว่า ‘อเนญชาภิสังขาร’ ใช้ไมไ่ ด ้ อวิชชาพาท�ำ
36 ภ า ว น า ไ ม่ เ ลิ ก ไ ม่ ล ะ ฉะน้ันเราใช้ใจปกติ เห็นร่างกายหายใจไปด้วย ใจที่ปกติ เห็นร่างกายน่ังด้วยใจที่ปกติ แล้วก็จะสงบ ทันทีเลย จะสงบอย่างรวดเร็วเลย รู้กาย รู้อะไรไป อยู่ในอารมณ์เดียว เช่น เห็นร่างกายหายใจไป รู้อยู ่ เรื่องเดียว ไม่สนใจเรื่องอื่น จิตจะสงบอย่างรวดเร็ว หรอื ถา้ จะเดนิ ปญั ญาตอ่ มเี วลาเหลอื อกี เดนิ ปญั ญาตอ่ เราเหน็ วา่ ตวั ทหี่ ายใจอย ู่ ไมใ่ ชเ่ รา ตวั ทนี่ ง่ั อยนู่ ่ี ไมใ่ ช ่ เรา อย่างนี้คือเราเดินปัญญา ฉะนน้ั เราตอ้ งแบง่ เวลาทำ� ในรปู แบบนะ ฟงุ้ ซา่ น มากกม็ อี บุ ายตอ่ ส ู้ ถา้ ฟงุ้ ซา่ นธรรมดากใ็ ชก้ รรมฐานหลกั ของเรา ใหใ้ จมคี วามสขุ มคี วามสงบ แชม่ ชน่ื เบกิ บาน รู้ต่ืนข้ึนมา พอใจรู้ใจต่ืนแล้ว ถ้ารู้อยู่ที่กาย รู้อยู่ท่ีใจ เฉยๆ แต่ถ้าเห็นกายแสดงไตรลักษณ์ อย่างร่างกาย
38 ภ า ว น า ไ ม่ เ ลิ ก ไ ม่ ล ะ ที่นั่งอยู่ไม่ใช่เรา อย่างนี้มันแสดงอนัตตา อย่างน้ีข้ึน วิปัสสนา หรือเห็นจิตใจมันท�ำงานได้เอง เช่น เรา หายใจไป จิตหนีไปคิดเรารู้ จิตหนีไปคิดเรารู้ ทีแรกรู้ว่าจิตหนีไปคิด จะได้สมาธิ ต่อไปพอจิต มีสมาธิอยู่นะ แต่จิตก็ยังหนีอีก จิตไหลไปไหลมา ไหลไปไหลมา มันจะค่อยๆ เกดิ ปัญญาข้นึ รวู้ ่าจติ ร้ ู กไ็ มเ่ ที่ยง จติ คิดก็ไมเ่ ที่ยง เพราะฉะนั้น ในเวลาที่เราท�ำรูปแบบนี่ ท�ำได ้ ต้ังแต่กล่อมเกลาจิตให้เข้าที่ ท�ำจิตให้ทรงสมาธ ิ มีความสุขขึ้นมา ท�ำจิตให้สงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว หรอื วา่ เจรญิ ปญั ญาเลยกไ็ ด ้ แลว้ แต.่ .. อยา่ งหลวงพอ่ พอสมาธิเราดีๆ นะ พอเข้าท่ีปุ๊บ มันเจริญวิปัสสนา เลย เห็นธาตุเห็นขันธ์มันแยกออกไป มันท�ำงาน
39 ห ล ว ง พ่ อ ป ร า โ ม ท ย์ ป า โ ม ชฺ โ ช ไมใ่ ชต่ วั เราของเรา ถา้ วนั ไหนฟงุ้ ซา่ นมากกเ็ รมิ่ ทำ� สมถะ ก็ดวู ่าวนั ไหนควรท�ำอะไร ไม่ตอ้ งให้สอนนะ อย่ามาถามหลวงพ่อว่า ตอนน้ีหนูควรทำ� สมถะ หรือวิปัสสนา ? มันคล้ายๆ การขับรถนะ ไม่ต้องมา ถามใครว่า ตอนนี้ควรจะเหยียบเบรคหรือเหยียบ คันเร่ง หรือตอนน้ีควรจะเหยียบตัวเอง (ขับรถไปชน คนอ่ืนเขาแล้ว) อะไรอย่างน้ี ต้องสอนไหม ตอนนี้ เอ้า เหยียบเบรค ตอนนี้เหยียบคันเร่ง มันต้องรู้เอง มันต้องอยู่ในไขสันหลังเลยว่า ตอนน้ีควรจะท�ำอะไร เราก็ต้องฝึกกรรมฐานของเราบ่อยๆ จนกระท่ังมัน อัตโนมัติ ตอนน้ีมันรู้ตัวเองเลยว่าวุ่นวายเหลือเกิน ต้องท�ำสมถะ ตอนน้ีสมถะธรรมดาก็เอาไม่ลง ต้อง มีอุบาย ต้องรู้ตัวเอง หรือวันน้ีจิตใจมีเร่ียวมีแรง มี
40 ภ า ว น า ไ ม่ เ ลิ ก ไ ม่ ล ะ ก�ำลังแล้ว อย่ามัวแต่ไปท�ำสมถะล่ะ เป็นเวลาที่ต้อง เจริญปัญญาแล้ว ไม่ใช่เอาสมถะมาเป็นท่ีฝากเป็น ฝากตาย เดีย๋ วมันก็ตายอยู่กับสมถะ ไม่ไดเ้ รื่อง ฉะนั้นให้เรารู้ตัวเองนะ แล้วเวลาที่เหลือ เวลา ท่ีนอกเหนือจากการท�ำในรูปแบบ น่ีคือการเจริญสต ิ ในชวี ติ ประจำ� วนั ทนี บี้ างคนบอกวา่ กลบั มาบา้ นกค็ ำ่� แลว้ มานงั่ สมาธ ิ อะไรตอ่ อะไรอกี ทำ� ในรปู แบบแลว้ เวลา ท่ีเหลือท�ำในชีวิตประจ�ำวันไม่ได้แล้ว เพราะมันเป็น ประจ�ำคืนแล้ว หมดเวลากลางวันแล้วไม่ต้องภาวนา พวกน้ีก็ไม่มีทางบรรลุหรอก มีการละเว้น สมมติว่า กลางคืนนั่นแหละ ยังไม่ได้นอนหลับ ไม่มีงานที่ต้อง เอามาคดิ ตอ่ กค็ อื เวลาปฏบิ ตั ใิ นชวี ติ ประจำ� วนั กเ็ รยี ก ว่าปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวันเหมือนกันนะ ท�ำกลางคืน
41 ห ล ว ง พ่ อ ป ร า โ ม ท ย ์ ป า โ ม ชฺ โ ช ก็เรียกว่าเป็นการปฏิบัติในชีวิตประจ�ำวันเหมือนกัน หมายถึงไมไ่ ด้ท�ำในรูปแบบ บางคนเจา้ เลห่ บ์ อกวา่ กลางคนื ไมต่ อ้ งทำ� เพราะ วา่ หลวงพอ่ บอกวา่ ใหเ้ จรญิ สตใิ นชวี ติ ประจำ� วนั ฉะนนั้ ไม่ต้องท�ำตอนกลางคืน กิเลสพาคิดอย่างนี้นะ อย่าง หลวงพอ่ ทำ� อะไร ? อยา่ งอยบู่ า้ น เรากวาดบา้ นอยา่ งน ้ี เราก็รู้สึกไป เราซักผ้า เราก็รู้สึกไป บางทีก็รู้สึก ร่างกายเคล่ือนไหวอยู่เฉยๆ อันน้ีเป็นสมถะ บางท ี เห็นร่างกายที่ก�ำลังซักผ้าน่ีไม่ใช่ตัวเราหรอก อันน ้ี ขน้ึ วปิ สั สนา ทำ� งานอยา่ งนน้ี ะ ทำ� ไปเรอื่ ยๆ จดั ทน่ี อน จัดอะไรอย่างน้ี ท�ำงานบางครั้งก็เป็นสมถะ คือเห็น ร่างกายมันทำ� งาน บางคร้งั กเ็ ปน็ วิปสั สนาขน้ึ มา
42 ภ า ว น า ไ ม่ เ ลิ ก ไ ม่ ล ะ ตรงท่ีเห็นร่างกาย เห็นรูปเห็นนามนี่ ยังเป็น สมถะนะ ตรงท่ีเห็นรูปนามแสดงไตรลักษณ์ ถึงจะ เป็นวิปัสสนา บางทีเราจัดท่ีนอน ไล่ฝุ่น ไล่อะไรไป เห็นร่างกายมันท�ำงาน น้ีเป็นสมถะ แล้วบางทีก็เห็น รา่ งกายมนั ทำ� งาน ใจเปน็ คนด ู รา่ งกายไมใ่ ชต่ วั เราหรอก อย่างนี้เราขึ้นวิปัสสนา กลางคืนก็ท�ำ กลางวันก็ท�ำ หลวงพอ่ ทำ� ตลอดนะ การปฏบิ ตั นิ ะ่ จะอ ึ จะฉ ่ี หลวงพอ่ ยังปฏิบัติเลย บางคนบอกว่าเวลาเข้าส้วม อย่าไป พุทโธนะ บาป เวลาพุทโธ เทวดาชอบมาอนุโมทนา นี่ท�ำให้เทวดาได้รับความล�ำบากทางจมูก ...คิดมาก ไป... เทวดาเขารู้กาลเทศะหรอก ไม่ง้ันเทวดา ตา กงุ้ ยงิ ไปหมดแลว้ เทวดาเขาไมม่ าดเู ราหรอก เขากม็ า อนโุ มทนาเปน็ ครงั้ เปน็ คราว ไมม่ าเฝา้ เราทง้ั วนั หรอก ใครจะมานง่ั เฝา้ ใคร เทวดาก็มกี จิ ของเทวดานะ
43 ห ล ว ง พ่ อ ป ร า โ ม ท ย์ ป า โ ม ชฺ โ ช คดิ ดซู ิ ถา้ เราทำ� บญุ จนเปน็ เทวดาแลว้ เราจะไป เฝ้าคนสักคน ทั้งวันทั้งคืนไหม ? ไม่ฉลาดเลยที่จะทำ� อยา่ งนน้ั อยา่ งนนั้ เปรต ไมใ่ ชเ่ ทวดา อยา่ งเปน็ ตน้ วา่ เราห่วงลูกห่วงหลานเรา อย่างนั้นใจเป็นเปรต ไม่ใช่ เทวดาหรอก หลวงพ่ออยู่ในห้องน้�ำยังภาวนาเลย ใจเราเป็นยังไง กายเราเป็นยังไง รู้สึกไปเรื่อย เป็น สมถะบา้ ง วปิ สั สนาบา้ ง ภาวนาไมม่ เี ลกิ ไมม่ ลี ะ ศลี หา้ ถือไว้เป็นพื้นฐาน ทุกวันท�ำในรูปแบบ เวลาท่ีเหลือก ็ เจรญิ สตใิ นชวี ิตประจ�ำวนั การเจริญสติในชีวิตประจ�ำวันก็คือ เม่ือตามอง เห็น กายน้ีใจนี้เป็นยังไง...รู้ เมื่อหูได้ยินเสียง กายน ้ี ใจน้ีเป็นยังไง...รู้ จมูกได้กล่ิน ล้ินกระทบรส กาย กระทบสมั ผสั กายนใี้ จนเี้ ปน็ ยงั ไง...ร ู้ ใจคดิ นกึ กายนี้
44 ภ า ว น า ไ ม่ เ ลิ ก ไ ม่ ล ะ ใจนเ้ี ปน็ ยงั ไง...ร ู้ รกู้ ายกไ็ ด ้ รใู้ จกไ็ ด ้ ถา้ เปน็ หลวงพอ่ จะรู้ใจเป็นหลัก รู้กายเป็นรอง พวกเราอาจจะรู้กาย เป็นหลัก รู้ใจเป็นรองก็ได้ แต่ว่ามันรู้ทั้งคู่น่ันแหละ มนั ไมม่ ารอู้ นั เดยี วหรอก เพราะเรามที ง้ั กายทง้ั ใจ แต่ ความถนัด ความเด่น มันจะที่กายหรือท่ีใจก็แล้วแต่ เรา เพราะกายกส็ อนไตรลกั ษณ ์ ใจกส็ อนไตรลกั ษณ์ สอนอนั เดยี วกัน ไม่จ�ำเป็นว่าทุกคนต้องมาดูจิตเป็นหลักแบบ หลวงพอ่ นะ เอากายเปน็ หลกั กไ็ ด ้ แตม่ นั กเ็ หน็ จติ ดว้ ย เชน่ อาจจะรกู้ ายได ้ ๘๐% รจู้ ติ ๒๐% อยา่ งหลวงพอ่ รจู้ ติ ๘๐% รกู้ าย ๒๐% อะไรอยา่ งน ้ี แตล่ ะคนไมเ่ หมอื น กนั แลว้ แตค่ วามถนดั ของเรา ทสี่ �ำคญั กค็ อื มสี ตริ กู้ าย รู้ใจให้มันต่อเนื่องไว้ แต่ถ้ารู้ตามความเป็นจริงด้วย
45 ห ล ว ง พ่ อ ป ร า โ ม ท ย ์ ป า โ ม ชฺ โ ช อันน้ีขึ้นวิปัสสนา คือเห็นไตรลักษณ์ เราจะรู้กายรู้ใจ ตามความเป็นจริงได้ จิตต้องต้ังม่ัน จิตต้องเป็นผู้รู้ ผู้ตนื่ ผู้เบิกบาน เป็นคนดู เมื่อวานสอนแล้วนะ วิธีให้ได้จิตท่ีเป็นผู้รู้ คือ มสี ตริ ทู้ นั จติ ทเ่ี ปน็ ผคู้ ดิ จติ มนั ไหลไปคดิ แลว้ ร ู้ จติ มนั ถล�ำไปคิด จิตมันถล�ำไปอยู่ที่ลมหายใจ จิตมันถล�ำ ไปอยู่ท่ีท้อง จิตมันถล�ำไปอยู่ที่คนอ่ืน รู้ทัน รู้ทันจิต ทถ่ี ลำ� ไป จติ ทเี่ คลอ่ื นไป แลว้ สมาธจิ ะเกดิ จติ ทตี่ ง้ั มนั่ คอื จติ ทไี่ มถ่ ลำ� ไปกจ็ ะเกดิ ขน้ึ โดยทเี่ ราไมไ่ ดเ้ จตนา ตอ้ ง มตี วั นดี้ ว้ ยนะ แลว้ กม็ สี ตริ กู้ าย มสี ตริ ใู้ จ ดว้ ยจติ ทตี่ งั้ ม่ัน เปน็ กลาง รไู้ ปเรือ่ ยๆ พอไหวไหม
เราหายใจไป จิตหนีไปคิด เรารู้ จิตหนีไปคิด เรารู้ ทีแรกรู้ว่าจิตหนีไปคิด จะได้สมาธิ ต่อไปพอจิตมีสมาธิอยู่นะ แต่จิตก็ยังหนีอีก จิตไหลไปไหลมา ไหลไปไหลมา มันจะค่อยๆ เกิดปัญญาขึ้น รู้ว่าจิตรู้ก็ไม่เท่ียง จิตคิดก็ไม่เที่ยง
48 ภ า ว น า ไ ม่ เ ลิ ก ไ ม่ ล ะ ท่ีสอนให้วันน้ีเป็นหลักเยอะเลยนะ ฉะน้ัน ฟัง เท่ียวเดียวจ�ำไม่ไหว เดี๋ยวรอฟังซีดีเอา ดูยูทูปด้วย ซ้ำ� แล้วซ�้ำอกี ไม่ต้องดหู ลายอนั ดอู ันเดียวน้กี ็พอแลว้ ใหห้ ลกั มนั แมน่ แลว้ กภ็ าวนาเอา ไมม่ ใี ครบรรลมุ รรคผล ด้วยการฟัง ด้วยการคิดนะ เขาต้องเห็นทั้งน้ันเลย อย่างบางคนฟังพระพุทธเจ้าเทศน์แล้วท�ำไมบรรลุ ? ไม่ใช่บรรลุดว้ ยการฟงั แตเ่ ขาเหน็ จริง อย่างพระพุทธเจ้าถามปัญจวัคคีย์ว่า รูปเท่ียง หรือไม่เท่ียง ปัญจวัคคีย์ไม่ได้ตอบแบบเด็กนักเรียน “ไม่เที่ยงพระเจ้าข้า” อะไรอย่างนี้นะ แต่ปัญจวัคคีย ์ ทา่ นเหน็ จรงิ ๆ วา่ รปู ไมเ่ ทย่ี ง พระพทุ ธเจา้ ถามตอ่ สง่ิ ท่ ี ไม่เที่ยงน้ัน มันเป็นสุขหรือเป็นทุกข์ ท่านก็ดู อืม... เป็นทุกข์พระเจ้าข้า ไม่ใช่พูดแบบเด็กนักเรียนท่อง
49 ห ล ว ง พ่ อ ป ร า โ ม ท ย ์ ป า โ ม ชฺ โ ช เอาไวแ้ ลว้ นะ อยา่ งพวกเรานท่ี อ่ งเกง่ อยา่ งทห่ี ลวงพอ่ พูดนี่ ท่องได้เลย ประโยคน้ีแล้ว เดี๋ยวต้องต่อด้วย ประโยคนี้ ท่องได้ ! อันน้ันมนั ท่องแบบเดก็ ตอ้ งดใู หเ้ หน็ ของจรงิ ปญั จวคั คยี ท์ า่ นเหน็ ความจรงิ วา่ รปู ไมเ่ ทย่ี ง เปน็ ทกุ ข ์ เปน็ อนตั ตา เวทนาคอื ความสขุ ทุกข์ ไม่เท่ียง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นจริงๆ... สญั ญาไมเ่ ทยี่ ง เปน็ ทกุ ข ์ เปน็ อนตั ตา สงั ขารไมเ่ ทย่ี ง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา วิญญาณไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา คือจิตมันไม่เท่ียง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ท่านเห็นจริงๆ พอเห็นความจริง ใจยอมรับความจริง บรรลุพระอรหันต์
Search