Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มองตนให้เป็น

มองตนให้เป็น

Description: มองตนให้เป็น

Search

Read the Text Version

-. www.kalyanamitra.org

ร่รเ''รร 8 www.kalyanamitra.org

คำ นำ •— • — บ ii p»^i^uM6rttj6artAJ<j<j<Mrn'lWijyuvi !.yibl ItdTJyifcbbldbMIIimflJkLI และหากมีผูๆม่เข้าใจพระพุทธศาสนา ก็มีปัญญาปฏิภาณไหวพริบในการปกซองธรรมด้วยการอธิบายทำความเข้าใจใ■ข้ถูกข้องไสั1^งฎ้มี จขงงไเมมเเหทนนควคาJมเบกมพบรก่พอรงอของงขนอิงสนัสยดยีด--รร้าายย แแลละะศศีลลธธรรรรมมบปรระะจจาำเไจจขของตน การจะแกไขแกตน ให้สอนตน ให้พึ่งตนไข้จึงเป็นเรื่องยากยิ่ง การมองตนให้เป็น จึงเป็นก้าวแรกของการเป็นชาวพุทธที่แห้จริง หลวงพ่อทัตตชีโวทำนตระหนักถึงความสำคัญของการมองตนให้(ป็มฺได้ทุ่มเทข้บคจ้าบดคองทํฏิมัคิแกะฐมรูJJคั่ง่Jfgมคิยูยูๅบุคิผูทํ มาอยางตอเนองเฟา ๔๐พรรษาในวาระวันคล้ายวันฺเกิดครบรอบอายุ ๗๗พรรษาทีเวียนมาถึงในวันที ๒๑ธันวาคม ๒๕๖๐นี้คณะศีษย์มีความ ตระาพักและจกบซึ๊าและในพระคุณฃฺองพ่นเป็นอย่างยิ่งจึงน้อมนำธรรมบรรยายที่ทํๅนเทคนิคฐนไทํแกิกณะ^ ร้อยเป็นภาษาพื้นๆให้เข้าใจง่าย เพึ่อเป็นความรู้พื้นฐานระดับสามัญชนรากหญ้า จะไข้เริ่มต้นศึกษาธรรมขององค์ ด้วยการมองการปฏิบัติภารกิจโดยธรรมไนชวิตประจำวันของตนให้เห็น เพื่อการมองตนให้เป็นยิ่งๆ ขึ้นไป i ๙*^ 0 C) 0/ Vl I In ajDj ^ r-t, — -a. r» . ปฏิบัติหน้าทีชาวพุทธแห้ ด้วยการมองตนอย่างละเอียดลออให้เป็น อันจะเป็นเหตุให้ตระหนักถึงคุณค่า และเต็มใจยินดีรักษาศีล ๕ ให้ บริสุทธเต็มกำลังความสามารถ พอย่า'3ยิง'ร่า หนังสือ \"มองตนให้เป็น\" เล่มนีจักเป็นประโยชาป็นการทำความรู้จักและเข้าใจตนเองให้ถูกข้อง เพื่อการ ดำเนินชีวิตไม่ผิดพลาด จนกว่าจะถึงที่สุดแห่งธรรม มองตนให้เป็น . .-^. คณะศิษย์ยานุศิษย์ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๐ www.kalyanamitra.org

สารบัญ มองเข้ามาในตนต้นเหตุแห่งการตรัสรู้ ๔ ๑.๑.๑ ความหนาว-ร้อนที่เกิดจากภายนอก ๒เท่) มองตนให้เป็น ๖ ๑.๑.๒ ความหนาว-ร้อนที่เกิดจากภายในกาย ๒เท่) บทที่ ๑ องค์ประกอบของชีวิต ๑.๒ กายต้องเป็นทุกข์ตลอดชีวิตจากความหิว-กระหาย ๓๐ ๑. กาย ๑๐ ๑.๓ กายต้องเป็นทุกข์ตลอดชีวิตจากการขับถ่าย ๓๑ 1ร). ใจ ๑๒ ๑.๔ นิสัยเสืยต่างเริ่มต้นจากความมักง่าย ๓๒ ๓. กิเลส ศัตรูร้ายของใจ ๑๔ ในการกำจัดทุกข์จากสรีระ กิเลสตระกูลโลภะ กิเลสตระกูลใทสะ ๑๖ ๒. ทุกข์จากสังคม ๓๖ กิเลสตระกูลโมหะ ๔๒ ๑ฅ่) ๓. ทุกข์จากการเลี้ยงชีพ ๔. ธรรม ๑ส ๔. ทุกข์จากกิเลส ๔๕ ธรรมนัยที่ ๑ ธรรมนัยที่ ๒ ๒๐ บทที่ ๓ ความมักง่าย ๕๗ ธรรมนัยที่ ๓ ๕๘ ๒๐ โทุษของความมักง่ายกับความสกปรก ๕ส บทที่ ๒ ทุกข์ประจำชีวิต ๒๒ มนุษย์เกิดมาพร้อมกับความสกปรก ๑. ทุกข์จากสรีระ ๑.® กายต้องเป็นทุกข์ตลอดชีวิต ๒๓ ๑. โทษของความสกปรก จากความร้อนหนาว ๒.โทษของความไม่เป็นระเบียบ ๖๒ ๖๕ ๒๖ ๓.โทษของความไม่สุภาพ ๖๘ .๗๒ ๒ฅ่) ๔.โทษของการไม่ตรงต่อเวลา ๕. โทษของการไม่ควบคุมใจให้เป็นสมาธิ www.kalyanamitra.org %i มองตนให้เป็น\" f. \"-

มองเข้ามาในตนต้นเหตุการตรัสรู้ ■ๆ?if\"——^ ภิกษุทังหลาย เมอก่อนเราเป็นโพธิสัตว์ ทังไม่ได้ตรัสรู้ เราจึงคิดอย่างนี้ว่า เรามความเภิตเป็นธรรมดา ไฉนจึงแสวงหา สิงทีมีความเกิดเป็นธรรมดาอยู่สึก เรามความแก่-ความเจ็บ-ความดาย-ความ(ศรัๅโศก-(กรัๅหมองเป็นธรรมดา ไฉนจงแสวงหาสิงทมความเกิด-แก่-เจ็บ-ดๅย-เศรัๅโศก-เศรัๅมม04(ป็มธรรมดๅ อยู่สึก ทางทดเราควรแสวงหานิพพานทีไม่มีความเกิด-แก่-เธ็บ-ดๅก-กรๅมเศร้ๅเศๆ เศร้าหมอง ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า และเกษมจากโยคะ * ที่มา:ปาสราสิสูตร(ม.มู.) มองดฬ็เฬ้เป็น www.kalyanamitra.org #-

«- ' i. มองตนให้เป็น H www.kalyanamitra.org

มองตนให้เป็น •\"-—■ๆ ผู้คนทังโลกต่างคนต่างมีตนหรือสัวตนเพียงหนึ่งเดีย! ถ้าใครดี ก็ดีทั้งตน ชั่วก็ชั่วทั้งตน ความดี ความชัว มีแต่ตนเท่าทันทำให้ตน ใครจะทำให้ผู้อื่นดีหรือชั่ว ย่อมไม่ได้ # ความบริสุทธิ ความไม่บริสุทธิเป็นของเฉพาะตน ใครจะทำให้ผู้อื่น บริสุทธิหรือไม่บริสุทธิตามใจตนย่อมไม่ได้ 4^ ถึงคราวตนตกทุกๆร ใครใดเล่าเขาจะเป็นทุกๆรเป็นที่พึ่งให้ มีก็แต่ตน ทจะด้องทนทุกๆร และตนทันแหละด้องขวนขวายแถ้ไขทุกๆรให้ตน คือด้องพึ่งตน 61 V , เห้1ด้ . «น ■ร่. s 88มองตนให้เป็น , mi. A'Jf www.kalyanamitra.org

บุคคลจะเป็นที่พึ่งแห่งตนได้ ก็มีแต่บุคคลทืแกตนไว้ดีแล้วเท่านัน ก่อนจะแกตน ก็ด้องมองหาตนให้เป็น เห็นตนให้ชัด แล้วแกหัดแก้ไข ตนตามขั้นตอนที่พอเหมาะแก่ตน โตยอาศัยหัลยาณมิตรแนะนำล้งสอนให้ตน จึงจะสำเร็จสมใจตน การมองหาตนกล้บไม่ง่าย เพราะมนุษย์ถหัดแต่มองออกไม่นอกตน ต่างคนจึงต่างเห็นแต่โทษของคนอื่น โทษของตนโตกว่าภูผากลบหาไม่เห็น f ตราบใดที่ใครศังไม่หา ศังไม่เห็นศีลธรรมม่ระจำใจ นิศัยดี-ร้าย ตลอดจน พฤติกรรมด้นเหตุให้เกิด สถานที่เกิด และบุคคลด้นแบบหรือผู้มีส่วนร่วมให้เกิด ศีลธรรมม่ระจำใจและนิศัยดี-ร้ายหัน ๆ ของตน ตราบหันเขาย่อมชือว่า ยังมองหา ตนไม่เป็น ไม่เห็น ไม่เข้าใจ และไม่สามารถพัฒนาตนอย่างแน่นอน ๗ มองตนใฟ้เป็น ^ www.kalyanamitra.org

ทำ อย่างไร? จึงจะมองหาตนเปีน - ff เห็นตนชัด พัฒนาตนได้ มีตนเปีนที่พึ่งที่แสนปลอดภัย ทั้งตนและคนรอบข้างต่างสุขทั้งกายใจ เพราะต่างได้พึ่งตนของตนตลอดกาล นี้คือที่มาของ มองตนไห้เปีน \"a มองตนให้เป็น www.kalyanamitra.org

บทที่ G> องค์ประกอบของชีวิต i www.kalyanamitra.org

มนษย์ ประกอบด้วย ใจ กิเลส ขณะมีชีวิต พ กาย 4*!; กายหรือรูปกายมนุษย์นีมีใจซึ่งสังสมบุญ-บาปจากอดีตชาตินำมาเกิดใน ครรภ์มารดา อาศัยธาตุติน นำ ลม ไฟของบิดามารดาก่อตัวขึ้นมาเป็นเซลล์ กลุ่ม เซลล์รวมตัวศันเกิดเป็นอวัยวะน้อยใหญ่ และเจริญเติบโตขึนเป็นตัวเราด้วยลๅหาร นานาชนิด ■0- เมีอกายมีใจซึงศังสมทังบุญ-บาปจากอดีตชาติเฃ้ๆครองกายตั้งแต่อยู่ใน 1^- ครรภ์ กายก็มีชีวิดและเจริญเติบโดขึ้นมาเป็นตัวเรา ^ มองตนให้เป็น, QO www.kalyanamitra.org

4{f พร้อม ๆ กับการเกิดขึ้นของชีวิต การผลิตพกังงานจากภายในกายเพือ ใช้เป็นไออุ่นหล่อเลี้ยงชีวิตให้ดำรงอยู่ต่อไป ก็เกิดขึ้น 4^ กายมนุษย์เป็นเพียงของกลางๆ ไม่ดี-ไม่ชั่ว เป็นเสมือนหุ่นยนต์ รอร้นคำสั่งจากใจให้ทำกรรม ด้วยการพูดและการกระทำต่าง ๆ ใครทำกรรมดี ก็เป็น คนดี ใครทำกรรมชั่ว ก็เป็นคนชั่ว คนรักดี คือ คนรักการละชั่ว ตั้งใจทำดี และกสั่นใจให้ผ่องใสยิ่ง ๆ ฃึนไป ถ้าร้ด้วว่าพลั้งเผลอทำความผิดใดๆ ย่อมรีบหยุด ยอมรับผิด และคิดด้ดใจไม่ทำ 9/ 9/ 0 I o/ /=5 ซาเชนนนอก 4^ กายมนุษย์เหมาะต่อการทำความดีทุกชนิด แต่ได้มาโดยยากเพราะ ด้องประกอบการบุญกศลติดต่อกันมาหลายภพชาติ ทุกคนจึงสมควรใช้ร่างกาย ประกอบแต่คุณงามความดีให้คุ้มคำ ๑๑ มองตนให้เป็น www.kalyanamitra.org

๒. ใจ 1จเป็นธาตุละเอียดชนิดหนึ่ง มีอำ นาจในการรู้ จึงรู้เรื่องราวต่างๆ ได้ เช่น ร้ธรรม ร้จักดีชั่ว ร้จักดีใจเสียใจ ร้จักเพื่อน ฯลฯ โจมีลักษณะเป็นดวงกลม ปกติจะผ่องใส มีความสว่างอยู่ภายใน ตา มนุษย์มองไม่เห็น แต่เห็นได้ด้วยตาทิพย์ ใจมีปกติชอบเที่ยว เที่ยวไปได้ไกล ๆ ไปได้เร็วมาก ไจชอบคิด ช่างคิด เปลี่ยนเรื่องคิดเร็วมาก ห้ามคิดก็ยากมาก ถ้าไม่แก ให้สงบ ก็มักคิดในเรื่องไม่ควรคิด ซึ่งจะน่าทุกข์มาให้ ใจทำหน้าที่ควบคุมกาย สั่งให้กายพูดและทำตามด้องการได้ มองตนให้เป็น ๑๒ www.kalyanamitra.org

-1}!:- โจทำงานประสานกับประสาทสัมผัสทง ๕ คือ ตา หู จมูก สิน กาย • ถ้าใจใส การรับรู้ฝานทางตา หู จมูก ลิ้น และการสัมผัสทางกาย ย่อมเลือกรับแต่สิง ที่ดี จึงรักจะคิดแต่สิ่งดี ๆ แล้วสั่งกายให้พูดดี-ทำดีตามมา ก่อให้เกิดบุญ-ความสุข ขึ้นได้กันที #- ใจ ถ้ามีกิเลสจรเข้ามาจะฃุ่นกัว จึงกักชอบรับรู้แต่สิ่งไม่ดีฝานประสาท สัมผัสทั้ง ๕ การกิด-พูด-ทำต่างๆ จึงผิดพลาดตาม กลายเป็นกรรมข้ว-เกิดบาป- เกิดทกฃ์ แก่ผัทำตามมา #ใจไม่เที่ยงและก็ไม่สูญ แต่มีการเกิด-ด้บตลอดเวลา สัตวโลกตายแล้ว จึงกังด้องไปเกิดอีกตามกรรมที่ตนทำไว้ใครชอบทำกรรมดี บุญย่อมนำไปเกิดใน ที่ดี ใครชอบทำกรรมชั่ว บาปย่อมนำไปเกิดในที่ทราม เป็นไปตามกฎแห่งกรรม ^ '■ร QCT มองตนให้เป็น www.kalyanamitra.org

๓. กิเลส ศัตรูร้ายของใจ -ijf กิเลณป็นธาตุละเอียดชนิดหนึ่ง สกปรกมาก ฝืงสัวซ่อนเร้นอยู่ในใจของ สัตวโลกทุกชนิดอย่างเหนียวแน่น แม้ในใจของเทวดา นางฟึา โดยที่สัดวโลก เหล่านันไม่รู้ตัวว่าตนมีกิเลสฝืงใจ ทำ ให้!จสัตวโลกทุกชนิดสกปรกไม่บริสุทธิเศร้าหมอง ตามไปด้วย # กิเลสละเอียดมาก ไม่ว่าตามนุษย์ ตาทิพย์ ตาพรหมล้วนมองไม่เห็น จะเห็นได้ด้วยตาธรรมกาย หรือธรรมจักษุเท่านั้น ^ กิเลสเปรืยบเสมือนโรคร้ายของใจ ทำ ให้ใจอ่อนแอ โดยคิดไร้เหตุผล จงเป็นศัตรูแท้จริงของสัตวโลกนั้งมวลเสมอมา นองตนให้เป็น QCt www.kalyanamitra.org

กิเลสมีพิษร้ายแรงมาก ไม่ว่าพิษอะไรในโลกก็เปรียบเทียบไม่ได้ ไม่ว่า จะเปีนพิษงู พิษโรคร้ายแรงหรีอสารพิษใด ๆ กิเลสแปงตามประเภทพิษร้ายทีแสดงออกได้เปีน ๓ ตระกูล โดยมีกิเลส ตระกูลโมหะเปีนรากเหง้าของทั้งหมดคือ ๑. ตระกูลโลภะ แสดงพิษร้ายออกเปีนความอยากได้เกินจำเปีน ๒. ตระกูลโทสะ แสดงพิษร้ายออกเปีนความโกรธ คิดทำลาย ๓. ตระกูลโมหะ แสดงพิษร้ายออกเปีนความโง่ หลงผิด กิเลสไม่ตายตามกาย ยังผิงอยู่ในใจ หลังจากตนเองตายแล้ว ไม่ว่าจะ ไปเกิดใหม่ในภพชาติใด ๆ อีก ย่อมติดตามไปบงลับใจให้คิด-พูด-ทำแต่กรรมชัว อย่รํ่าไป www.kalyanamitra.or.g.. ผองตนให้เป็น K, «

กิเลสตระกลโลภะ โลภะ ความอยาก คือ ความอยากได้มากผิดปกติเกินจำเปีน ได้มากแค่ไหน ไม่รู้จักพอ แม้ได้ภูเขาทองทังลูกก็ไม่พออยู่ดี ส่วนที่มีอยู่แล้วแม้ไม่ได้!ช้ ก็ไม่อยาก ใหเครซึ่งทังหมดนี เปีนผลจากความทักง่ายในการไม่รู้ประมาณการบริโภคใช้สอย ไม่รู้ประมาณความสะดวกสบายในการแสวงหา เก็บรักษา การใช้สอยเครื่องบริโภค ความม้กง่ายต่างๆ ในโลก มีด้นเหตุจากความทักง่ายในการกำจัดความ สกปรกและจัดระเบียบสิงของเครืองใช้และร่างกายและ จึงทำให้ใจขุ่นเปีนนิจ ขาด ประสิทธิภาพในการพินิจพิจารณา เห็นแต่ว่าจะเอามากเช้าไว้มาตั้งแต่ทังเปีนทารก แล้วทำซํ้าแล้วซํ้าอีกจนกลายเปีนนิสัย iifi มองตนใท้เป็น ๑-^ www.kalyanamitra.org

กิ เลสตระกลโทส0Q// โทสะ ความโกรธ คือ ความไม่พอใจ ขัดเคืองใจ เคืยดแค้นชิงขังมากจน อยากทำร้าย ล้างผลาญ ซึงเกิดจาก ๑) ความอยากที่ไม่สมหวัง ๒)ความถือตัวว่ายิ่งใหญ่ สำ คัญ อยากให้สิงต่าง ๆ เป็นตามความบ่รารถนาของตน เมอไม่สมหวงกโกรธเคอง ความโกรธจึงเป็นผลมาจากความไม่สมหวัง อันมีพืนฐานจากความมกง่าย ในการทำความสะอาด ขัดระเบียบสิงของ คำ พูด และกรยาทำทาง ทำ ให้อารมณ ไม่ดี คั่งค้างอยู่เป็นนิจ เมือตัองบ่ระสบอับวัตถุ สิงของภายนอกทสกบ่รก ขัดวาง ไม่เป็นระเบียบ > QClf ผองตนให้เป็น www.kalyanamitra.org

หายากหยิบยาก มแต่ความรกรุงรัง สกปรกเปรอะitเอน หรือประสบกับกิริยาท่าทาง คำ พูด ทไม่มการขัดเกลา หยาบกระด้าง หยาบคาย ไร้มารยาทของผู้อื่น ก็ยิ่งท่าให้ อารมณเสย ใจทีขุ่นอยู่แล้วจึงระเบิดออกมาเผาผลาญทั้งตนเองและคนรอบขัๅง \\ร ' -. •- มองดนใท้ฌน ฐ#■■'■■■'^'ร'''เ ๑C3 www.kalyanamitra.org

กิเลสตระกลโมหQQJJ ■J- โมหะ ความหลง คือ ความไม่รู้จรง เกดความสงสยลงรล งุมงง หลงใหล งมงาย ม้วเมา มืดมิด เข้าใจผิด คิดผิด เมือโมหะกำเริบขนในใจผู้ใด ใจย่อมเศร้า หมอง เป็นผลให้ประสาทสัมผลทัง ๕ คือ ตา หู จมูก สิน กาย ร้บรู้ผิดเพยนใม่ตรง ตามความเป็นจริง คือ เห็นผิด ใด้ยนผด ใดกลนผด ใดลมรสผด และสมผสผด ๆ จึงเกิดความรู้สึกผิดเพี้ยนใปด้วย คือแม้เห็นเพียงเชอกกล้วย^ปยสม่า ในnลา โพล้เพล้ ก็คิดว่าเป็นงู ใด้ยินคนพูดถึงตนเอง ก็คิดระแวงว่าเขานินทา ความหลงเกิดจากความม้กง่ายในการจัดระ^มืยททวามสิ^ ใตร่ตรองใม่รอบคอบ ใม่สึกซึ้งใปถึงด้นเหตุแห้จริง (ฐc< พร^-\" • www.kalyanamitra.o.rg มองตนให้เป็น )7ทุศ/4;^ - .. -1

๔. ธรรม ธรรมนัยที่ ๑ หมายถึง ธรรมชาติสะอาดบริสุทธึ้อย่างยิ่ง มีอย่จริงในกาย มนุษย์ทุกคน เป็นสัจจะประจำตน พุทธองค์ทรงค้นพบ รู้-เห็นด้วยพระองค์(อง ในคืนตรัสรู้ เรียกว่า ใสคุตตรธรรม เป็นธรรมชาติสกซึง สว่าง เห็นได้ด้วยตนเอง เป็นเหตุให้เห็น \"ใจ\" ของตนชัตจนระถึกชาติตนเองได้ เห็น\"ใจ\"ของผู้อื่นชัตจนระถึกชาตผู้อื่นได้ เห็น กฎแฟงกรรม-นรก-สวรรค์-นิพพานได้ชัต เป็นธรรมชาติ ประณีต สงบ ทรงพสัง เป็นเหตุให้กำจัตกิเลสและสันตาน เสยๆ ทติตด้วข้ามชาติได้เด็ตฃาต เป็นแหล่งความสุข ความเจริญและป็ญณูา แท้จริงของมนุษย์ เป็นธรรมชาติเฉพาะตน บรรลุได้ด้วยการปฏินัติ มรรคมีองค์ ๘ ด้วย ตนเองเท่านัน I มองตนให้เป็น too www.kalyanamitra.org

๑ '(L: ^ . เป็นธรรมชาติสะอาดบริลุทธ๙ิ - มีอยู่จริงในกายมนุษย์ Mi ๕ เป็นสัจจะประจำตน ๒ ต้องปฏิบัติมรรคมีองค์ ๘ v เป็นธรรมชาติ ให้บริสุทธ บริบูรณ์ ^ ลึกซึ้ง สว่าง จึงจะบรรลุไต้ i โลกุตตรธรรม <2/ เห็นไต้ยากยิ่ง 1 จ3 ที่ทรงบรรล CO เป็นธรรมชาติละเอียด เป็นธรรมชาติสงบ ประณีต ทรงพสัง พาทวนกระแส คิดเปรียบเทียบ คาดเดาไม่ไต้ กิเลสไต้ ผู้ไร้ราคะ โทสะ โมหะเท่านั้น จึงรู-เห็นไต้ ๒๑ มองตนให้เป็น. ^ ■''m www.kalyanamitra.org

ธรรมนัยที่ ๒ หมายถึง คำ เทศนาสั่งสอนจากพระโอษฐ์ว่าด้วยหลักการ ปฏิบัติให้กาย วาจา ไจ สะอาด เพือเห็น-บรรลุถึงใส!ไตดรธรรม และหมดทุกข์ ตามพระพุทธเจ้า เรียกว่า พระปริยัติธรรม พระพุทธองค์ทรงเทศนาครั้งแรก เรื่อง ธัมมจ้กลัปปลัดตนสูตร ให้แก่ พระปีญจลัดคีย์ มีเพียงรูปเดียวที่สามารถปฏิบัติและบรรลุโลลุตดรธรรมได้ทันที คีอ พระยัญญาโกณฑัญญะ พระธัมมจักทัปปลัตตนสูตรนี ถือว่าเป็นหลักธรรมแม่บทของคำสอนทั้งหมด ๘๔,๐๐๐ ข้อในพระพุทธศาสนา พระปริยัติธรรม เรียกย่อ ๆ ว่า พระธรรม ปรากฏในพระสูตด้นตปีฎกและ พระอภิธรรมปีฎกมาตราบเท่าทุกลันนี้ มองตนให้เป็น ๒๒ A- www.kalyanamitra.org

ธรรมนยที่ ๓ หมายถึง ความประพฤติดีงามด้วยการปฏิบัติตามคำสังสอน ยิ่งเข้มงวดปฏิบัติตาม ใจก็ยิ่งสะอาด ความประพฤติดงามต่างๆก็ฟัฒนาตามมา ตั้งแต่ ๑.ไจสะอาดระด้บเปีนนิสัยดีงาม น ร้กความสะอาด ร้กความเปีนระเบยบ รักความสุภาพ รักความเสียสละ ฯลฯ ๒. ใจสะอาดระด้บเปีนศีลธรรมเมืองด้น เช่น ความอาย-บาป กสัวบาป ความมีศีล ๕ เบญจธรรม ๕ ฯลฯ ๓. ใจสะอาดระด้บเปีนคุณธรรมเมืองสูง รช่น ความซือสัตย์ ความมสติ รอบคอบ ความเคารพ ความอดทน ฯลฯ .พ- เมื่อปฏิบัติดามอริยมรรคมีองค์ ๘ได้สมบูรณ์เต็มที ใจก็สะอาดระดับบรรสุ ''^iP' ธรรมบัยที่ ๑ ได้ด้วยดนเอง Igco มองตนให้เป็น www.kalyanamitra.org

บทที่ ho ทุกข์ประจำชีวิต s V,rj > www.kalyanamitra.org

สัตวโลกทุกชีวิตเกิดมาแล้วต้องตาย ไม่เว้นแม้รายเดียว คือเกิดเท่าไร ก็ตาย เท่านั้น ต่างสันแต่ตายช้าหรือตายเร็ว ทุกคนจึงตกอยู่ในฐานะนักโทษรอประหาร ตั้งแต่เกิด ยิ่งกว่านั้นต่างถูกสัดเยียดให้ต้องผจญสับความทุกข์ ๔ ประการตลอด ชีวิต คือ ๑. ทุกข์จากสรีระ ๒. ทุกฃจากสงคม ๓. ทุกข์จากอาชีพ ไ ไโ ร้๔. ทุกฃัจากกเลส -- h มองตนใฬ้เป็น H J www.kalyanamitra.org

๑. ทุกข์จากสรีรเ:ะ เป็นความทุกข์ที่เกิด ๑) จากความกระสับกระส่ายภายในกายตน ซึ่งเกิดจากกระบวนการเกิด- ตายของเซลล์ และการสร้างพสังงานภายในร่างกาย เป็นผลให้กายผ้นัน ประเดี้ยว หนาว-ร้อน หิว-กระหาย ปวดอุจจาระ-ป็สสาวะ ๒)จากการต้องหา-ใช้-เก็บเสือผ้า ที่อยู่อาศัย อาหาร และยารักษาโรค เพื่อ หส่อเลียงกายตลอดชีวิต ทงนีเพราะกายประกอบต้วยธาตุ ๔ คืก ธาตุดิน นํ้า ลม ไฟ ทีไม่บริสุทธิ และกายต้องผลิตพสังงานฃึนใช้เองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต นองตนให้เป็น 'ะ ๒๖ www.kalyanamitra.org

๑.๑ กายต้องเป็นทุกข์ตลอดชีวิตจากความหนาวร้อน ๑.©.๑ ความหนาว-ร้อนที่เกิดจากภายนอก กายต้องเป็นทุกข์จากความหนาว-ร้อน อ้นเกิดจากอากาศและ สิ่งแวดล้อมภายนอก ทำ ให้เราต้องแสวงหาเสือผ้า เครืองน่งห่ม และทีอยู่อาอ้ย หากใครขาดความร้เรึองประมาณการหา-เก็บ-ใช้เสือผ้า เครืองทุ่งห่ม และทีอยู่อาอ้ย ย่อมต้องเสืยทรัพย์ เสืยเวลา จึงมีนิอ้ยไม่ร้ประมาณการใช้สอย ๑.๑.๒ ความหนาว-ร้อนที่เกิดจากภายในกาย กายต้องผลิดพอ้งงานจากอาหาร นำ อากาศชีนใช้เองดลอดเวลา # ใช้เพื่อหล่อเลี้ยงให้ร่างกายอบอุ่นสมํ่าเสมอที่อุณหภูมิ ประมาณ ๓๗ 'c s \"รเ I IcjCTf มองตนให้เป็น www.kalyanamitra.org

ป้จจัยโดยตรง ระบบการทำงาน ^ เกิดการเสือมของร่างกาย ภายในร่างกาย - อาหาร - จากการสร้างพลังงาน - หายใจ - จากการขับของเสีย - นํ้า - ย่อยอาหาร - ประสาท ss - อากาศ - ขับถ่าย เกิดพลังงานหล่อเลี้ยงชีวิต การหล่อเลี้ยงชีวิต พร ฯลฯ เปีจ่จยสนับสนุน r ใช้ทำงาน^ ใช้สร้างร่างกายให้เติบโต ใช้ซ่อมแซมร่างกาย จนัยฺ ๔ มักง่าย ะ อ่คุศล 1 v\" - เคุรื่องนุ่งห่ม - ยา • สกปรก ไร้ระเบียบ - ที่อยู่อาศัย I • ไม่สำรวมกาย วาจา - ไม่สำรวมอาชีพ •'สิ่งฃองเครื่องใช้ tประณีต : คุศล • ไม่ฟิกจิต ไม่ฟิกตน ลน - สะอาด ระเบียบกำจัดสรรทุกข์ . ^\\ - มิตรแท้ - มิตรเทียม - สำ รวมกาย วาจา กำ จัดทุกข์จากลังคุม กายเสื่อมเร็ว ขี้โรค แก่ไว วัฒนธรรม - สำ รวมอาชีพกำจัดทุกข์จากการหาเลี้ยงชีพ นิลัยไม่ดี บาป '\\ f 'ร^ - รูปแบบสิ่งฃอง สิ่งก่อสร้าง •ฟิกจิตแกตนให้อย่เหนือกฎแห่งกรรม i 4 \" คใามประพฤติตนในสังคม II - กฎระเทียบสังคม - ความเชื่อ ค่านิยม กายเสื่อมช้า แข็งแรง แก'ช้า _ แรรมชาติ นิลัยดี บุญ พ - สะอาด • มลภาวะ ^J มองตนให้เป็น I ๒๘ www.kalyanamitra.org

ใช้เพื่อเป็นพลังงานในการเคลื่อนไหวทำการงานต่าง ๆ ยิ่งเคลื่อนไหวมาก ยิ่งต้องใช้มาก ใช้เพื่อการกิน การย่อยอาหารใหม่ สารอาหารจากการย่อยก็ใช้สร้างเซลล์ เพื่ม เพื่อการเจริญเติบโตของร่างกาย และใช้ซ่อมแซมอวัยวะส่วนทีสึกหรอ เพราะ ปกติเซลล์ตายประมาณ ๓๐๐-๔๐๐ ล้านเซลล์ต่อนาที ใช้เพื่อต่อสู้ลับอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงในแต่ละวัน ใช้เพื่อต่อสู้ลับโรคลัยไข้เจ็บที่มาเบียดเบียน -4;-V _ มองตนให้เป็'ผ. www.kalyanamitra.orSgtt Wit

๑.๒ กายต้องเป็นทุกข์ตลอดชีวิตจากความหิว-กระหาย กายต้องทนทุกข์จากความหิวกระหาย ทำ ให้ต้องแสวงหาอาหารและนํ้า เพื่อ หล่อเลียงกายให้ดำรงอยู่ หากใครไม่ไต้รับการศึกษาแกฝนให้รูประมาณในการกิน การดืม การเตรียมประกอบ ปรุงอาหาร ความเข้าใจถูกเรื่องโภชนาการ คุณค่าของ สารอาหารแต่ละประเภท ข้อควรระรังเลียวกิ'บสารพิษ สารเคมีที่ปนเปีอนมากับพืช ผัก และผลไม้ต่างๆ ย่อมทำให้เลียสุขภาพ เลียทรัพย์ เลียเวลาโดยใช่เหตุ ที่เสีย หายมากที่สุด คือ เลียนิสัยไปตลอดชีวิต มองตนให้เป็น no www.kalyanamitra.org

๑.๓ กายต้องเป็นทุกข์ตลอดชีวิตจากการขับถ่าย 4}^- กากของธาตุ ๔ ที่เหลือจากการย่อย กลายเป็นของเลืย สกปรกมาก เป็นพิษต่อร่างกาย ต้องขับถ่ายทิงไป การขับถ่ายอุจจาระ ป็สสาวะไม่ถูกวิธี เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 4}^ การทำความสะอาดร่างกาย สิ่งของ เครื่องใช้ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน อย่างถูกวิธี เป็นสิ่งจำเป็น มิฉะนันจะเกิดความเสียหาย ต้งแต่เสียทวัพย์ เสียเวลา เสียสุขภาพ ร้ายแรงที่สุด คือ เสียนิสัย 4}^- นิสัยเสียที่อันตรายที่สุด คือ นิสัยทำอะไรมักง่าย ขาดความสำรวมกาย เพราะนำไปส่นิสัยเสียอื่นๆ อย่างไม่ร้จบสิ้น no ^fe มองตนให้เป็น www.kalyanamitra.org -'4 m

๑.๔ นิสัยเสีย ๆ ท'งหลายของแต่ละคนเริ่มจากความมักง่ายในการกำจัดทุกข์ จากสรีระ คือ ๑.๔.๑ ความมักง่ายในการทำความสะอาดร่างกายตนเอง บางคนทำ ไม่ถูกหสักวิชาไม่ถูกตามมาตรฐานในสังคมยุคมันๆตังแต่อาบนํ้าล้างหน้าแปรงฟ้น สระผม ถูตัว ฯลฯ เลยไปถึงทำความสะอาดถ้วย จาน ช้อน ชาม เสื้อผ้า เคริ่องนุ่งห่ม ทีนอน หมอน มุ้ง บ้าน ห้องนอน ห้องครัว ที่ทำ งาน ตลอดจน สิ่งของเคริ่องใช้ ต่าง ๆ ในที่นั้น ๆ กลายเป็นคนมีนิสัยมักง่ายในการทำความสะอาด ทั้งร่างกายตนเอง ป็จจัย ๔ สิงของเครีองใช้ และการดูแลรักษาความสะอาดสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ -3 •- มองตนให้เป็น www.kalyanamitra.org

๑>..๔.๒ ความมักง่ายในการจัดระเบียบสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ ที่ทำ ความ สะอาดแล้ว และที่จัดหามาใหม่ล้ามักง่ายจัดระเบียบไม่ดีพอ ย่อมทำให้สิงของมันๆ สกปรก ชำ รุด เสียและหายได้ง่าย ทำ ให้เสียทรัพย์ เสียอารมณ์ เสียเวลา ในการหา เพื่อใช้งานแต่ละครั้ง กลายเป็นคนมีนิสัยไม่บีระเบียบ ชำ ยังเป็นการปล้นหรือใช้ทรัพย์-บุญ อย่าง สิ้นเปลืองอีกด้วย ๑.๔.๓ ความมักง่ายในการจัดระเบียบกิริยาทำทางของตนในการเคลื่อนไหว ตั้งแต่ทำยืน เดิน นั่งนอน การเหสียวซ้ายแลขวา ยืม ห้วเราะ นิงลงบ การทำงาน การแต่งกาย การติดต่อประลานงานสับผู้อื่น ^ กลายเป็นคนมีนิสัยไม่สุภาพไปตลอดชีวิต OCJ มองตนให้เป็น ♦ www.kalyanamitra.org

๑.๔.๔ ความมักง่ายในการบริหารทลาไม่รู้จักจัดสรรเวลาในการทำความสะอาด ร่างกาย จัดระเบียบสิงของเครื่องใช้ และกิริยาท่าทางการเคลื่อนไหวให้ชีวิตสมดุล จึงทำกิจกรรมทุกอย่างตามอำเภอใจ ขาดการจัดระเบียบความคิดพิจารณาตาม ความสำคัญ-ไม่สำคัญ จำ เป็น-ไม่จำเป็น ด่วน-ไม่ด่วน ก่อน-หลัง ด่อเนื่อง-ไม่ด่อ เนือง ทำ ให้ไช้เวลาแด่ละวันสินเปลืองโดยเปล่าประโยชน์ กลายเป็นคนมีนิลัยไม่ ตรงด่อเวลา การทำงานไม่ค่อยจะคันเวลา ไม่ตรงด่อเวลา จำ ต้องวุ่นวายหาข้ออ้าง ข้อ แอ้ต้ว เทือขอผัดผ่อนเลื่อนเวลาล่งงาน ต้องเพิ่มค่าใช้จ่าย ต้องเหนื่อยเกินเหดุ ^ การงานคํ่งค้างเป็นประจำ ในที่สุดผัไ^กลายเป็นคนพูดเท็จ ไม่น่าเชื่อถือไปโดย i ปริยาย นองคนให้เบน www.kalyanamitra.org

๑.๔.๕ ความมักง่ายในการจัดระเบียบความคิดให้เกิดสมาธิ เพราะล้มเหลว ในการจัดระเบียบความคิดเพื่อทำกิจวัตรประจำวนและการงานตามหน้าที่ ทำ ให้เกิด ความคิดล้บลน ห่วงหน้าพะวงหลัง คิดลังเล ไม่กล้าตัดสินใจ ล้าอารมถfเม่ดีหรือ เสียแล้ว ก็ไม่ลามารถทำความลดชื่นให้กลับคืนมาใหม่ได้อีก กลายเป็นคนลมาธิลัน ผู้ไม่มีลมาธิหรือลมาธิสั้น ย่อมไม่ลามารถทำงานใด ๆ ให้ดีไตั เพราะมอง หาข้อดีฃ้อเสียของตนเองไม่เจอ เกิดความ!!งซ่าน เหงาหงอยได้ง่าย ไม่ลามารถ เห็นความประพฤติดนเองได้ชัด ซึ่งจะนำไปสู่ความไม่เชือมันตนเอง ในทีสุดก็ไม่ ประลบความสำเร็จในชีวิตทุกด้าน ทุกระด้บ m พ, ^ ท๕ ร4องตนให้เป็น www.kalyanamitra.org 1 ^-:

k). ทุกฃจากสงคม เป็นความทุกๆรที่เกิดจากการกระทบกระทั่งซึ่งกัน และกันของผู้อยู่ร่วมกันในสังคม มนุษย์จำเป็นต้องอยู่ร่วมกันเป็นสังคม เพื่อการพึ่งพาอาสัยกัน หากใคร lV| 4»=Sj ๒ตน ๑.มีความประณีตในการป็องกันกำจัดสรีรทุกๆรไม่พอ ย่อมเพาะนิสัยมักง่าย ไม่มีความสำรวมกาย ๒. มีความสำรวมวาจากับผู้อืนไม่พอ ย่อมมีแต่ความจัดแย้ง จับผิด ฃีระแวง โจมตี ใส่ร้าย นินทา ตลอดจนริษยากันและกันไม่ร้จบ ๓.รู้จักหน้าทีพลเมีองตีที่ต้องกระทำต่อกันไม่พอ ตนเองและผู้อยู่รอบข้าง จึงต่างต้องไม่สบายกายไม่สบายใจ ต้วยเรึ่องไร้สาระเพื่มขึ้นตลอดเวลา สันเป็น ที่มาของความวุ่นว่ายในสังคมทุกระต้บ มองตนให้เป็น 0๖ www.kalyanamitra.org

ความสำรวมกาย คือ การควบคุมการกระทำต่าง ๆ ทางกายให้อยู่เหนืออำนาจ กิเลส เช่น ความโลภ ความโกรธ ความหลง ฯลฯ เป็นการ!]องกิ'นการละเมิด กฎแห่งกรรม - กำ จัดทุกข์กิ'ยให้แก่ตนเองและสังคม สารวมกาย เเลลืออกกททำา .f ไม่ทำ ' ^ แหนืออำนาจกิเลส (ตามอำนาจกิเลส 4 ทุก ๆภารกิจทีทำ ป็องกนรักษาสุขภาพเป็น ต้องไมมการฆ่า มีมารยาทงาม ทุ่มนวล ^ # ต้องไม่มีการสักขโมย พ.. ปฏิบัติหน้าที่ประจำทิศ ๖ 4}f ต้องไม่มีการประพฤติผิดในกาม ® โดยปราศจากอคติ ๔ 4^ ต้องไม่ละเมิดมารยาทที่ดีงามในสังคม ^ สร้างบุญเป็นประจำ (ท๗ มองตนให้เป็น' 5 www.kalyanamitra.org

ตวอย่างความไม่สำรวมกายในเรื่องมารยาทที่ทำให้ประสบทุกข์ประจำ ในสังคม คือ การไม่ควบคุมอิริยาบถ ๔ เช่น ท่าทางการยืน-เดิน-นั่ง-นอน ไม่สุภาพ เรียบร้อย การไปในสถานที่ที่ไม่ควรไป ฯลฯ การแต่งกายไม่เรียบร้อย - ไม่สมควร ตามกาลเทศะ การไม่ควบคุมกิริยาน่าร้งเกียจ เช่น ขาก ควัก แคะ แกะ เกา หยิบ ยื่น โยน ขว้าง ฯลฯ โดยไม่เกรงใจใคร 4^ การไม่มีสัมมาคารวะ เช่น ไม่ให้เกียรดิผู้ใหญ่ ผู้หญิง สมณะ การไม่รักษาระเบียบวินัยในที่ทำงาน เช่น ทำ งานไม่เต็มกำสัง เข้างาน าย เลิกงานก่อนเวลา ฯลฯ สองตนให้เป็น , C1C3 www.kalyanamitra.org

ต'วอย่างความไม่สำรวมกายในเรี่องศีลธรรมที่ทำให้ประสบทุกข์อย่าง หนักในสังคม คือ การฆ่าการเบียดฌียนสันด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น ฆ่าให้ตายอย่างทรมาน การสังหารหมู่ การยกพวกสีสัน ฯลฯ การยึดเอาทรัพย์ของผู้อื่นมาเป็นของตน เช่น สักขโมย ปล้น ชิง วิ่งราว คอรัปชัน ละเมิดลิขสิทธิ ฯลฯ การประพฤติผิดในกาม เช่น ล่วงละเมิดทางเพศในบุตร ภริยา สามีของ ผู้อื่น ในนักบวช ในเพศเสียวสัน หรือแม้กระทั่งในสัตว์ติรัจฉาน ฯลฯ การหมกทุ่นในอบายมุข เช่น การดื่มนํ้าเมา การเที่ยวกลางคืน การเที่ยว ดมหรสพ การเล่นการพนัน การคบคนชั่วเป็นมิตร ฯลฯ %^ CTC< ^ มองตนให้เป็น ^ www.kalyanamitra.org ^ v|

ความสำรวมวาจา คือ การควบคุมการพูดให้อยู่เหนืออำนาจกิเลส เป็นการ ป็องกันการละเมิดกฎแห่งกรรม - กำ จัดทุกๆรกัยไห้แก่ตนเองและสังคม ความ เลอกพูด. ^นืออำนาจกิเลส ไม่พูด สำ รวมวาจา J ;!ร\"- เ^ามอำนาจกิเลเ^ 4^' ไม่พูดเท็จ ให้เข้าใจผิด พูดเหมาะสมตามกาล ไม่พูดส่อเสียด ให้แตกแยก 4f พูดเรื่องจริง อิงหสักฐาน # ไม่พูดคำหยาบ ให้ระคายใจ พูดคำสุภาพ อ่อนหวาน น่ารับไปทำ ' ไม่พูดเพ้อเจัอ ให้เสียเวลา 4^ พูดแต่คำมิประโยชน์ ติ-ก็เพื่อให้แก้ไข ชม-ก็เพื่อให้คำกังใจ 4^ ตั้งจิตเมตตาก่อนพูด มองตนให้เป็น ๕0 www.kalyanamitra.org

ตัวอย่างความไม่สำรวมวาจาที่ทำให้เดือดร้อนเปีนชุกฃ์ คือ การพูดสวน พูดแย้ง แย่งพูด ตวาดผู้อืน ฯลฯ ให้หงุดหงิด #- การพูดเรื่องโสโครกน่ารังเกียจ เรื่องที่น่า!เดบังกลางที่ประชุม ชอบน่า ความลับผู้อื่นมาเปีดเผย โดยไม่จำเป็น ฯลฯ #- การพูดล้อเลียนว่าร้ายติเตียนบุคคล-สิ่งชองที่ผู้อื่นเคารพบับถือให้*ชา ได้อาย ฯลฯ การพูดล่วงเกิน ไม่ชอบชอโทษ ไม่ชอบชอบคุณ ฯลฯ การพูดปลุกระดมโจมดืผู้อื่นให้เลียหายด้วยข้อมูลเบ็จ กำ กวม 'าล'ง การพูดชกชวนลันไปทำความข้ว เช่น ดมนำเมา เทยวกลางคน เล่น ^ การพบัน ทำ ในสิ่งไร้สาระ ฯลฯ ^^ ๔๑ ผองตนให้เป็น www.kalyanamitra.org

๓.ทุกข์จากการเลี้ยงชีพ เป็นความทุกข์ที่เกิดจากการต้องทำงานเพื่อให้ได้ มาซึ่งรายไต้ แล้วเปลี่ยนรายไต้เป็นทรัพย์หรือปีจจ'ย ๔ คือ เลี้อผ้า อาหาร ที่อย่ อาศย และยารกษาโรค ตลอดจนสิงทีเนืองต้วยป็จรัย ๔ เพือบริโภคใช้สอยและ หล่อเลียงชีวิตตนเองและครอบครัาต่อไป หากใครไม่ละเอยดรอบคอบในการแสางหา-การiค็นรัfๅนๅ_f^ๅ'เใร^^||'^ย์{พื่0 กำ รัดทุกข์จากร่างกาย และทุกข์จากสังคม ย่อมล่อความลี้นเปลีอง ขาดแคลน ทาใหตองเหนอยทำงานหาเลยงชพ เสยเวลาเกินเหตุ โดยไม่มีโอกาสสังสมคราม ดีให้แก่ชีวิตสมสับการไต้เกิดมาเป็นมนุหย์ พบพระพุทธศาสนา นอฟ็ดนให้เป็น ๔๒ www.kalyanamitra.org

หากไม่สำรวมอาชีพย่อมหลงไปประflอบอาชีพทุจริต ตนเองก็จะต้องประสบ ทกฃ์หนก เศรษฮกิจของครอบครัว สังคม ก็พลอยเดือดร้อน สิงแวดล้อมก็ถูก ทำ ลาย กลายเปีนปีญหาทุกข์จากการเลียงชีพ ๑. ความขยัน-ฉลาดเลีอกประกอบอาชีพสุจริต ๒. ความรอบคอบในการเก็บรักษาทรัพย์ที่หาไต้ ๓. การมีเพื่อนดืเปีนที่ปรึกษาและสร้างเครือข่ายคนด ๔. ความเประมาณในการใช้ทรัพย์ องค์ประกอบครบ ๔ ประการนี้ ย่อมชื่อว่า มีความสำรวมอาชีพ เพราะ เปีนการเลี้ยงชีพอยู่เหนืออำนาจกิiสส โดยไม่ต้องละเมิดกฎแห่งกรรม ^ 'พ ^•ร:■ช' ๕๓ %y www.kalyanamitra.org มองตนให้เป็น i ^

ไม่ละเมิด เลิยงชีพ เหนืออำนาจกิเลส กฎแห่งกรรม ความสำรวม เว้น อาชีพ ประกอบ อาชีพทุจริต J อาชีพสุจริต เว้นการค้าอาวุธ-มนุษย์-สัตว์ เอาไปฆ่า-ยาพิษ-ยาเสพติต เว้นอาชีพเกี่ยวสับอบายนุฃ ขยันและฉลาตหาทรัพย์ - ไม่ผลิต-ไม่จำหน่ายสุรา ในทางที่ชอบ ไม่เล่น-ไม่เปีตปอนการพนัน # รอบคอบเก็บรักษาทรัพ - ไม่เปีตสถานบันเทิงเริงรมย์ ^{f สรัางเคริอข่ายคนดีรอบข้าง - ไเมม่ใเหพ้บบรริฑการ - ไม่เปีต # เลี้ยงชีวิตอย่างเหมาะสม เถานบรริิกการทางเพศ ไม่จมหลงนัวเมาในทรัพย์ 11 มองตนให้เป็น ๙๔ www.kalyanamitra.org

๔.ทกฃ์จากกิเลส เป็นความทุกข์ซึ่งเกิดจากการบบคันต่าง ๆ นานาของกิเลสตงแต่ เกิดจนกระทังตาย แล้วทังตามไป่บีบคันข้ามภพชาติให้iบ่นทุสา!บสคัใ^ คันตราย ของกิเลสที่สำคัญได้แก่ ๑.กิเลสทำให้ใจขุ่นทัวตงแต่ทังอยู่ในครรภ์มารตา ทุกคนจงลมเรองราวแสะ ความเต่างๆ ในชาติทีแล้วจนหมด ชาตินีจงเกิดมาพร้อมกบความไม่เอะไร!ลย ๒.กิเลสทำให้ธาตุในกายของแต่ละคนไม่บริสุทธิ เป็นผลให้เซลลกอายุล้น อว้ยวะต่างๆ ทัวร่างกายด้องเสือมลงอย่างรวดเร็ว นำ ไป่สู่ความแก่ - เจบ - ตาย โดยง่าย จึงเป็นที่มาแห่งทุกข์จากสรีระร่างกายทังหมด . .อ s :- www.kalyanamitra.org

๓. กิเลสทำให้เกิดนิสัยเสียต่างๆ มากมาย เช่น ความมักมาก มักโกรธ มักง่าย ไนการกำจัดทุกข์จากร่างกาย ขาดความเห็นใจซึ่งสันและสัน ขาดความสำรวมกาย-วาจา ต้องกระทบกระทั่งสันเองโดยใม่มีเหตุ สันควร แม้แต่พน้องร่วมบิดามารดาสังรงเกียจทีจะอยู่ร่วมสัน สามีภรรยาบุตรต้อง แตกแยกพสัดพรากจากสัน จึงเป็นที่มาแห่งทุกข์จากสังคม ๔.กิเลสปีดมังป็ญญาทำให้ไม่รูประมาณ ไม่รู้จักพอ พร้อมที่จะคดโกงผู้อื่น ขณะประกอบการงานหาเลยงชีพ จึงเป็นทีมาแห่ง ทุกข์จากการเสียงชีพและอาธ ลุกลามไปถงป็ญหาเศรษฐกิจมังระต้บส่วนตน-ครอบอร้ๆ-ปฐะเหหชาติ ป็ญหาการ ทำ ลายธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอีกต้วย มองตนให้เป็น www.kalyanamitra.org

รัฐบาลแต่ละประเทศทั่วโลก แม้จะได้ระดมสติปญญาจากท่านผู้วู้ในประiทศ ของตนๆ เข้าแก้ไขปีญหาสังคม - เศรษฐกิจ - การเมอง อย่างสุดความรู้ความ สามารถแล้ว แต่ปีญหาเหล่านี สังไม่มีทีท่าว่าจะลดลงได้เลย ทังนเพราะ ผู้คนทั่งโลกมองไม่ออกว่า ๑. ปญหาสังคม-เศรษฐกิจ-การเมืองและอื่นๆต่างเริมมาจากความทักมาก ทักโกรธ ทักง่ายในการจัดการปึญหาทุกข์จากร่างกายของแต่สะคน ๒. ทุกข์จากร่างกายแต่ละคน ล้วนเริมจากปญหาทุกขจากกเลสครอบงำใน ใจของแต่ละคนให้มืดบอด ๓. ทุกข์ของคนทังโลก จึงเกิดจากกิเลสของคนทัวโลกรวมก้น พ ฟ้^ ' ๕๗ มองตนให้เป็น ^ www.kalyanamitra.org

๔. ทุกๆรจากกิเลสของแต่ละคนท'งโลก ต่างต้องให้ผู้นั้นจัดการกำจัดกิเลส ต้วยตนเอง ใครจะทำแทนกันไม่ไต้ และต้องทำต้วยความเต็มใจ ดังนั้นจึงต้อง เริ่มต้วยทำให้แต่ละคนต่างเห็นทุกข์ ๔ ของตนเองไต้ชัด แล้วบุคคลรอบข้างเป็น กัลยาณมิตร ช่วยชแนะสนับสนุนเป็นสิงแวดล้อมที่ดีให้ จึงจะสำเร็จลุล่วงไปไต้ ต้วยดี ๕.งานกำจัดกิเลสเป็นงานยืดเยือ โดยทั่วไปต้องทำข้ามภพชาติ แม้หลาย ๆ ภพชาติ ขนกับความเพียร สติปีญญาของแต่ละคน และสิ่งแวดล้อม ๖.ขณะทียังกำจัดกิเลสไต้ไม่หมด ก็จำ ต้องเวียนว่ายตายเกิดเป็นนักโทษรอ ^ ประหารของวัฏสงสาร และตกอยู่ใต้อำนาจกฎแห่งกรรมใคร ๆ จะหลีกเลี่ยงไม่ไต้ โดยมีหกักว่า ทำ ดีไต้ดี ทำ ชั่วไต้ชั่ว rd มองดนให้เป็น ๕๘ www.kalyanamitra.org

๗. การให้ผลของกรรมแต่ละอย่างทั้งฝ่ายดี-ชั่ว จะอยู่ใน ๕ ลักษณะ คือ ๗.๑ เรามีกรรมเป็นของตน ๗.๒ เราเป็นทายาทแฟงกรรม ๗.๓ เรามีกรรมเป็นกำเนิด ๗.๔ เรามีกรรมเป็นเผ่าพันธ์ ๗.๕ เรามีกรรมเป็นที่พึ่งอาลัย ๕๙ f 'ๆI ะ* www.kalyanamitra.org มองตนให้เป็น P


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook